SlideShare a Scribd company logo
ใบความรู้ เรื่อง ตัวแปร
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปร (Variable) คือ การจองพื้นที่ในหน่วยความจาของคอมพิวเตอร์สาหรับจัดเก็บข้อมูลที่ต้อง
ใช้งานในโปรแกรม โดยมีการตั้งชื่อเรียกหน่วยความจาในตาแหน่งนั้นด้วย เพื่อความสะดวกในการเรียกใช้
ข้อมูล ถ้าจะใช้ข้อมูลใดก็ให้เรียกผ่านชื่อของตัวแปรที่เก็บเอาไว้
ชนิดของข้อมูล
ภาษาซีเป็นอีกภาษาหนึ่งที่มีชนิดของข้อมูลให้ใช้งานหลายอย่างด้วยกัน ซึ่งชนิดของข้อมูลแต่ละ
อย่างมีขนาดเนื้อที่ที่ใช้ในหน่วยความจาที่แตกต่างกัน และเนื่องจากการที่มีขนาดที่แตกต่างกันไป ดังนั้นใน
การเลือกใช้งานประเภทข้อมูลก็ควรจะคานึงถึงความจาเป็นในการใช้งานด้วย และ ยังสามารถปรับปรุงด้วย
การเพิ่มคาสั่งนาหน้าได้อีก ซึ่งประกอบด้วย
ชนิด

การใช้งาน

Char

เก็บข้อมูลชนิดอักขระ

String

ข้อความ

int

จานวนเต็ม –32,768 ถึง 32,767

short

จานวนเต็มแบบ short –32,768 ถึง 32,767

long

จานวนเต็มแบบ long –2,147,483,648 ถึง 2,147,483,647

float

เก็บข้อมูลชนิดเลขทศนิยม (7 digits)

double

เก็บข้อมูลชนิดเลขทศนิยม (15 digits)

unsigned short

จานวนเต็มไม่มีเครื่องหมายแบบ short 0 ถึง 65,535

long double

จานวนเต็มไม่มีเครื่องหมายแบบ long 0 ถึง 4,294,967,295
signed unsigned long short
- signed จะกาหนดให้ชนิดข้อมูลนั้น ให้สามารถมีค่าทั้งค่าบวกและค่าลบ อย่างไรก็ตามคาว่า
signed อาจไม่ต้องระบุหน้าชนิดขอมูลก็ได้ เพราะถ้าไม่ระบุ ภาษาซีก็จะถือว่าเป็นชนิดข้อมูลที่
มีเครื่องหมายอยู่แล้ว
- unsigne จะกาหนดให้ชนิดข้อมูลที่ระบุนั้น มีเฉพาะค่าบวกเท่านั้น
- long จะกาหนดให้ชนิดข้อมูลที่ระบุนั้น เป็นแบบขนาดยาว เพื่อรองรับช่วงข้อมูลกว้างมากขึ้น
- short จะกาหนดให้ชนิดข้อมูลที่ระบุนั้น เป็นแบบชนิดสั้น
หลักการตั้งชื่อตัวแปร
ในการประกาศสร้างตัวแปรต้องมีการกาหนดชื่อ ซึ่งชื่อนั้นไม่ใช่ว่าจะตั้งให้สื่อความหมายถึงข้อมูล
ที่เก็บอย่างเดียว โดยไม่คานึงถึงอย่างอื่น เนื่องจากภาษา C มีข้อกาหนดในการตั้งชื่อตัวแปรเอาไว้ แล้วถ้าตั้ง
ชื่อผิดหลักการเหล่านี้ โปรแกรมจะไม่สามารถทางานได้ หลักการตั้งชื่อตัวแปรในภาษา C แสดงไว้ดงนี้
ั
1. ต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A-Z หรือ a-z หรือเครื่องหมาย _(Underscore) เท่านั้น
2. ภายในชื่อตัวแปรสามารถใช้ตัวอักษร A-Z หรือ a-z หรือตัวเลข0-9 หรือเครื่องหมาย _
3. ภายในชื่อห้ามเว้นช่องว่าง หรือใช้สัญลักษณ์นอกเหนือจากข้อ 2
4. การใช้ตัวอักษรตัวพิมพ์เล็กหรือตัวพิมพ์ใหญ่ ถือว่าเป็นคนละตัวเช่น Name กับ name
5. ห้ามตั้งชื่อซ้ากับคาสงวน (Reserved Word) เช่น case char int auto
ตัวอย่างคาสงวนในภาษาซี
รูปแบบในการประกาศตัวแปรในภาษา C
การสร้างตัวแปรขึ้นมาใช้งานจะเรียกว่า การประกาศตัวแปร (Variable Declaration) โดยเขียนคาสั่ง
ให้ถูกต้องตามแบบการประกาศตัวแปร แสดงดังนี้
type name;
type : ชนิดของตัวแปร
name : ชื่อของตัวแปร ซึ่งต้องตั้งให้ถูกต้องตามหลักของภาษา C

