SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
The Influence Of Obesity By A Diet High In Saturated Fats.
ภาวะน้าหนักเกินจากการบริโภคอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวสูง
จัดท้าโดย
01
366/2
เสนอ
นางสาวภาวิศกาญจน์ ภัทราธนคัมภีร์
นายยุทธเชษฐ์ ค้าสุวัตร์
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
INDEX
ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน
วัตถุประสงค์
• ขอบเขตโครงงาน
• กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
• สถานที่ด้าเนินการ
ภาวะน้าหนักตัวเกิน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
โรคอ้วน (OBESITY)
สาเหตุของโรคอ้วน
การรับประทานกรดไขมันอิ่มตัว
กรดไขมันอิ่มตัว
INDEX
INDEX
ผลกระทบ
ที่เกิดจาก
โรคอ้วน
วิธีป้องกันและ
รักษาโรค
ความอ้วน
วิธีด้าเนินงาน แหล่งอ้างอิง
INDEX
VDO บทความ
ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันพบว่าปัญหาภาวะน้าหนักเกินเป็นปัญหาสุขภาพที่ส้าคัญของประชาคม
โลกและยังเป็นปรากฏการณ์ที่พบในแทบทุกประเทศ อุบัติการณ์ของภาวะน้าหนักเกินมีทิศทางที่
เพิ่มขึนอย่างรวดเร็ว เนื่องจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารและชีวิตความเป็นอยู่ในปัจจุบันที่
เปลี่ยนไป การรับประทานอาหารที่ไม่ได้สัดส่วนที่เหมาะสม การรับประทานอาหารประเภท
คาร์โบไฮเดรต แป้ง น้าตาล และไขมันซึ่งล้วนแต่เป็นปัจจัยส้าคัญ ที่ท้าให้เกิดการสะสมของไขมัน
จนเกิดโรคอ้วนและภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ตามมา อาหารที่มีไขมันอิ่มตัวสูงมักมาคู่กับอาหารที่มี
คอเลสเตอรอลสูง เมื่อรับประทานเข้าไปจะท้าให้ระดับคอเลสเตอรอลและไขมันตัวร้ายในเลือด
สูงขึน ซึ่งระดับคอเลสเตอรอลที่สูงขึนจะเพิ่มความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจและโรคหลอดเลือด
สมองอุดตันได้ ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตและความสูญเสียทางเศรษฐกิจเนื่องจากเพิ่มค่าใช้จ่ายทาง
สุขภาพและการสูญเสียจากภาวะพิการและการตายก่อนวัยอันควร ดังนัน ข้าพเจ้าจึงได้จัดท้า
โครงงานฉบับนีขึนมา เพื่อให้บุคคลทั่วไป หรือผู้ที่สนใจได้รับความรู้เรื่องภาวะน้าหนักเกินที่เกิด
จากการบริโภคอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวสูง เกิดการตระหนักว่าพฤติกรรมการกินดังกล่าวส่งผลเสียต่อ
ตนเอง ซึ่งหมายรวมถึงการสูญเสียทังชีวิตและทรัพย์สิน หากผู้บริโภคไม่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ดังกล่าวให้เหมาะสม
วัตถุประสงค์
1. เพื่อที่จะให้ความรู้เรื่องภาวะน้าหนักเกินที่เกิดจากการบริโภค
อาหารที่มีไขมันอิ่มตัวสูง
2. เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้โดยเริ่ม
จากการลดการบริโภคอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวสูง
สถานที่ด้าเนินการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ที่เกี่ยวข้องขอบเขตโครงงาน
ในโอกาสนีเราจะศึกษา
เฉพาะภาวะน้าหนักเกิน
โดยเน้นไปถึงสาเหตุที่เกิด
จากการบริโภคอาหารที่มี
ไขมันอิ่มตัวเท่านัน
• กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์
• กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา
