SlideShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน “ เชียงใหม่ Smart city 2017 ”
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาวธัญลักษณ์ นะธิ เลขที่ 11 ชั้น 6 ห้อง 7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาว ธัญลักษณ์ นะธิ เลขที่ 11 ชั้น 6 ห้อง 7
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
“ เชียงใหม่ Smart city 2017 ”
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Chiang Mai Smart City 2017
ประเภทโครงงาน : โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application)
ชื่อผู้ทาโครงงาน : นางสาวธัญลักษณ์ นะธิ
ชื่อที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผลของการทาโครงงาน)
แนวคิดเรื่อง Smart City กาเนิดขึ้นเมื่อทั่วทั้งโลกกาลังเผชิญกับวิกฤตทางเศรษฐกิจ
ใน ค.ศ. 2008 ในช่วงดังกล่าว เมืองหลายแห่งต่างรู้ดีว่า เมืองของตนกาลังอยู่ในภาวะการ
แข่งขันกับเมืองอื่นๆ อย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน เมืองของตนไม่เพียงแค่แข่งขันกับเมือง
ข้างเคียงทั้งในระดับภูมิภาคหรือระดับประเทศเท่านั้น แต่ผลมาจากอินเตอร์เน็ตและ
เครือข่ายที่รองรับไปทั่วโลก ทาให้เมืองต่างกาลังเกิดการแข่งขันกันเองและไม่ใช่เพียงการ
3
แข่งขันด้านการลงทุนและการจ้างงาน เมืองต่างๆกาลังแข่งขันกันเพื่อดึงดูด คนรุ่น Y และ
รุ่น Z เพื่อดึงดูดให้กลุ่มเป้าหมายของพวกเขาเกิดเป็นผู้ที่เข้ามาพัฒนาจุดแข็งของเศรษฐกิจ
แนวใหม่ให้กับเมืองต่อไป ความสนใจของเมืองในเรื่อง Smart City นั้นจึงเกิดขึ้นเพื่อที่จะ
มุ่งเน้นเป้าหมายไปในทางการสร้างแบรนด์หรือภาพพจน์ของเมืองและความสามารถของ
เมืองในการดึงดูดคนรุ่นใหม่ หรือที่บางคนเรียกว่า ชนชั้น สร้างสรรค์(Creative Class)
เพราะโลกาภิวัฒน์สร้างโลกที่แบน ด้วยแนวคิดนี้เองจึงมีผู้นามาประยุกต์กับอุตสาหกรรม
สินค้าโภคภัณฑ์ต่างๆ ให้มีลักษณะเด่นพิเศษด้วยการสร้างงานที่มีคุณค่าสูงเพื่อทาให้เมืองมี
เสน่ห์น่าดึงดูด จากปรากฏการณ์นี้ในช่วงเริ่มต้นทาให้เราพบว่างานกระจุกรวมกันอยู่ ใน
เมืองขนาดเล็ก ไม่แพร่กระจายไปยังเมืองใหญ่ๆ โดย Chiang Mai Smart City มีการจัดทา
แผนแม่บทการพัฒนาเมืองอย่างชาญฉลาดขึ้นมาเพื่อการส่งเสริมสร้างความตระหนักรู้และ
การมีส่วนร่วมในโอกาสต่างๆทั้งการแสดงความคิดเห็น การเสนอแนวคิดหรือการส่งเสริม
การพัฒนาเมืองในระยะยาวด้วย ภายใต้กระบวนการพัฒนาเมืองอย่างชาญฉลาดของจังหวัด
เชียงใหม่ จะให้ความสาคัญต่อรูปแบบการออกแบบเมืองภายใต้กรอบแนวคิดด้าน Smart
City ตามรูปแบบสากล โดยให้ความสาคัญกับการยกระดับคุณภาพชีวิต และคุณค่าการใช้
ประโยชน์ของมนุษย์สาหรับประชาชนชาวเชียงใหม่เป็นสาคัญภายใต้กรอบแนวคิดและ
ดัชนี(Indicators) เพื่อสนับสนุนการออกแบบการพัฒนา Smart City เป็นสาคัญ
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาข้อมูลและความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ Smart city
2.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการพัฒนาเกี่ยวกับ Smart city
3.เพื่อพัฒนาเชียงใหม่และประเทศไทยให้เกิดการพัฒนาไปอย่างก้าวหน้าและทันสมัยพร้อมรับมือ
กับการเปลี่ยนแปลงของโลก
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
4
ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเมืองอัจฉริยะที่กาลังได้รับการพัฒนาและนามาปรับใช้กับประเทศ ไทย
จังหวัดเชียงใหม่
ขอบเขตพื้นที่ : โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
ขอบเขตด้านระยะเวลาที่ใช้ : เดือนกันยายน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
หลักการและทฤษฏี( ความรู้ หลักการ หรือทฤษฏีที่สนับสนุนการทาโครงงาน )
ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ ค.ศ. 2008 บริษัท IBM ได้เริ่มทางานด้วยแนวคิด Smart City ใน
ฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของงานที่ได้ริเริ่มขึ้นในชื่อ Smart Planet ถัดมาในช่วงต้น ค.ศ. 2009 แนวคิดนี้
เริ่มดึงดูดพลังความคิดที่มาจากหลายประเทศทั่วโลก โดย IBM ประยุกต์เทคโนโลยี ข้อมูลมาใช้เพื่อ
ทาให้เมืองมีความเป็นอัจฉริยะขึ้น ยุทธศาสตร์การทา Smart City ของ IBM นั้น จะเน้นไปที่การ
วิเคราะห์และการจัดการข้อมูลเทคโนโลยี analytical algorithms and data processing ซึ่งเป็น
สิ่งจาเป็นสาหรับการทาความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลเซ็นเซอร์จานวนมาก
ส่วน Cisco ในอเมริกาได้ริเริ่มโครงการ Connected Urban Development programme ใน
ค.ศ. 2005 มาก่อน โดยทางานกับเมืองซานฟรานซิสโก,อัมสเตอร์ดัม และโซล เป็นการดาเนินการ
เพื่อทดลองศักยภาพของเทคโนโลยีที่ Cisco มี ในฐานะผู้สร้างเครื่องมืออุปกรณ์ เครือข่าย อันเป็น
ความรู้ทางเทคนิคที่นามาใช้พัฒนาเมืองให้ยั่งยืนมากขึ้น โดยได้จัดทา Smart and Connected
Communities เพื่อรองรับการค้าขายผลิตภัณฑ์และบริการ มีการคาดการณ์ว่า ใน ค.ศ. 2020 จะมีการ
ใช้จ่ายในเทคโนโลยี Smart City สูงถึง 1.6 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ พร้อมกับ เมืองจานวนมากทั่ว
โลกที่มีความต้องการเทคโนโลยี Smart City จึงดูเหมือนมีช่องว่างจานวน มากในเรื่องดังกล่าว ทา
ให้บริษัทไอทีที่สาคัญต่างกาลังมองหาช่องทางในตลาด Smart City
แนวนโยบาย Thailand 4.0 คือโมเดลการพัฒนาเศรษฐกิจของรัฐบาลปัจจุบันที่มุ่งเน้นให้
ประเทศไทยพัฒนาเศรษฐกิจแนวใหม่ (New Engines of Growth) เพื่อให้หลุดพ้นจากกับดักประเทศ
