SlideShare a Scribd company logo
กลุ่มสุภาวดี ชุ่มนาค
จัดทาโดย
นางสาว สุภาวดี ชุ่มนาค ม.6/2 เลขที่ 9
นางสาว พัทธนันท์ คุณชะ ม.6/2 เลขที่ 17
นางสาว ธัญญาเรศ บุญรอด ม.6/2 เลขที่ 12
เสนอ
อาจารย์ วรรณา ไชยศรี
 วิกฤตการณ์เกี่ยวกับที่ดินและทรัพยากรดินจากความจากัดของที่ดิน การเปลี่ยนแปลงสภาพ
การใช้ที่ดิน การใช้ที่ดินไม่เหมาะสมกับสมรรถนะของที่ดิน และการจัดระเบียบการใช้ที่ดินที่ไม่
ถูกต้องของผู้ครองที่ดินสาเหตุต่างๆ เหล่านี้ล้วนเป็นวิกฤตการณ์เกี่ยวกับที่ดิน และจะเป็น
ปัญหาของโลกมากยิ่งขึ้นหากไม่มีมาตรการแก้ไขที่ถูกต้องเหมาะสม โดยวิกฤตการณ์เกี่ยวกับ
ที่ดินของประเทศโลก มีดังนี้
 ในขณะที่จานวนประชากรของประเทศเพิ่มขึ้น การพัฒนาแต่ละประเทศทาให้ชุมชน
เมืองขยายตัวเข้าไปในพื้นที่เกษตรกรรม เช่น การขยายของกรุงเทพ ทาให้บริเวณ
พื้นที่ฝั่งธนบุรีที่เคยเป็นสวนผลไม้และนาข้าวหมดไป เป็นต้น และในส่วนของการ
พัฒนาเศรษฐกิจที่มีการเร่งเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรเช่น ข้าว ยางพารา อ้อย มัน
สาปะหลัง และที่อุตสาหกรรมต่างๆ เป็นต้น ทาให้มีการบุกรุกพื้นที่ป่า ความต้องการ
ที่ดินทั้งใช้ ที่อยู่อาศัย ชุมชน และใช้เพื่อการเพาะปลูกจึงสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่
ที่ดินหรือพื้นที่ของหลายๆ ประเทศไม่สามารถเพิ่มขึ้นได้
 ปริมาณพื้นที่ทางการเกษตรของแต่ละประเทศที่เพิ่มมากขึ้นโดยการเปลี่ยนสภาพที่ดิน
ที่เป็นป่าไม้ จึงเป็นไปได้ว่าพื้นที่ทาการเกษตรที่เพิ่มขึ้นนั้น เป็นบุกรุกเข้าไปในพื้นที่
ป่าไม้ ล้วนนามาเป็นพื้นที่ทาสวน ทาไร่ และทานาเป็นส่วนมาก ในส่วนของที่ดินที่ใช้
เป็นชุมชน การเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ที่ดินดังกล่าวทาให้พื้นที่ป่าไม้และพื้นที่ว่าง
เปล่าลดลง ซึ่งจะมีผลกระทบต่อระบบนิเวศและวิกฤตการณ์โลกร้อนที่อยู่ในปัจจุบัน
 ภัยธรรมชาติที่มักเกิดขึ้นและก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของ
ประชาชน ที่สาคัญ เช่น แผ่นดินทรุดตัว บริเวณพื้นที่ที่มีการใช้นาบาดาลมาก เช่น
พื้นที่กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี และปทุมธานี ได้มีการนาน้าบาดาล
ขึ้นมาใช้อย่างต่อเนื่องมากว่า 30 ปีโดย เฉพาะพื้นที่บริเวณย่านรามคาแหง บางนา
และในจังหวัดสมุทรปราการ แผ่นดินได้ทรุดตัวลงแล้วกว่า 1 เมตร และยังทรุดตัวลง
อย่างต่อเนื่อง จนทาให้ภาครัฐต้องกาหนดมาตรการห้ามขุดเจาะน้าบาดาลขึ้นมาใช้
และให้ใช้น้าผิวดิน (น้าในแม่น้า) มาทาประปาให้บริการเพิ่มมากขึ้น
ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการพังทลายหรือการสูญเสียความอุดมสมบูรณ์ของหน้าดินนั้น จะทาให้เกิดปัญหาอื่น ๆ
ติดตามมา เช่น ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ทาให้เกษตรกรต้องซื้อปุ๋ยเคมีมาบารุงดินเสียค่าใช้จ่ายมหาศาล ตะกอนดิน
ที่ถูกชะล้างทาให้แม่น้าและปากแม่น้าตื้นเขิน ต้องขุดลอกใช้เงินเป็นจานวนมาก เราจึงควรป้องกันไม่ให้ดินพังทลาย
หรือเสื่อมโทรมซึ่งสามารถกระทาได้ด้วยการอนุรักษ์ดิน
1.การใช้ที่ดินอย่างถูกต้องเหมาะสม การปลูกพืชควรต้องคานึงถึงชนิดของพืชที่เหมาะสมกับคุณสมบัติของดิน
การปลูกพืชและการไถพรวนตามแนวระดับเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของหน้าดิน นอกจากนี้ควรจะสงวนรักษา
ที่ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ไว้ใช้ในกิจการอื่นๆ เช่น โรงงานอุตสาหกรรม ที่อยู่อาศัย เพราะที่ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์
และเหมาะสมในการเพาะปลูกมีอยู่จานวนน้อย
2. การปรับปรุงบารุงดิน การเพิ่มธาตุอาหารให้แก่ดิน เช่น การใส่ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยคอก การปลูกพืชตระกูลถั่ว การใส่
ปูนขาวในดินที่เป็นกรด การแก้ไขพื้นที่ดินเค็มด้วยการระบายน้าเข้าที่ดิน เป็นต้น
3. การป้องกันการเสื่อมโทรมของดิน ได้แก่ การปลูกพืชคลุมดิน การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชบังลม การไถ
พรวนตามแนวระดับ การทาคันดินป้องกันการไหลชะล้างหน้าดิน รวมทั้งการไม่เผาป่าหรือการทาไร่เลื่อนลอย
4. การให้ความชุ่มชื้นแก่ดิน การระบายน้าในดินที่มีน้าขังออกการจัดส่งเข้าสู่ที่ดินและการใช้วัสดุ เช่น หญ้าหรือ
ฟางคลุมหน้าดินจะช่วยให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์
Supavadee  chumnak