• ห้องคอมพิวเตอร์
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
• ห้องสมุด
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ได้ให้ความรู้เรื่องภาวะน้าหนักเกินที่เกิด
จากการบริโภคอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวสูง
ได้สนับสนุนให้ประชาชนสามารถดูแล
สุขภาพตนเองได้โดยเริ่มจากการลดการ
บริโภคอาหารที่มีไขมันอิ่มตัวสูง
ผู้จัดท้ามีความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจมากขึน
01
02
03
ภาวะน้าหนักตัวเกิน
(OVERWEIGHT)
ภาวะ
น้าหนักตัว
เกิน
OVER
WEIGHT
หมายถึง
การมีปริมาณเนื้อเยื่อไขมันมากเกินกว่าที่ ควรจะ
เป็นเมื่อเปรียบเทียบกับน้้าหนักมาตรฐาน สาเหตุ
ส่วนใหญ่เกิดจากการกินอาหารมากหรือขาด การ
ออกก้าลังกาย หรือทั้งสองอย่าง การมีน้้าหนักตัว
มากกว่าน้้าหนักที่ควรจะเป็นเมื่อเปรียบเทียบ กับ
น้้าหนักตัวมาตรฐานเกินร้อยละ 10 แต่ไม่เกินร้อย
ละ 19 ของนักหนักตัวมาตรฐาน
ภาวะที่ร่างกายมีการสะสมอาหารเข้าไปมาก เกิน
ความจ้าเป็นของการน้าพลังงานที่เกิดจากอาหาร
ไปใช้ประโยชน์ในร่างกายแต่ละวันอย่างต่อเนื่อง
เป็นเหตุให้พลังงานที่เหลือใช้ถูกเก็บสะสมไว้ใน
อวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายในรูปของไขมัน ท้า
ให้ ร่างกายมีน้้าหนักตัวมากกว่าที่ควรจะเป็นเมื่อ
เปรียบเทียบกับน้้าหนักตัวมาตรฐาน
หมายถึง
โรคอ้วน (OBESITY)
หมายถึง
สภาวะร่างกายที่มีน้้าหนักตัวมากกว่าปกติ
เกิดจากการสะสม ของไขมันใต้ผิวหนัง
มากกว่าปกติจนมีผลกระทบต่อสุขภาพ
ภาวะที่บุคคลมีน้้าหนักตัวมากกว่าปกติ
เนื่องจากมีไขมัน สะสมอยู่ใต้ผิวหนังเป็นจ้านวน
มาก โดยมีน้้าหนักตัวมากกว่าน้้าหนักที่ควรจะ
เป็นเมื่อเปรียบเทียบกับมาตรฐานเกินร้อยละ 20
ของน้้าหนักมาตรฐานหรือมีค่าดัชนีมวลกาย
ตั้งแต่ 25 กิโลกรัมต่อตาราง เมตรขึ้นไป
หมายถึง
สาเหตุของโรคอ้วน?
1. สาเหตุทางพันธุกรรม
จากการศึกษาพบว่า ถ้าพ่อและแม่อ้วน ลูกมีโอกาสอ้วน
ได้ถึงร้อยละ 80 และถ้าพ่อ หรือแม่คนใดคนหนึ่งอ้วน
โอกาสที่ลูกจะอ้วนลดลงเหลือร้อยละ 40 แต่ถ้าทังพ่อ
และแม่ผอม ลูกมี โอกาสอ้วนเพียงร้อยละ 14
นอกจากนียังพบว่า ฝาแฝดที่เกิด จากไข่ใบเดียวกันมี
โอกาสที่จะเกิดภาวะน้าหนักเกินหรือโรคอ้วนตามกัน
มากกว่าฝาแฝดที่เกิดจากไข่ คนละใบ
สาเหตุของโรคอ้วน?
2. สาเหตุจากพฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมารูปร่างของคนไทยเริ่มเปลี่ยนแปลงไปอย่าง ช้า ๆ และ
เริ่ม อ้วนขึนเป็นล้าดับ เนื่องจากพฤติกรรมการกินที่เปลี่ยนแปลงไป โดยมี
พฤติกรรมการบริโภคอาหารตลอดเวลา รับประทานอาหารประเภทแป้ง น้าตาล
ไขมันเพิ่มมากขึน จากข้อมูลการส้ารวจภาวะ อาหารและโภชนาการของประเทศ
ไทย พบว่า ในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2503-2546) คนไทยได้ รับพลังงาน
จากการกินไขมันและโปรตีนเพิ่มขึน โดยโปรตีนจะเพิ่มขึนอย่าง ๆ ช้า ๆ
ในขณะที่ไขมัน เพิ่มมากขึนถึง 3 เท่าตัว และจากผลการส้ารวจของกรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสุขในรอบ 5-6 ปีที่ผ่านมา คนไทยเป็นโรคอ้วนเพิ่มมากขึน
36% ในเพศชาย และ 47% ในเพศหญิง โดยช่วงวัยท้างานอายุระหว่าง
20-29 ปีมีอัตราเพิ่มของโรคอ้วนมากที่สุด
สาเหตุของโรคอ้วน?