รายได้ปานกลาง โดยเน้นเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม (Value-Based Economy) กลยุทธ์
5
หนึ่งที่ออกแบบให้เป็น เครื่องมือในการขับเคลื่อนนโยบายนี้คือการพัฒนาด้านเมืองอัจฉริยะ(Smart
City) หรือ เมืองที่มีการใช้เทคโนโลยีในการบริหารอย่างเต็มประสิทธิภาพและเป็นเมืองที่มีการ
สร้างนวัตกรรม โดยรัฐบาลได้ใช้ให้ภูเก็ต เชียงใหม่และขอนแก่น นาร่องการพัฒนาโครงการ
สมาร์ทซิตี้ดังกล่าว ในขณะที่ทิศทางการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Smart City) ในแต่ละเมืองทั่วโลกนั้น
ไม่มีนิยามหรือ กฎเกณฑ์ตายตัว ส่วนใหญ่แต่ละเมืองเน้นการพัฒนาที่แตกต่างกันหากแต่ประเด็น
สาคัญคือการนาเทคโนโลยี มาใช้เพื่อตัดสินใจในการบริหารจัดการเมืองด้านต่าง ๆ เช่น การจราจร
การขนส่ง การบริหารทรัพยากรน้า อากาศ เป็นต้น ซึ่งมักหมายถึง การติด sensor การใช้ data
analytics และ การส่งเสริม digital platform ต่าง ๆ ดังนั้นแนวทางการออกแบบโครงการด้านเมือง
อัจฉริยะ (Smart City) ของจังหวัดเชียงใหม่สามารถ เทียบเคียงกับการออกแบบ Smart City ใน
ระดับสากลสามารถแบ่งได้ออกเป็น 7 ด้าน ได้แก่
1. ความอัจฉริยะด้านเศรษฐกิจ (Smart Economy)
2. ความอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อม (Smart Environment)
3. ความอัจฉริยะของภาครัฐ (Smart Govenance)
4. ความอัจฉริยะด้านการด ารงชีวิต (Smart Living)
5. ความอัจฉริยะด้านการเดินทาง (Smart Mobility)
6. ความอัจฉริยะด้านคน (Smart People)
7. ความอัจฉริยะด้านพลังงาน (Smart Energy)
ดังนั้น ในขณะที่ขั้นพื้นฐานการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Smart City) ส่วนใหญ่มักจะเน้นการ
ใช้เทคโนโลยีเป็นตัวขับเคลื่อนหากแต่ว่าในความหมายของเมืองอัจฉริยะ (Smart City)นั้นคือการ
ปรับเปลี่ยนเมือง (city transformation) ในเรื่องกระบวนการ (process more than outcome) ตัดสินใจ
เรื่องสาธารณะที่ผ่า นกการมีส่วนร่วม มีการสร้างจิตส านึกความเป็นพลเมืองที่สูง (civic
mindedness) และมีโมเดลใหม่ ๆ ในการทางานร่วมกันหรือลงทุนร่วมกันระหว่างภาครัฐ
6
ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และ สถาบันการศึกษา รวมถึงการพัฒนานวัตกรรมด้าน urban
solutions หรือวิธีการแก้ปัญหาต่าง ๆ ของเมือง ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ของประชาชนในด้านคุณภาพ
ชีวิตและคุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ในการดารงชีวิตเป็นสาคัญ
แผนพัฒนาจังหวัดเชียงใหม่ (พ.ศ.2561 - 2565)
-ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวและบริการสุขภาพ เชื่อมโยงชุมชนและท้องถิ่น
วิสัยทัศน์และพันธกิจ
2.1 วิสัยทัศน์ “สังคมเป็นสุข เศรษฐกิจสร้างสรรค์ยกระดับคุณภาพชีวิต ด้วยการใช้ความคิด
สร้างสรรค์ และเทคโนโลยี”
2.2 พันธกิจ
1) สนับสนุนการออกแบบและการลงทุนด้านเมืองอัจฉริยะ (Smart City) เพื่อกระตุ้น
เศรษฐกิจ และกระจายรายได้สู่ชุมชน
2) ส่งเสริมภาพลักษณ์ของจังหวัดให้เป็น จุดหมายเมืองอัจฉริยะระดับสากลที่สอดคล้องกับ
ทุนทางวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ของวิถีล้านนา
3) พัฒนาอุตสาหกรรมระดับท้องถิ่นให้สามารถปรับตัวเข้าสู่การแข่งขันสมัยใหม่บน
ฐานความรู้และใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี
4) ส่งเสริมการพัฒนาเครื่องมือระเบียบแบบแผน เพื่อสนับสนุนการดารงชีวิตสะดวกสบาย
มีความยั่งยืน ความปลอดภัยเพื่อสร้างสังคมที่เป็นสุขบนพื้นฐานของคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ประเด็นยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อม (Smart Environment)
แนวทางการพัฒนา
- ส่งเสริมการพัฒนาสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ที่อยู่อาศัยที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม
7
- ส่งเสริมการจัดการพื้นที่สาธารณะ การจัดการขยะมูลฝอย และพื้นที่สีเขียว โดยใช้
ประโยชน์จากเทคโนโลยี
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะด้านการอยู่อาศัย (Smart Living)
แนวทางการพัฒนา
- พัฒนาระบบข้อมูล การเชื่อมต่อ และพื้นที่ในการเข้าถึงเทคโนโลยีเพื่ออานวย ความ
สะดวกขั้นพื้นฐานให้แก่ประชาชน
- พัฒนาระบบการรักษาพยาบาลอัจฉริยะและเชื่อมโยงการเข้าถึงการรักษาพยาบาล เพื่อการ
ส่งเสริมการเป็นศูนย์กลางด้านการแพทย์ของจังหวัดเชียงใหม่
- ออกแบบแนวทางการใช้เทคโนโลยีเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
- พัฒนาพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของประชาชนในเมืองด้านการสร้างสรรค์ทักษะ ความรู้การ
อาชีพ และนวัตกรรม
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะด้านพลังงาน (Smart Energy)
แนวทางการพัฒนา
- การสร้างกระบวนการการยอมรับด้านการใช้พลังงานทดแทนในระดับครัวเรือน
- ส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนในกิจกรรมสาธารณะและกิจกรรมภาครัฐ
- พัฒนาระบบควบคุมการใช้พลังงานในระดับจังหวัด ผ่านระบบการเชื่อมโยงอัจฉริยะ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะด้านการเดินทาง (Smart Mobility) แนว
ทางการพัฒนา
- พัฒนาระบบการเดินทางอัจฉริยะอย่างเป็นรูปธรรมในจังหวัดเชียงใหม่ และลดความ
เหลื่อมล้าในการเข้าถึงระบบขนส่งมวลชนในจังหวัด
- ออกแบบระบบการเชื่อมโยงระบบการเดินทางและการขนส่งในทุก ๆ มิติ
8
- พัฒนาระบบการบริหารจัดการ การจราจร และการจอดรถอัจฉริยะ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 ยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะด้านเศรษฐกิจ (Smart Economy)
