SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
มีเกลันเจโล หรือชื่อเต็มว่า..
มีเกลันเจโล ดี โลโดวีโก บัวนาร์โรตี ซีโมนี
เกิดเมื่อ 6 มีนาคม ค.ศ. 1475
ตายเมื่อ18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1564
เป็น จิตรกร สถาปนิกและ ประติมากร ชื่อดัง
เกิดที่ เมืองฟลอเรนซ์ ชาวอิตาลี
Michelangelo di Lodovico
Buonarroti Simoni
ศิลปินที่เข้าถึง 3 ศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ของโลก เขาไม่เป็นเพียงผู้ที่เข้าถึงแต่เพียงศาสตร์ด้านวิจิตรศิลป์ แต่เขายังเข้าถึงความ
ยิ่งใหญ่ของสถาปัตยกรรม และประติมากรรมอีกด้วย เกิดเมื่อวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ. 1475 และเติบโตที่เมืองฟลอเรนซ์
ภายหลังเป็นผู้สร้างประติมากรรมหินอ่อนชื่อกระฉ่อนโลกนามว่า เดวิด (David)
หลังจากที่ไปอยู่ที่กรุงโรมเมื่ออายุ 21 ปี และใช้ชีวิตอยู่ที่นั่นถึง 5 ปี มีเกลันเจโลสร้างประติมากรรมรูปเดวิด ตอนอายุ 26
ปี จากหินอ่อนก้อนมหึมาที่ถูกทิ้งไว้กลางเมืองฟลอเรนซ์เป็นเวลาหลายปี จึงกลายเป็นที่ฮือฮาของชาวเมือง ด้วยเหตุผล
ที่ว่า ไม่มีใครกล้าพอที่จะแตะต้องมันนั่นเอง ความสาเร็จหลังจากงานชิ้นนี้ทาให้ชื่อเสียงของเขาโด่งดังไปทั่วอิตาลี มีเก
ลันเจโลเดิมทีเป็นคนที่เกลียด เลโอนาโด ดาวินชี ถึงแม้ว่าทั้งคู่จะมีอายุห่างกันถึง 23 ปี และไม่ค่อยได้พบกันบ่อยนัก
(คล้ายกับ "การที่เสือสองตัวอยู่ในถ้าเดียวกันไม่ได้") ในช่วงนี้(ค.ศ. 1497 - ค.ศ. 1500) เขาก็ได้สร้างประติมากรรมหิน
อ่อนอีกชิ้นหนึ่งที่มีชื่อว่า ปีเอตะ (Pietà) ซึ่งปัจจุบันอยู่ในวิหารเซนต์ปีเตอร์ (St. Peter's Basilica)
ที่กรุงโรม
ประวัติ ของท่าน แบบกระชับและเข้าใจง่าย
ตอนอายุได้ 30 ปี เขาได้ถูกเชิญให้กลับมาที่กรุงโรม เพื่อออกแบบหลุมฝังศพให้กับ พระสันตะปาปาจูเลียส ที่ 2 ซึ่งใช้
เวลาประมาณ 40 ปี หลังจากแก้หลายครั้งหลายครา จนมาสาเร็จในปี ค.ศ. 1545 ต่อมาในปี ค.ศ. 1546 เขาเป็น
สถาปนิกคนสาคัญในการสร้างมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ที่กรุงโรม ที่มีความยิ่งใหญ่และงดงามเป็นอย่างมาก ซึ่งถือเป็น
สถาปัตยกรรมชิ้นเอกของโลก โดยเฉพาะส่วนที่เป็นโดม
เขาใช้ชีวิตในบั้นปลายอยู่ในกรุงโรม ตลอด 30 ปี ช่วงนี้นั้นเองที่เขาเขียนภาพระดับโลกไว้มากมาย โดยเฉพาะ The
Last Judgement (Last Judgment) ซึ่งเขาใช้เวลาในการเขียนภาพขนาดยักษ์นี้นานถึง 6 ปี
มีเกลันเจโล บัวนาร์โรตี เสียชีวิตลงเมื่ออายุได้ 90 ปี ซึ่งมีคากล่าวจาก พระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 ว่า "ทรงยินดีบั่นทอน
ชีวิตของท่านลง เพื่อแลกกับชีวิตของ มิเกลันเจโล ให้ยืนยาวออกไปอีก"
ไมเคิลแอนเจโล กับ อุดมคติในการสร้างงาน
ศิลปกรรมที่สร้างขึ้นในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 และคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีศูนย์กลางครั้งแรกที่เมืองฟลอเรนซ์ ต่อมาได้
ย้ายมาที่กรุงโรม ผลงานส่วนมากสร้างขึ้นตามแนวคตินิยมในลัทธิปรัชญานีโอ-เพลโต มีจุดมุ่งหมายสูงสุดในการ
แสดงออกอยู่ที่ให้ความสาคัญของความเป็นมนุษย์ ตามอุดมการณ์ของลัทธิมนุษย์ธรรมนิยม ให้ความสาคัญของปัจเจก
ชนทั้งทางด้านเสรีภาพในการคิดและการกระทา มิได้มุ่งอยู่แต่ในเรื่องของความเป็นจริงเท่าที่สภาพชีวิตทั่วไปเผชิญอยู่
หากแต่คานึงถึงความจริงแท้ในมโนคติ ตามหลักคิดของเพลโตส่วนในปรัชญาที่เกี่ยวข้องกับทางศิลปะโดยตรงของเพลโต
นั้นเชื่อว่า ความงามที่เราสัมผัสได้นั้นเป็นเพราะความงามนั้นได้สะท้อนจาลองมาจากความงามอันสูงสุด เป็นความงาม
มาตรฐานที่มีอยู่เพียงในมโนคติ ซึ่งอยู่นอกเหนือการรับรู้ด้วยประสาทสัมผัส เป็นความงามสากลอันเป็นแม่แบบแห่งความ
งามทั้งหลายที่ปรากฏอยู่ในโลก ถ้าปราศจากความงามสากลนี้แล้ว ย่อมไม่มีความงามที่เราสามารถสัมผัสได้
ไมเคิลแอนเจโลได้นิพนธ์บทกวีไว้บทหนึ่งความว่า....