สาเหตุจากความผิดปกติของสมองส่วนไฮโพทาลามัส
สมองส่วนไฮโพทาลามัส (hypothalamus) เป็นสมองที่มีหน้าที่
ควบคุมความรู้สึก อยากอาหาร (eating center) ที่เกิดขึนตามความ
ต้องการใช้พลังงานของร่างกาย เมื่อเกิดความ ผิดปกติ หรือเกิดความไม่
สมดุลระหว่างความรู้สึกอิ่ม ซึ่งมีศูนย์ควบคุม (satiety center) หรือ
ความรู้สึกพอใจในอาหารที่บริโภคกับความอยากอาหารหรือความหิว ท้า
ให้เกิดลักษณะที่เรียกว่า “กินจุ” หรือ “บูลิเมีย” (bulemea) ซึ่ง
ศูนย์ควบคุมความรู้สึกอยากอาหารจะมีความผิดปกติขึนได้ เนื่องจาก
ความเคยชินในการบริโภคอาหารจ้านวนมาก จึงเกิดปฏิกิริยาตอบโต้ต่อ
การกระตุ้นของ ร่างกายที่เกิดขึนเองอย่างอัตโนมัติ หรือเกิดจากความ
ตังใจหรือบังคับจากสมองส่วนนอก เช่น เด็ก ที่ถูกมารดาบ่นในเรื่องการ
บริโภคอาหารไม่หมด จึงเป็นเหตุให้เด็กหลีกเลี่ยงการถูกมารดาบ่นด้วย
การบริโภคอาหารจนอิ่ม และเกิดเป็นความเคยชิน
กรดไขมันอิ่มตัว
?เป็นไขมันที่มีโครงสร้างทางโมเลกุลที่มีอะตอมของ
ไฮโดรเจนเกาะอยู่เต็มช่วย จับตัวเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง มีหน้า
ช่วยให้ความแข็งแรงแก่เนือเยื่อ อาหารอะไรบ้างที่มีส่วนประกอบของ
กรดไขมันอิ่มตัว ได้แก่ ส่วนเนือขาวที่ติดอยู่ในเนือสัตว์ หนังสัตว์ปีก
ไข่แดง น้ามันหมู นมไม่พร่องมันเนย ผลิตภัณฑ์จากนม เช่นเนย
น้ามันปาล์มและน้ามันมะพร้าว
การรับประทานกรดไขมันอิ่มตัว
กรดไขมันชนิดนีเป็นไขมันตัวร้าย จะท้าให้ระดับ LDL สูงขึนแม้การศึกษายังไม่พบว่าการรับประทาน
ไขมันชนิดนีกรด
ไขมันไม่อิ่มตัว เป็นไขมันที่ยังมีต้าแหน่งที่ไม่จับกับอะตอมของไฮโดรเจน ประกอบด้วย กรดไขมันไม่
อิ่มตัวเชิงเดี่ยวและเชิงซ้อน ไขมันเหล่านีอยู่ในรูปแบบของเหลวในอุณหภูมิห้อง อาหารที่มีส่วนประกอบของกรด
ไขมันไม่อิ่มตัว ได้แก่ น้ามันมะกอก น้ามันข้าวโพด น้ามันดอกทานตะวัน น้ามันอัลมอนด์ น้ามันวอลนัท Omega-3,
Omega-6 ปลาแซลมอน ปลาแมกคาเรล ปลาซาดีน ถ้ารับประทานอาหารที่มีส่วนประกอบของกรดไขมันอิ่มตัวไป
นานๆ นอกจากจะเกิดความเสี่ยงต่อโรคหัวใจแล้วยังท้าให้เกิดความเสี่ยงของโรคในระบบอื่นๆได้ดังนี หลอดเลือด
แดงใหญ่เอออต้าโป่งพอง อัลไซเมอร์ มะเร็งล้าไส้ใหญ่ เบาหวาน ไขมันพอกตับ โรคอัมพฤต อัมพาต โรคไต ผิวหนัง
เหี่ยวย่นก่อนวัย มะเร็งเต้านม
อาหารที่มี
ไขมัน
อิ่มตัวสูง ไขมันอิ่มตัวส่วนใหญ่พบใน
เนือสัตว์และผลิตภัณฑ์จากนม
เช่น เนือวัวติดมัน เนือแกะ เนือ
หมู (รวมถึงเบคอนและแฮม) เนือ
ไก่ที่มีหนัง ไขมันวัว (tallow)
น้ามันหมู ครีม เนย ชีส และ
ผลิตภัณฑ์จากนมไขมันเต็มส่วน
หรือพร่องมันเนย (ร้อยละ 2)
อาหารเหล่านีนอกจากจะมี
ไ ข มั น อิ่ ม ตั ว แ ล้ ว ยั ง มี
คอเลสเตอรอลร่วมด้วย
นอกจากนี ผลิตภัณฑ์เบเกอ
รี่และอาหารทอดยังประกอบ
ไปด้วยไขมันอิ่มตัวสูง
เนื่องจากกระบวนการผลิต
ย่อมมีวัตถุดิบที่มีไขมัน
อิ่มตัวเป็นองค์ประกอบ
ถึงแม้ว่าพืชและผลิตภัณฑ์จาก
พืชจะไม่มีคอเลสเตอรอล แต่
ไขมันจากพืชบางชนิดก็ถือเป็น
ไขมันอิ่มตัว เช่น น้ามันปาล์ม
น้ามันปาล์มเคอร์เนล (palm
kernel oil) แ ล ะ น้ า มั น
มะพร้าว
ผลกระทบที่เกิดจาก
โรคอ้วน
01
02
ท้าให้บุคลิกของตัวเองไม่
น่าดู ขาดความมั่นใจในการ