แนวทางการพัฒนา
- พัฒนาโอกาสด้านการเข้าถึงสาธารณูปโภคด้านดิจิทัลเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลิตภัณฑ์และ
ผู้ประกอบการ
- ออกแบบระบบการเชื่อมโยงการบริหารจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
- พัฒนาระบบการบริหารจัดการ และการเชื่อมโยงข้อมูล ด้านการเกษตรอัจฉริยะและการ
ท่องเที่ยวอัจฉริยะ 47
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 ยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะด้านคน (Smart People)
แนวทางการพัฒนา
- พัฒนาทักษะองค์ความรู้และระบบนิเวศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตของ ประชาชนในทุก
ระดับชั้น
- ออกแบบระบบเพื่อลดความเหลื่อมล้าทางสังคมและเศรษฐกิจ
- พัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐานเพื่อสร้างการมีส่วนร่วม และความคิดสร้างสรรค์ของ
ประชาชน
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 ยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะด้านการบริหารงานภาครัฐ (Smart
Government)
แนวทางการพัฒนา
- พัฒนาระบบการบริการของภาครัฐ เพื่ออานวยความสะดวกแก่ประชาชนในทุกระดับชั้น
- พัฒนาระบบการใช้ข้อมูลเปิดของเมืองและสร้างสาธารณูปโภคที่เกี่ยวข้องเพื่อการเข้าถึง
ข้อมูลโดยไม่มีต้นทุน
9
- พัฒนาระบบการบริหารจัดการความโปร่งใส และการมีส่วนร่วมของภาครัฐและประชา
สังคม
โครงการนาร่องเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะอย่างเป็นรูปธรรมในจังหวัดเชียงใหม่ เป็น
โครงการที่ออกแบบเพื่อเป็นต้นแบบในการดาเนินการอย่างเป็นรูปธรรม มีกิจกรรมที่เป็นรูปธรรม
เกิดการลงทุนทั้งจากภาครัฐและภาคเอกชนและเกิดประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมต่อภาคประชาชน
โดยจังหวัดเชียงใหม่ได้กาหนด โครงการต้นแบบและกาหนดพื้นที่ในการดาเนินโครงการอย่าง
บูรณาการโดยอาศัยความร่วมมือจากทุกภาค ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง โดยกาหนดโครงการนาร่องในการ
ขับเคลื่อนออกเป็น 3 ด้านดังนี้
1. โครงการนาร่องด้าน โครงการต้นแบบเมืองอัจฉริยะ (Smart City Sandbox)
• โครงการ CMU Smart City
• ขอบเขตพื้นที่โครงการ ขอบเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และพื้นที่ประกอบ
2. โครงการนาร่องด้านความอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อม (Smart Environment) และความ
อัจฉริยะด้านการอยู่อาศัย (Smart Living)
• โครงการ Smart Nimman
• กาหนดขอบเขตพื้นที่โครงการบริเวณพื้นที่ย่านนิมมานเหมินทร์โดยมีรายละเอียดด้าน
ทิศเหนือ จรดถนนห้วยแก้ว ด้านทิศใต้จรดถนนสุเทพ ด้านทิศตะวันออกจรดถนนศิริมัง
คลาจารย์ด้านทิศตะวันตกจรด ถนนสมโภชน์เชียงใหม่ 700 ปี
3. โครงการนาร่องความอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อม (Smart Environment) และความอัจฉริยะ
ด้านการเดินทาง (Smart Mobility)
• โครงการจัดตั้งและดาเนินการเครือข่ายผู้ให้บริการด้านการเดินทางอัจฉริยะในจังหวัด
เชียงใหม่ (Smart Mobility Alliance network)
• กาหนดขอบเขตพื้นที่การดาเนินโครงการบริเวณพื้นที่เมืองของจังหวัดเชียงใหม่ โดย
กาหนดพื้นที่ ด้านในขอบเขตถนนวงแหวนรอบ 3 เชื่อมต่อกับสมโภชน์เชียงใหม่ 700 ปี
10
วิธีดาเนินงานแนวทางการดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเมืองอัจฉริยะ
2.ศึกษาข้อดีและข้อเสียของการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
3.นาข้อมูลที่ได้มาประมวลผลและคาดการณ์ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นจากการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
4.สรุปผลและเผยแพร่ข้อมูล
เครื่องมือและอุปกรณ์
- อินเทอร์เน็ต
- คอมพิวเตอร์
- ซอฟต์แวร์ที่ใช้ประมวลผล
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลำดับที่ ขั้นตอน สัปดำห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อ
โครงงาน
ธัญลักษณ์
2 ศึกษาและ
ค้นคว้าข้อมูล
ธัญลักษณ์
3 จัดทาโครงร่าง
งาน
ธัญลักษณ์
11
4 ปฏิบัติการ
สร้างโครงงาน
ธัญลักษณ์
5 ปรับปรุง
ทดสอบ
ธัญลักษณ์
6 การทา
เอกสารรายงาน
ธัญลักษณ์
7 ประเมินผล
งาน
ธัญลักษณ์
8 นาเสนอ
โครงงาน
ธัญลักษณ์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1. เพื่อให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมให้ยั่งยืนและยาวนาน
2. ได้รับความรู้เกี่ยวกับเมืองอัจฉริยะ
3. สามารถนาความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่และพัฒนาให้โครงการเมืองอัจฉริยะดังกล่าวเกิด
ประโยชน์สูงสุดตามวัตถุประสงค์และบุคคลโดยทั่วไป
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย เชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. สารระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2. สารระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
แหล่งอ้างอิง(เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นา มาใช้การทาโครงงาน)
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
จากเว็บไซต์ : http://www.chiangmai.go.th/managing/public/D2/2D11Sep2019090618.pdf
12
Smart City เชียงใหม่ ไอทีด้วยวิถีล้านนา
จากเว็บไซต์ : http://www.digitalagemag.com/smart-city
สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ชูแผน Smart City เน้นพัฒนาเกษตร การท่องเที่ยวและแก้ปัญหา
หมอกควัน
จากเว็บไซต์ : https://www.techhub.in.th/depa-smart-city-plan/