ตัวอย่างการประกาศตัวแปร
การรับค่าจากผู้ใช้งาน
การประยุกต์ใช้งานค่าตัวแปรโดยมีการรับค่าจากผู้ใช้งาน ด้วยคาสั่ง cin

ตัวอย่างการรับค่าตัวแปร
รับค่าตัวแปร name โดยมีข้อความ Insert name : แล้วจึงให้พิมพ์ชื่อโดยผู้ใช้

More Related Content

Viewers also liked

Exposing Tech Lending Device Availability Data
Exposing Tech Lending Device Availability DataExposing Tech Lending Device Availability Data
Exposing Tech Lending Device Availability Data
Charlie Morris
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search enginebigktan
 

Viewers also liked (8)

Introduction of C++
Introduction of C++Introduction of C++
Introduction of C++
 
Variable2
Variable2Variable2
Variable2
 
3PW04_ram
3PW04_ram3PW04_ram
3PW04_ram
 
Exposing Tech Lending Device Availability Data
Exposing Tech Lending Device Availability DataExposing Tech Lending Device Availability Data
Exposing Tech Lending Device Availability Data
 
Introduction Of C
Introduction Of CIntroduction Of C
Introduction Of C
 
Variable
VariableVariable
Variable
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search engine
 
Shobhit project
Shobhit projectShobhit project
Shobhit project
 

Similar to Variabledoc

ตัวแปรและชนิดของข้อมูลในภาษาซี
ตัวแปรและชนิดของข้อมูลในภาษาซีตัวแปรและชนิดของข้อมูลในภาษาซี
ตัวแปรและชนิดของข้อมูลในภาษาซี
korn27122540
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
Ja Phenpitcha
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
BoOm mm
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีboky_peaw
 
ชนิดข้อมูล
ชนิดข้อมูลชนิดข้อมูล
ชนิดข้อมูลmycomc55
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
รัสนา สิงหปรีชา
 
Database
DatabaseDatabase
Database
kruninkppk
 
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล1
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล1ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล1
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล1
patchu0625
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
ณัฐพล บัวพันธ์
 
lesson 3
lesson 3lesson 3
lesson 3
Monberry NooNan
 
สื่อการนำเสนอเรื่องตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
สื่อการนำเสนอเรื่องตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระสื่อการนำเสนอเรื่องตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
สื่อการนำเสนอเรื่องตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
เกศรา ลิขิตสกุลวงศ์
 
ภาษา C#
ภาษา C#ภาษา C#
ภาษา C#
ictyangtalad
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
Wittaya Kaewchat
 
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2Tay Atcharawan
 

Similar to Variabledoc (20)

ตัวแปรและชนิดของข้อมูลในภาษาซี
ตัวแปรและชนิดของข้อมูลในภาษาซีตัวแปรและชนิดของข้อมูลในภาษาซี
ตัวแปรและชนิดของข้อมูลในภาษาซี
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซี
 
ชนิดข้อมูล
ชนิดข้อมูลชนิดข้อมูล
ชนิดข้อมูล
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
ตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวนตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวน
 
ตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวนตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวน
 
งานน
งานนงานน
งานน
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล1
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล1ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล1
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล1
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
 
lesson 3
lesson 3lesson 3
lesson 3
 
สื่อการนำเสนอเรื่องตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
สื่อการนำเสนอเรื่องตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระสื่อการนำเสนอเรื่องตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
สื่อการนำเสนอเรื่องตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอักขระ
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
ภาษา C#
ภาษา C#ภาษา C#
ภาษา C#
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
การเขียนคำสังควบคุมขั้นพื้นฐาน 2
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 