“ ความงามทุกอย่างที่มนุษย์ผู้มีการรับรู้เห็นได้ในโลกนี้ ย่อมมีความคล้ายคลึง
กับสิ่งที่มีแหล่งกาเนิดจากสวรรค์ ซึ่งเราทั้งหลายได้มาจากที่นั้น ”
เมืองฟลอเรนซ์ ศูนย์กลางสาคัญของวงการศิลปะ
เป็นเหตุที่ ทาให้ ไมเคิลแอนเจโลเล กับ เลโอนาร์โด มาเจอกัน
สถาบันศิลปะที่เจ้าชายโลเร็นโซให้การอุปถัมภ์อย่างดีนั้น ได้ทุ่มเทความมานะพยายามศึกษาค้นคว้าและ
สนับสนุนให้สร้างงานตามอุดมคติ นีโอ-เพลโตนิค อย่างเต็มที่ โดยนารูปแบบจากศิลปกรรมกรีกและโรมันมา
ศึกษาเป็นแม่บท ทาให้ฟลอเรนซ์เป็นศูนย์กลางสาคัญของวงการศิลปะในเวลาอย่างรวดเร็ว ศิลปินฟลอเรนซ์ต่าง
มีงานทาอย่างล้นมือ ในบางโอกาสอาจไปมีหน้าที่เป็นผู้กากับเวทีการแสดงอีกด้วย
ไมเคิลแอนเจโลเล กับ เลโอนาร์โด เป็นศัตรูกัน
ในช่วงระยะเวลานี้เป็นระยะเวลาที่เลโอนาร์โดลี้ภัยการเมืองมาพานักอยู่ในฟลอเรนซ์ ศิลปินเอกทั้งสองต่าง
เป็นผู้มีชื่อเสียงและความสามารถสูงด้วยกัน ต่างฝ่ายต่างว่าตนเองมีความสามารถสูงกว่า ทาให้เกิดมีการ
ปะทะกันด้วยคารมบ่อยครั้ง ทางคณะกรรมการปกครองเมืองเห็นเป็นโอกาสอันดีที่จะเชิญให้ทั้งเลโอนาร์โด
กับไมเคิลแอนเจโลมาวาดภาพประดับบนฝาผนังแข่งกัน โดยกาหนดให้เอาฝาผนังในศาลากลางแห่งใหม่ที่
พระราชวังเวคดิโอเป็นสนามประลองฝีมือ เนื้อหาที่จะใช้วาดกาหนดให้เป็นเรื่องของสงคราม เลโอนาร์โด
เลือกเอาเรื่องราว “ การรบที่แอนกิอารี่ ” ส่วนไมเคิลแอนเจโลเลือกเอาเรื่องราว “ การรบที่คาสชินา ” ซึ่งเขาได้
ลงมือร่างภาพ ( Cartoon ) ในฤดูหนาวของปี ค.ศ. 1504 แต่อย่างไรก็ตามศิลปินเอกทั้งสองท่านต่างก็
ทางานไม่เสร็จด้วยกันทั้งคู่ ต้องมีอันแยกย้ายไปทางานอื่น เลโอนาร์โดกลับไปรับราชการในราชสานักมิ
ลาน ไมเคิลแอนเจโลต้องรีบเดินทางไปกรุงโรมเพื่อทางานให้สันตะปาปา
เสือสองตัวอยู่ถ้าเดียวกันไม่ได้ อิอิ
ความต่างกันของสุดยอดศิลปิน
• เลโอนาร์โดมุ่งความสนใจแสวงหาความจริงและความงามในมโนคติทางวิทยาศาสตร์ ส่วนไมเคิลแอน
เจโลค้นหาความจริงและความงามในแบบฉบับลัทธิปรัชญาของเพลโตอย่างสมบูรณ์แบบ นาทั้งหมดมา
ปรุงแต่งรวมแสดงออกเป็นพลังอานาจของความเป็นมนุษย์ความงามในความหมายกว้างมีอยู่สองแบบ
ด้วยกัน กล่าวคือ เป็นความงามตามธรรมชาติกับความงามที่ได้รับการปรุงแต่งกลั่นกรอง ไมเคิลแอนเจโล
ได้ยึดทั้งสองแบบนอกจากนี้ยังได้เพิ่มเติมสอดแทรกความงามทางศีลธรรมเข้าไปเพราะเขาเชื่อว่าความงาม