More Related Content

Similar to Tanyaluck nathi 607 11

Unemployment
UnemploymentUnemployment
Unemployment
PreeyapatsornKraichi
 
FURD CITIES MONITOR VOL.3 (MAY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.3 (MAY 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.3 (MAY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.3 (MAY 2017)
FURD_RSU
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI 2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
เซฟ หัวเกรียน
 
2558 project (บันทึกอัตโนมัติ)
2558 project  (บันทึกอัตโนมัติ)2558 project  (บันทึกอัตโนมัติ)
2558 project (บันทึกอัตโนมัติ)
ปณิธี ศรีสุวรรณนพกุล
 
2558 project (บันทึกอัตโนมัติ)
2558 project  (บันทึกอัตโนมัติ)2558 project  (บันทึกอัตโนมัติ)
2558 project (บันทึกอัตโนมัติ)
ปณิธี ศรีสุวรรณนพกุล
 
2558 project (บันทึกอัตโนมัติ)
2558 project  (บันทึกอัตโนมัติ)2558 project  (บันทึกอัตโนมัติ)
2558 project (บันทึกอัตโนมัติ)
ปณิธี ศรีสุวรรณนพกุล
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
wisita42
 
e Magazine ของ IMC Institute Vol.2 No. 6; May-August 2017
e Magazine ของ IMC Institute Vol.2 No. 6; May-August 2017e Magazine ของ IMC Institute Vol.2 No. 6; May-August 2017
e Magazine ของ IMC Institute Vol.2 No. 6; May-August 2017
IMC Institute
 
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการภาครัฐ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการภาครัฐระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการภาครัฐ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการภาครัฐ
Prachyanun Nilsook
 
2560 project แฟรงเซฟ ใหม่
2560 project แฟรงเซฟ ใหม่2560 project แฟรงเซฟ ใหม่
2560 project แฟรงเซฟ ใหม่
เซฟ หัวเกรียน
 
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
Sarit Tiyawongsuwan
 
2562 final-project natthida-08 1
2562 final-project natthida-08 12562 final-project natthida-08 1
2562 final-project natthida-08 1
ssuser15cf91
 
ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8
PluemSupichaya
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
Pannathat Champakul
 
Trends and Services in Modern Library
Trends and Services in Modern LibraryTrends and Services in Modern Library
Trends and Services in Modern Library
Maykin Likitboonyalit
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI คู่
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI คู่2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI คู่
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI คู่
เซฟ หัวเกรียน
 