เดินและท้ากิจกรรมต่างๆ
มีอาการปวดเข่าและ
ท้าให้เดินไม่สะดวก
03
04
เกิดอาการไขมันในเส้นเลือดสูง
เกิดภาวะความดันโลหิตสูง
และเสี่ยงท้าให้เกิดโรคแทรก
ซ้อนตามมาได้
05 มีโอกาสเป็นโรคหัวใจและ
โรคเบาหวาน
วิธีป้องกันและรักษาโรคความอ้วน
04
05
หมั่นออกก้าลังกายเป็นประจ้า เพราะการ
ออกก้าลังกายจะช่วยในการลดการสะสม
ของพลังงานในร่างกายได้เป็นอย่างดี
01
02
03
ควรจ้ากัดปริมาณการทานอาหารในแต่ละ
ครัง เพื่อเป็นการควบคุมอาหารให้แก่
ร่างกายได้มีน้าหนักที่อยู่ในระดับปกติ
เมื่อเริ่มรู้สึกว่าน้าหนักเพิ่มมากจนเกินไป
ควรรีบเข้าพบแพทย์เพื่อท้าการตรวจ
วินิจฉัยโรคต่อไป
ควรลดอาหารที่มีพลังงานสูง และงดอาหาร
จ้าพวกมีความมัน ผัด ทอด และหวาน
ใส่ใจและหมั่นดูแลสุขภาพอย่างสม่้าเสมอ
ไม่ควรปล่อยปละละเลยด้วยการคิดอยาก
ทานอะไรก็ทาน จนไม่ค้านึงถึงผลเสียที่จะ
ตามมา
การวัดความอ้วนด้วยสูตรดัชนีมวลกาย
• ส้าหรับผู้หญิง ให้เอาความสูงลบด้วย 110 ค่าที่ได้คือน้าหนักที่
ร่างกายควรมี
• ส้าหรับผู้ชาย ให้เอาความสูงลบด้วย 100 ค่าที่ได้คือน้าหนักที่
ร่างกายควรมี
วิธีด้าเนินงาน
แนวทางการด้าเนินงาน
• ปรึกษาเลือกหัวข้อ
• นาเสนอหัวข้อกับ
ครูผู้สอน
• ศึกษารวบรวมข้อมูล
• จัดทารายงาน
• นาเสนอครู
• ปรับปรุงข้อมูลและ
แก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
• อินเตอร์เน็ต
• หนังสือที่เกี่ยวข้อง
• คอมพิวเตอร์
• โทรศัพท์
งบประมาณ
0 บาท
V D O
The Influence Of Obesity
By A Diet High In Saturated Fats.
สุขใจใกล้หมอ เทป 18 ตอน โรคอ้วน โดย หมอแอมป์
• https://youtu.be/L3P_FXaYZxg
V D O
The Influence Of Obesity
By A Diet High In Saturated Fats.
ทัวร์อวัยวะ โรคอ้วนลงพุง
• https://youtu.be/n70glotYT7Y
V D O
The Influence Of Obesity
By A Diet High In Saturated Fats.
โรคอ้วน ทุกอย่างที่คุณควรรู้
• https://youtu.be/NOyAzKEqveA
The Influence
Of Obesity
By A Diet Hig
h In Saturated
Fats.
โรคอ้วนลงพุง
https://bit.ly/2RnuFGc
The Influence
Of Obesity
By A Diet Hig
h In Saturated
Fats.
ภาวะน้าหนักเกินในเด็กไทย
https://bit.ly/2S7yrIn
แหล่งอ้างอิง
• Agras WS, Berkowitz RI, Arnow BA, Telch CF,
Marnell M, Henderson J, et al. Maintenance
following a very-low-calorie diet. Journal of
Consulting and Clinical Psychology.
1996;64(3):610–613. [PubMed]
• Gebhard RL, Prigge WF, Ansel HJ, Schlasner
L, Ketover SR, Sande D, et al. The role of ga
llbladder emptying in gallstone formation d
uring diet-induced rapid weight loss. Hepat
ology. 1996;24(3):544–548. [PubMed]
O
O
Thank you

More Related Content

Similar to The influence of obesity by a diet high in saturated fats. (7)

การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevt
 
อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
 
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรคกินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
 

The influence of obesity by a diet high in saturated fats.