More Related Content

More from วรรณา ไชยศรี

ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์วรรณา ไชยศรี
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1วรรณา ไชยศรี
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วรรณา ไชยศรี
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1วรรณา ไชยศรี
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1วรรณา ไชยศรี
 
การอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติ
การอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติการอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติ
การอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติวรรณา ไชยศรี
 

More from วรรณา ไชยศรี (10)

ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
 
Getting started
Getting startedGetting started
Getting started
 
ยุคหิน
ยุคหินยุคหิน
ยุคหิน
 
การเสด็จประพาศต้น
การเสด็จประพาศต้นการเสด็จประพาศต้น
การเสด็จประพาศต้น
 
Earth2
Earth2Earth2
Earth2
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
 
การอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติ
การอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติการอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติ
การอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติ
 

Supavadee chumnak

  • 1. กลุ่มสุภาวดี ชุ่มนาค จัดทาโดย นางสาว สุภาวดี ชุ่มนาค ม.6/2 เลขที่ 9 นางสาว พัทธนันท์ คุณชะ ม.6/2 เลขที่ 17 นางสาว ธัญญาเรศ บุญรอด ม.6/2 เลขที่ 12 เสนอ อาจารย์ วรรณา ไชยศรี
  • 2.  วิกฤตการณ์เกี่ยวกับที่ดินและทรัพยากรดินจากความจากัดของที่ดิน การเปลี่ยนแปลงสภาพ การใช้ที่ดิน การใช้ที่ดินไม่เหมาะสมกับสมรรถนะของที่ดิน และการจัดระเบียบการใช้ที่ดินที่ไม่ ถูกต้องของผู้ครองที่ดินสาเหตุต่างๆ เหล่านี้ล้วนเป็นวิกฤตการณ์เกี่ยวกับที่ดิน และจะเป็น ปัญหาของโลกมากยิ่งขึ้นหากไม่มีมาตรการแก้ไขที่ถูกต้องเหมาะสม โดยวิกฤตการณ์เกี่ยวกับ ที่ดินของประเทศโลก มีดังนี้
  • 3.  ในขณะที่จานวนประชากรของประเทศเพิ่มขึ้น การพัฒนาแต่ละประเทศทาให้ชุมชน เมืองขยายตัวเข้าไปในพื้นที่เกษตรกรรม เช่น การขยายของกรุงเทพ ทาให้บริเวณ พื้นที่ฝั่งธนบุรีที่เคยเป็นสวนผลไม้และนาข้าวหมดไป เป็นต้น และในส่วนของการ พัฒนาเศรษฐกิจที่มีการเร่งเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรเช่น ข้าว ยางพารา อ้อย มัน สาปะหลัง และที่อุตสาหกรรมต่างๆ เป็นต้น ทาให้มีการบุกรุกพื้นที่ป่า ความต้องการ ที่ดินทั้งใช้ ที่อยู่อาศัย ชุมชน และใช้เพื่อการเพาะปลูกจึงสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่ ที่ดินหรือพื้นที่ของหลายๆ ประเทศไม่สามารถเพิ่มขึ้นได้
  • 4.