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Settapong Malisuwan
 
การพัฒนาไอโฟน
การพัฒนาไอโฟนการพัฒนาไอโฟน
การพัฒนาไอโฟน
Nuttida Meepo
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
Ritthipon Ponjakfa
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
ChamnanWisetsing
 

Similar to Tanyaluck nathi 607 11 (20)

Unemployment
UnemploymentUnemployment
Unemployment
 
FURD CITIES MONITOR VOL.3 (MAY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.3 (MAY 2017)FURD CITIES MONITOR VOL.3 (MAY 2017)
FURD CITIES MONITOR VOL.3 (MAY 2017)
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI 2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
 
2558 project (บันทึกอัตโนมัติ)
2558 project  (บันทึกอัตโนมัติ)2558 project  (บันทึกอัตโนมัติ)
2558 project (บันทึกอัตโนมัติ)
 
2558 project (บันทึกอัตโนมัติ)
2558 project  (บันทึกอัตโนมัติ)2558 project  (บันทึกอัตโนมัติ)
2558 project (บันทึกอัตโนมัติ)
 
2558 project (บันทึกอัตโนมัติ)
2558 project  (บันทึกอัตโนมัติ)2558 project  (บันทึกอัตโนมัติ)
2558 project (บันทึกอัตโนมัติ)
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
e Magazine ของ IMC Institute Vol.2 No. 6; May-August 2017
e Magazine ของ IMC Institute Vol.2 No. 6; May-August 2017e Magazine ของ IMC Institute Vol.2 No. 6; May-August 2017
e Magazine ของ IMC Institute Vol.2 No. 6; May-August 2017
 
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการภาครัฐ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการภาครัฐระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการภาครัฐ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการภาครัฐ
 
2560 project แฟรงเซฟ ใหม่
2560 project แฟรงเซฟ ใหม่2560 project แฟรงเซฟ ใหม่
2560 project แฟรงเซฟ ใหม่
 
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ระบบแพลตฟอร์มข้อมูลเมืองเพื่อพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
 
2562 final-project natthida-08 1
2562 final-project natthida-08 12562 final-project natthida-08 1
2562 final-project natthida-08 1
 
ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
Trends and Services in Modern Library
Trends and Services in Modern LibraryTrends and Services in Modern Library
Trends and Services in Modern Library
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI คู่
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI คู่2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI คู่
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI คู่
 
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
การพัฒนาไอโฟน
การพัฒนาไอโฟนการพัฒนาไอโฟน
การพัฒนาไอโฟน
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 