Recently uploaded (9)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 

Variabledoc

  • 1. ใบความรู้ เรื่อง ตัวแปร ตัวแปรในภาษาซี ตัวแปร (Variable) คือ การจองพื้นที่ในหน่วยความจาของคอมพิวเตอร์สาหรับจัดเก็บข้อมูลที่ต้อง ใช้งานในโปรแกรม โดยมีการตั้งชื่อเรียกหน่วยความจาในตาแหน่งนั้นด้วย เพื่อความสะดวกในการเรียกใช้ ข้อมูล ถ้าจะใช้ข้อมูลใดก็ให้เรียกผ่านชื่อของตัวแปรที่เก็บเอาไว้ ชนิดของข้อมูล ภาษาซีเป็นอีกภาษาหนึ่งที่มีชนิดของข้อมูลให้ใช้งานหลายอย่างด้วยกัน ซึ่งชนิดของข้อมูลแต่ละ อย่างมีขนาดเนื้อที่ที่ใช้ในหน่วยความจาที่แตกต่างกัน และเนื่องจากการที่มีขนาดที่แตกต่างกันไป ดังนั้นใน การเลือกใช้งานประเภทข้อมูลก็ควรจะคานึงถึงความจาเป็นในการใช้งานด้วย และ ยังสามารถปรับปรุงด้วย การเพิ่มคาสั่งนาหน้าได้อีก ซึ่งประกอบด้วย ชนิด การใช้งาน Char เก็บข้อมูลชนิดอักขระ String ข้อความ int จานวนเต็ม –32,768 ถึง 32,767 short จานวนเต็มแบบ short –32,768 ถึง 32,767 long จานวนเต็มแบบ long –2,147,483,648 ถึง 2,147,483,647 float เก็บข้อมูลชนิดเลขทศนิยม (7 digits) double เก็บข้อมูลชนิดเลขทศนิยม (15 digits) unsigned short จานวนเต็มไม่มีเครื่องหมายแบบ short 0 ถึง 65,535 long double จานวนเต็มไม่มีเครื่องหมายแบบ long 0 ถึง 4,294,967,295
  • 2. signed unsigned long short - signed จะกาหนดให้ชนิดข้อมูลนั้น ให้สามารถมีค่าทั้งค่าบวกและค่าลบ อย่างไรก็ตามคาว่า signed อาจไม่ต้องระบุหน้าชนิดขอมูลก็ได้ เพราะถ้าไม่ระบุ ภาษาซีก็จะถือว่าเป็นชนิดข้อมูลที่ มีเครื่องหมายอยู่แล้ว - unsigne จะกาหนดให้ชนิดข้อมูลที่ระบุนั้น มีเฉพาะค่าบวกเท่านั้น - long จะกาหนดให้ชนิดข้อมูลที่ระบุนั้น เป็นแบบขนาดยาว เพื่อรองรับช่วงข้อมูลกว้างมากขึ้น - short จะกาหนดให้ชนิดข้อมูลที่ระบุนั้น เป็นแบบชนิดสั้น หลักการตั้งชื่อตัวแปร ในการประกาศสร้างตัวแปรต้องมีการกาหนดชื่อ ซึ่งชื่อนั้นไม่ใช่ว่าจะตั้งให้สื่อความหมายถึงข้อมูล ที่เก็บอย่างเดียว โดยไม่คานึงถึงอย่างอื่น เนื่องจากภาษา C มีข้อกาหนดในการตั้งชื่อตัวแปรเอาไว้ แล้วถ้าตั้ง ชื่อผิดหลักการเหล่านี้ โปรแกรมจะไม่สามารถทางานได้ หลักการตั้งชื่อตัวแปรในภาษา C แสดงไว้ดงนี้ ั 1. ต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A-Z หรือ a-z หรือเครื่องหมาย _(Underscore) เท่านั้น 2. ภายในชื่อตัวแปรสามารถใช้ตัวอักษร A-Z หรือ a-z หรือตัวเลข0-9 หรือเครื่องหมาย _ 3. ภายในชื่อห้ามเว้นช่องว่าง หรือใช้สัญลักษณ์นอกเหนือจากข้อ 2 4. การใช้ตัวอักษรตัวพิมพ์เล็กหรือตัวพิมพ์ใหญ่ ถือว่าเป็นคนละตัวเช่น Name กับ name 5. ห้ามตั้งชื่อซ้ากับคาสงวน (Reserved Word) เช่น case char int auto ตัวอย่างคาสงวนในภาษาซี
  • 3. รูปแบบในการประกาศตัวแปรในภาษา C การสร้างตัวแปรขึ้นมาใช้งานจะเรียกว่า การประกาศตัวแปร (Variable Declaration) โดยเขียนคาสั่ง ให้ถูกต้องตามแบบการประกาศตัวแปร แสดงดังนี้ type name; type : ชนิดของตัวแปร name : ชื่อของตัวแปร ซึ่งต้องตั้งให้ถูกต้องตามหลักของภาษา C ตัวอย่างการประกาศตัวแปร