  • 5.  ปริมาณพื้นที่ทางการเกษตรของแต่ละประเทศที่เพิ่มมากขึ้นโดยการเปลี่ยนสภาพที่ดิน ที่เป็นป่าไม้ จึงเป็นไปได้ว่าพื้นที่ทาการเกษตรที่เพิ่มขึ้นนั้น เป็นบุกรุกเข้าไปในพื้นที่ ป่าไม้ ล้วนนามาเป็นพื้นที่ทาสวน ทาไร่ และทานาเป็นส่วนมาก ในส่วนของที่ดินที่ใช้ เป็นชุมชน การเปลี่ยนแปลงสภาพการใช้ที่ดินดังกล่าวทาให้พื้นที่ป่าไม้และพื้นที่ว่าง เปล่าลดลง ซึ่งจะมีผลกระทบต่อระบบนิเวศและวิกฤตการณ์โลกร้อนที่อยู่ในปัจจุบัน
  • 6.
  • 7.  ภัยธรรมชาติที่มักเกิดขึ้นและก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของ ประชาชน ที่สาคัญ เช่น แผ่นดินทรุดตัว บริเวณพื้นที่ที่มีการใช้นาบาดาลมาก เช่น พื้นที่กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี และปทุมธานี ได้มีการนาน้าบาดาล ขึ้นมาใช้อย่างต่อเนื่องมากว่า 30 ปีโดย เฉพาะพื้นที่บริเวณย่านรามคาแหง บางนา และในจังหวัดสมุทรปราการ แผ่นดินได้ทรุดตัวลงแล้วกว่า 1 เมตร และยังทรุดตัวลง อย่างต่อเนื่อง จนทาให้ภาครัฐต้องกาหนดมาตรการห้ามขุดเจาะน้าบาดาลขึ้นมาใช้ และให้ใช้น้าผิวดิน (น้าในแม่น้า) มาทาประปาให้บริการเพิ่มมากขึ้น
  • 8.
  • 9. ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการพังทลายหรือการสูญเสียความอุดมสมบูรณ์ของหน้าดินนั้น จะทาให้เกิดปัญหาอื่น ๆ ติดตามมา เช่น ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ทาให้เกษตรกรต้องซื้อปุ๋ยเคมีมาบารุงดินเสียค่าใช้จ่ายมหาศาล ตะกอนดิน ที่ถูกชะล้างทาให้แม่น้าและปากแม่น้าตื้นเขิน ต้องขุดลอกใช้เงินเป็นจานวนมาก เราจึงควรป้องกันไม่ให้ดินพังทลาย หรือเสื่อมโทรมซึ่งสามารถกระทาได้ด้วยการอนุรักษ์ดิน 1.การใช้ที่ดินอย่างถูกต้องเหมาะสม การปลูกพืชควรต้องคานึงถึงชนิดของพืชที่เหมาะสมกับคุณสมบัติของดิน การปลูกพืชและการไถพรวนตามแนวระดับเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของหน้าดิน นอกจากนี้ควรจะสงวนรักษา ที่ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ไว้ใช้ในกิจการอื่นๆ เช่น โรงงานอุตสาหกรรม ที่อยู่อาศัย เพราะที่ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ และเหมาะสมในการเพาะปลูกมีอยู่จานวนน้อย 2. การปรับปรุงบารุงดิน การเพิ่มธาตุอาหารให้แก่ดิน เช่น การใส่ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยคอก การปลูกพืชตระกูลถั่ว การใส่ ปูนขาวในดินที่เป็นกรด การแก้ไขพื้นที่ดินเค็มด้วยการระบายน้าเข้าที่ดิน เป็นต้น 3. การป้องกันการเสื่อมโทรมของดิน ได้แก่ การปลูกพืชคลุมดิน การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชบังลม การไถ พรวนตามแนวระดับ การทาคันดินป้องกันการไหลชะล้างหน้าดิน รวมทั้งการไม่เผาป่าหรือการทาไร่เลื่อนลอย 4. การให้ความชุ่มชื้นแก่ดิน การระบายน้าในดินที่มีน้าขังออกการจัดส่งเข้าสู่ที่ดินและการใช้วัสดุ เช่น หญ้าหรือ ฟางคลุมหน้าดินจะช่วยให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์