Tanyaluck nathi 607 11

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน “ เชียงใหม่ Smart city 2017 ” ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาวธัญลักษณ์ นะธิ เลขที่ 11 ชั้น 6 ห้อง 7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาว ธัญลักษณ์ นะธิ เลขที่ 11 ชั้น 6 ห้อง 7 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) “ เชียงใหม่ Smart city 2017 ” ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Chiang Mai Smart City 2017 ประเภทโครงงาน : โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application) ชื่อผู้ทาโครงงาน : นางสาวธัญลักษณ์ นะธิ ชื่อที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผลของการทาโครงงาน) แนวคิดเรื่อง Smart City กาเนิดขึ้นเมื่อทั่วทั้งโลกกาลังเผชิญกับวิกฤตทางเศรษฐกิจ ใน ค.ศ. 2008 ในช่วงดังกล่าว เมืองหลายแห่งต่างรู้ดีว่า เมืองของตนกาลังอยู่ในภาวะการ แข่งขันกับเมืองอื่นๆ อย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน เมืองของตนไม่เพียงแค่แข่งขันกับเมือง ข้างเคียงทั้งในระดับภูมิภาคหรือระดับประเทศเท่านั้น แต่ผลมาจากอินเตอร์เน็ตและ เครือข่ายที่รองรับไปทั่วโลก ทาให้เมืองต่างกาลังเกิดการแข่งขันกันเองและไม่ใช่เพียงการ
  • 3. 3 แข่งขันด้านการลงทุนและการจ้างงาน เมืองต่างๆกาลังแข่งขันกันเพื่อดึงดูด คนรุ่น Y และ รุ่น Z เพื่อดึงดูดให้กลุ่มเป้าหมายของพวกเขาเกิดเป็นผู้ที่เข้ามาพัฒนาจุดแข็งของเศรษฐกิจ แนวใหม่ให้กับเมืองต่อไป ความสนใจของเมืองในเรื่อง Smart City นั้นจึงเกิดขึ้นเพื่อที่จะ มุ่งเน้นเป้าหมายไปในทางการสร้างแบรนด์หรือภาพพจน์ของเมืองและความสามารถของ เมืองในการดึงดูดคนรุ่นใหม่ หรือที่บางคนเรียกว่า ชนชั้น สร้างสรรค์(Creative Class) เพราะโลกาภิวัฒน์สร้างโลกที่แบน ด้วยแนวคิดนี้เองจึงมีผู้นามาประยุกต์กับอุตสาหกรรม สินค้าโภคภัณฑ์ต่างๆ ให้มีลักษณะเด่นพิเศษด้วยการสร้างงานที่มีคุณค่าสูงเพื่อทาให้เมืองมี เสน่ห์น่าดึงดูด จากปรากฏการณ์นี้ในช่วงเริ่มต้นทาให้เราพบว่างานกระจุกรวมกันอยู่ ใน เมืองขนาดเล็ก ไม่แพร่กระจายไปยังเมืองใหญ่ๆ โดย Chiang Mai Smart City มีการจัดทา แผนแม่บทการพัฒนาเมืองอย่างชาญฉลาดขึ้นมาเพื่อการส่งเสริมสร้างความตระหนักรู้และ การมีส่วนร่วมในโอกาสต่างๆทั้งการแสดงความคิดเห็น การเสนอแนวคิดหรือการส่งเสริม การพัฒนาเมืองในระยะยาวด้วย ภายใต้กระบวนการพัฒนาเมืองอย่างชาญฉลาดของจังหวัด เชียงใหม่ จะให้ความสาคัญต่อรูปแบบการออกแบบเมืองภายใต้กรอบแนวคิดด้าน Smart City ตามรูปแบบสากล โดยให้ความสาคัญกับการยกระดับคุณภาพชีวิต และคุณค่าการใช้ ประโยชน์ของมนุษย์สาหรับประชาชนชาวเชียงใหม่เป็นสาคัญภายใต้กรอบแนวคิดและ ดัชนี(Indicators) เพื่อสนับสนุนการออกแบบการพัฒนา Smart City เป็นสาคัญ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาข้อมูลและความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ Smart city 2.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการพัฒนาเกี่ยวกับ Smart city 3.เพื่อพัฒนาเชียงใหม่และประเทศไทยให้เกิดการพัฒนาไปอย่างก้าวหน้าและทันสมัยพร้อมรับมือ กับการเปลี่ยนแปลงของโลก ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
  • 4. 4 ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเมืองอัจฉริยะที่กาลังได้รับการพัฒนาและนามาปรับใช้กับประเทศ ไทย จังหวัดเชียงใหม่ ขอบเขตพื้นที่ : โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ขอบเขตด้านระยะเวลาที่ใช้ : เดือนกันยายน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562 หลักการและทฤษฏี( ความรู้ หลักการ หรือทฤษฏีที่สนับสนุนการทาโครงงาน ) ในช่วงวิกฤตเศรษฐกิจ ค.ศ. 2008 บริษัท IBM ได้เริ่มทางานด้วยแนวคิด Smart City ใน ฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของงานที่ได้ริเริ่มขึ้นในชื่อ Smart Planet ถัดมาในช่วงต้น ค.ศ. 2009 แนวคิดนี้ เริ่มดึงดูดพลังความคิดที่มาจากหลายประเทศทั่วโลก โดย IBM ประยุกต์เทคโนโลยี ข้อมูลมาใช้เพื่อ ทาให้เมืองมีความเป็นอัจฉริยะขึ้น ยุทธศาสตร์การทา Smart City ของ IBM นั้น จะเน้นไปที่การ วิเคราะห์และการจัดการข้อมูลเทคโนโลยี analytical algorithms and data processing ซึ่งเป็น สิ่งจาเป็นสาหรับการทาความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลเซ็นเซอร์จานวนมาก ส่วน Cisco ในอเมริกาได้ริเริ่มโครงการ Connected Urban Development programme ใน ค.ศ. 2005 มาก่อน โดยทางานกับเมืองซานฟรานซิสโก,อัมสเตอร์ดัม และโซล เป็นการดาเนินการ เพื่อทดลองศักยภาพของเทคโนโลยีที่ Cisco มี ในฐานะผู้สร้างเครื่องมืออุปกรณ์ เครือข่าย อันเป็น ความรู้ทางเทคนิคที่นามาใช้พัฒนาเมืองให้ยั่งยืนมากขึ้น โดยได้จัดทา Smart and Connected Communities เพื่อรองรับการค้าขายผลิตภัณฑ์และบริการ มีการคาดการณ์ว่า ใน ค.ศ. 2020 จะมีการ ใช้จ่ายในเทคโนโลยี Smart City สูงถึง 1.6 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ พร้อมกับ เมืองจานวนมากทั่ว โลกที่มีความต้องการเทคโนโลยี Smart City จึงดูเหมือนมีช่องว่างจานวน มากในเรื่องดังกล่าว ทา ให้บริษัทไอทีที่สาคัญต่างกาลังมองหาช่องทางในตลาด Smart City แนวนโยบาย Thailand 4.0 คือโมเดลการพัฒนาเศรษฐกิจของรัฐบาลปัจจุบันที่มุ่งเน้นให้ ประเทศไทยพัฒนาเศรษฐกิจแนวใหม่ (New Engines of Growth) เพื่อให้หลุดพ้นจากกับดักประเทศ รายได้ปานกลาง โดยเน้นเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม (Value-Based Economy) กลยุทธ์
  • 5. 5 หนึ่งที่ออกแบบให้เป็น เครื่องมือในการขับเคลื่อนนโยบายนี้คือการพัฒนาด้านเมืองอัจฉริยะ(Smart City) หรือ เมืองที่มีการใช้เทคโนโลยีในการบริหารอย่างเต็มประสิทธิภาพและเป็นเมืองที่มีการ สร้างนวัตกรรม โดยรัฐบาลได้ใช้ให้ภูเก็ต เชียงใหม่และขอนแก่น นาร่องการพัฒนาโครงการ สมาร์ทซิตี้ดังกล่าว ในขณะที่ทิศทางการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Smart City) ในแต่ละเมืองทั่วโลกนั้น ไม่มีนิยามหรือ กฎเกณฑ์ตายตัว ส่วนใหญ่แต่ละเมืองเน้นการพัฒนาที่แตกต่างกันหากแต่ประเด็น สาคัญคือการนาเทคโนโลยี มาใช้เพื่อตัดสินใจในการบริหารจัดการเมืองด้านต่าง ๆ เช่น การจราจร การขนส่ง การบริหารทรัพยากรน้า อากาศ เป็นต้น ซึ่งมักหมายถึง การติด sensor การใช้ data analytics และ การส่งเสริม digital platform ต่าง ๆ ดังนั้นแนวทางการออกแบบโครงการด้านเมือง อัจฉริยะ (Smart City) ของจังหวัดเชียงใหม่สามารถ เทียบเคียงกับการออกแบบ Smart City ใน ระดับสากลสามารถแบ่งได้ออกเป็น 7 ด้าน ได้แก่ 1. ความอัจฉริยะด้านเศรษฐกิจ (Smart Economy) 2. ความอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อม (Smart Environment) 3. ความอัจฉริยะของภาครัฐ (Smart Govenance) 4. ความอัจฉริยะด้านการด ารงชีวิต (Smart Living) 5. ความอัจฉริยะด้านการเดินทาง (Smart Mobility) 6. ความอัจฉริยะด้านคน (Smart People) 7. ความอัจฉริยะด้านพลังงาน (Smart Energy) ดังนั้น ในขณะที่ขั้นพื้นฐานการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (Smart City) ส่วนใหญ่มักจะเน้นการ ใช้เทคโนโลยีเป็นตัวขับเคลื่อนหากแต่ว่าในความหมายของเมืองอัจฉริยะ (Smart City)นั้นคือการ ปรับเปลี่ยนเมือง (city transformation) ในเรื่องกระบวนการ (process more than outcome) ตัดสินใจ เรื่องสาธารณะที่ผ่า นกการมีส่วนร่วม มีการสร้างจิตส านึกความเป็นพลเมืองที่สูง (civic mindedness) และมีโมเดลใหม่ ๆ ในการทางานร่วมกันหรือลงทุนร่วมกันระหว่างภาครัฐ
  • 6. 6 ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และ สถาบันการศึกษา รวมถึงการพัฒนานวัตกรรมด้าน urban solutions หรือวิธีการแก้ปัญหาต่าง ๆ ของเมือง ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ของประชาชนในด้านคุณภาพ ชีวิตและคุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ในการดารงชีวิตเป็นสาคัญ แผนพัฒนาจังหวัดเชียงใหม่ (พ.ศ.2561 - 2565) -ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวและบริการสุขภาพ เชื่อมโยงชุมชนและท้องถิ่น วิสัยทัศน์และพันธกิจ 2.1 วิสัยทัศน์ “สังคมเป็นสุข เศรษฐกิจสร้างสรรค์ยกระดับคุณภาพชีวิต ด้วยการใช้ความคิด สร้างสรรค์ และเทคโนโลยี” 2.2 พันธกิจ 1) สนับสนุนการออกแบบและการลงทุนด้านเมืองอัจฉริยะ (Smart City) เพื่อกระตุ้น เศรษฐกิจ และกระจายรายได้สู่ชุมชน 2) ส่งเสริมภาพลักษณ์ของจังหวัดให้เป็น จุดหมายเมืองอัจฉริยะระดับสากลที่สอดคล้องกับ ทุนทางวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ของวิถีล้านนา 3) พัฒนาอุตสาหกรรมระดับท้องถิ่นให้สามารถปรับตัวเข้าสู่การแข่งขันสมัยใหม่บน ฐานความรู้และใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี 4) ส่งเสริมการพัฒนาเครื่องมือระเบียบแบบแผน เพื่อสนับสนุนการดารงชีวิตสะดวกสบาย มีความยั่งยืน ความปลอดภัยเพื่อสร้างสังคมที่เป็นสุขบนพื้นฐานของคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ประเด็นยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อม (Smart Environment) แนวทางการพัฒนา - ส่งเสริมการพัฒนาสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ที่อยู่อาศัยที่เป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม
  • 7. 7 - ส่งเสริมการจัดการพื้นที่สาธารณะ การจัดการขยะมูลฝอย และพื้นที่สีเขียว โดยใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยี ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะด้านการอยู่อาศัย (Smart Living) แนวทางการพัฒนา - พัฒนาระบบข้อมูล การเชื่อมต่อ และพื้นที่ในการเข้าถึงเทคโนโลยีเพื่ออานวย ความ สะดวกขั้นพื้นฐานให้แก่ประชาชน - พัฒนาระบบการรักษาพยาบาลอัจฉริยะและเชื่อมโยงการเข้าถึงการรักษาพยาบาล เพื่อการ ส่งเสริมการเป็นศูนย์กลางด้านการแพทย์ของจังหวัดเชียงใหม่ - ออกแบบแนวทางการใช้เทคโนโลยีเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน - พัฒนาพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของประชาชนในเมืองด้านการสร้างสรรค์ทักษะ ความรู้การ อาชีพ และนวัตกรรม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะด้านพลังงาน (Smart Energy) แนวทางการพัฒนา - การสร้างกระบวนการการยอมรับด้านการใช้พลังงานทดแทนในระดับครัวเรือน - ส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนในกิจกรรมสาธารณะและกิจกรรมภาครัฐ - พัฒนาระบบควบคุมการใช้พลังงานในระดับจังหวัด ผ่านระบบการเชื่อมโยงอัจฉริยะ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะด้านการเดินทาง (Smart Mobility) แนว ทางการพัฒนา - พัฒนาระบบการเดินทางอัจฉริยะอย่างเป็นรูปธรรมในจังหวัดเชียงใหม่ และลดความ เหลื่อมล้าในการเข้าถึงระบบขนส่งมวลชนในจังหวัด - ออกแบบระบบการเชื่อมโยงระบบการเดินทางและการขนส่งในทุก ๆ มิติ
  • 8. 8 - พัฒนาระบบการบริหารจัดการ การจราจร และการจอดรถอัจฉริยะ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 ยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะด้านเศรษฐกิจ (Smart Economy) แนวทางการพัฒนา - พัฒนาโอกาสด้านการเข้าถึงสาธารณูปโภคด้านดิจิทัลเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลิตภัณฑ์และ ผู้ประกอบการ - ออกแบบระบบการเชื่อมโยงการบริหารจัดการทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ - พัฒนาระบบการบริหารจัดการ และการเชื่อมโยงข้อมูล ด้านการเกษตรอัจฉริยะและการ ท่องเที่ยวอัจฉริยะ 47 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 ยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะด้านคน (Smart People) แนวทางการพัฒนา - พัฒนาทักษะองค์ความรู้และระบบนิเวศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตของ ประชาชนในทุก ระดับชั้น - ออกแบบระบบเพื่อลดความเหลื่อมล้าทางสังคมและเศรษฐกิจ - พัฒนาสาธารณูปโภคพื้นฐานเพื่อสร้างการมีส่วนร่วม และความคิดสร้างสรรค์ของ ประชาชน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 7 ยุทธศาสตร์เมืองอัจฉริยะด้านการบริหารงานภาครัฐ (Smart Government) แนวทางการพัฒนา - พัฒนาระบบการบริการของภาครัฐ เพื่ออานวยความสะดวกแก่ประชาชนในทุกระดับชั้น - พัฒนาระบบการใช้ข้อมูลเปิดของเมืองและสร้างสาธารณูปโภคที่เกี่ยวข้องเพื่อการเข้าถึง ข้อมูลโดยไม่มีต้นทุน
  • 9. 9 - พัฒนาระบบการบริหารจัดการความโปร่งใส และการมีส่วนร่วมของภาครัฐและประชา สังคม โครงการนาร่องเพื่อการพัฒนาเมืองอัจฉริยะอย่างเป็นรูปธรรมในจังหวัดเชียงใหม่ เป็น โครงการที่ออกแบบเพื่อเป็นต้นแบบในการดาเนินการอย่างเป็นรูปธรรม มีกิจกรรมที่เป็นรูปธรรม เกิดการลงทุนทั้งจากภาครัฐและภาคเอกชนและเกิดประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมต่อภาคประชาชน โดยจังหวัดเชียงใหม่ได้กาหนด โครงการต้นแบบและกาหนดพื้นที่ในการดาเนินโครงการอย่าง บูรณาการโดยอาศัยความร่วมมือจากทุกภาค ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง โดยกาหนดโครงการนาร่องในการ ขับเคลื่อนออกเป็น 3 ด้านดังนี้ 1. โครงการนาร่องด้าน โครงการต้นแบบเมืองอัจฉริยะ (Smart City Sandbox) • โครงการ CMU Smart City • ขอบเขตพื้นที่โครงการ ขอบเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และพื้นที่ประกอบ 2. โครงการนาร่องด้านความอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อม (Smart Environment) และความ อัจฉริยะด้านการอยู่อาศัย (Smart Living) • โครงการ Smart Nimman • กาหนดขอบเขตพื้นที่โครงการบริเวณพื้นที่ย่านนิมมานเหมินทร์โดยมีรายละเอียดด้าน ทิศเหนือ จรดถนนห้วยแก้ว ด้านทิศใต้จรดถนนสุเทพ ด้านทิศตะวันออกจรดถนนศิริมัง คลาจารย์ด้านทิศตะวันตกจรด ถนนสมโภชน์เชียงใหม่ 700 ปี 3. โครงการนาร่องความอัจฉริยะด้านสิ่งแวดล้อม (Smart Environment) และความอัจฉริยะ ด้านการเดินทาง (Smart Mobility) • โครงการจัดตั้งและดาเนินการเครือข่ายผู้ให้บริการด้านการเดินทางอัจฉริยะในจังหวัด เชียงใหม่ (Smart Mobility Alliance network) • กาหนดขอบเขตพื้นที่การดาเนินโครงการบริเวณพื้นที่เมืองของจังหวัดเชียงใหม่ โดย กาหนดพื้นที่ ด้านในขอบเขตถนนวงแหวนรอบ 3 เชื่อมต่อกับสมโภชน์เชียงใหม่ 700 ปี
  • 10. 10 วิธีดาเนินงานแนวทางการดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับเมืองอัจฉริยะ 2.ศึกษาข้อดีและข้อเสียของการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ 3.นาข้อมูลที่ได้มาประมวลผลและคาดการณ์ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นจากการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ 4.สรุปผลและเผยแพร่ข้อมูล เครื่องมือและอุปกรณ์ - อินเทอร์เน็ต - คอมพิวเตอร์ - ซอฟต์แวร์ที่ใช้ประมวลผล งบประมาณ - ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลำดับที่ ขั้นตอน สัปดำห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อ โครงงาน ธัญลักษณ์ 2 ศึกษาและ ค้นคว้าข้อมูล ธัญลักษณ์ 3 จัดทาโครงร่าง งาน ธัญลักษณ์
  • 11. 11 4 ปฏิบัติการ สร้างโครงงาน ธัญลักษณ์ 5 ปรับปรุง ทดสอบ ธัญลักษณ์ 6 การทา เอกสารรายงาน ธัญลักษณ์ 7 ประเมินผล งาน ธัญลักษณ์ 8 นาเสนอ โครงงาน ธัญลักษณ์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. เพื่อให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคมให้ยั่งยืนและยาวนาน 2. ได้รับความรู้เกี่ยวกับเมืองอัจฉริยะ 3. สามารถนาความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่และพัฒนาให้โครงการเมืองอัจฉริยะดังกล่าวเกิด ประโยชน์สูงสุดตามวัตถุประสงค์และบุคคลโดยทั่วไป สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย เชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. สารระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2. สารระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี แหล่งอ้างอิง(เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นา มาใช้การทาโครงงาน) แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ จากเว็บไซต์ : http://www.chiangmai.go.th/managing/public/D2/2D11Sep2019090618.pdf
  • 12. 12 Smart City เชียงใหม่ ไอทีด้วยวิถีล้านนา จากเว็บไซต์ : http://www.digitalagemag.com/smart-city สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ชูแผน Smart City เน้นพัฒนาเกษตร การท่องเที่ยวและแก้ปัญหา หมอกควัน จากเว็บไซต์ : https://www.techhub.in.th/depa-smart-city-plan/