เป็นความดีที่ยิ่งใหญ่ จากแนวคิดนี้จะปรากฏให้เห็นอย่างชัดเจนในภาพ “การตัดสินครั้งสุดท้าย” ที่ผนังใน
หอสวดมนซิสติเน่ ซึ่งแฝกความงามในธรรมชาติร่างกายของมนุษย์และความงามทางศีลธรรมตามหลัก
คริสต์ศาสนาผสมเข้ากับลัทธิมนุษยธรรมอย่างลึกซึ้ง
ไมเคิลแอนเจโล กับการเป็นคนที่บริสุทธ์เค้าไม่ต่างอะไรกับนักบุญที่
เคยมีชีวิตอยู่ในเวลานั้น
ไมเคิลแอนเจโลถืองานวาดเส้น ( Drawing ) นอกจากจะมีความสาคัญที่เส้นได้แสดงลีลาแล้ว แสงเงา
และความมีเอกภาพของรูปทรงก็มีความสาคัญไม่ยิ่งหย่อนกว่า จากการที่เขามีความคิดเช่นนี้อาจเป็นเพราะมี
ความหลงใหลในงานประติมากรรม จนกระทั่งนาหลักสาคัญของประติมากรรมสดใส่ในผลงานศิลปะทุก
อย่าง ส่วนการประติมากรรมตามทัศนะของไมเคิลแอนเจโลนั้น ถือว่ามีเรื่องราวและคุณค่าพิเศษเฉพาะ
ตน มีสาระสาคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและวัสดุ ไมเคิลแอนเจโลดูจะเชื่อมั่นในอานาจภายในอันเร้นลับ จนกระทั่ง
สามารถเสกบันดาลสิ่งต่างๆให้มีอิทธิฤทธิ์ได้ เกล่าวว่า “การเลียนแบบภาพอันน่าเคารพของพระเจ้า ศิลปินไม่
เพียงแต่เป็นครูหรือผู้แนะนาที่ดีเท่านั้น หากแต่พวกเขาจาเป็นต้องมีชีวิตที่ดีหรือแม้แต่จะต้องทาตนเป็น
นักบุญ เพื่อวิญญาณอันศักดิ์สิทธิ์จะได้ดลบันดาลให้พวกเขาเกิดพุทธิปัญญา” ด้วยเหตุนี้จะเห็นได้ว่า ตลอด
ชั่วชีวิตอันยาวนานของไมเคิลแอนเจโล เขาได้ดาเนินชีวิตด้วยควาสะอาดบริสุทธิ์ไม่มีเรื่องผิดใดๆให้ด่าง
พร้อย เขายินดีที่ทุ่มเทพลังทั้งหมดในผลงาน ปฏิเสธที่จะมีผู้ช่วยหรือลูกมือในการทางาน เขายอมวาดภาพ
ขนาดมหึมาเพียงคนเดียวอย่างโดดเดี่ยว สลักหินอ่อนด้วยค้อนและสิ่วอย่างเดียวดาย เขาทางานด้วยสมาธิ
อันแน่วแน่ดุจนักพรตผู้มีตะบะอันแรงกล้า
วิเคราะห์ทัศนศิลป์
• ประติมากรรมหินสลัก “ปิเอต้า” นับเป็นตัวอย่างที่ดีอีกชิ้นหนึ่งได้รวมเอาหลักการในความงานตามหลักปรัชญาลัทธิ
นีโอ-เพลนิคกับคริสต์ศาสนาเข้าไว้ด้วยกันอย่างเหมาะสม โดยมีเรื่องราวเนื้อหาจากพระคัมภีร์ ส่วนกรรมวิธีและ
การแสดงออกถึงความงามเป็นไปตามแบบศิลปะกรีกและโรมัน เช่นเดียวกับภาพจิตรกรรมเพดานในหอสวดมนต์ซิ
สติเน่ เขาได้สร้างภาพบุคคลสาคัญของคริสเตียนเคียงข้างกับบุคคลสาคัญในตานานเทพนิยายกรีกอย่างไม่เคอะ
เขิน ภาพ “การตัดสินครั้งสุดท้าย” บนผนังในสถานที่แห่งเดียวกัน เขาได้วาดภาพคนเปลือยไว้อย่างมากมาย แสดง
ความงามตามอุดมคติของกรีกและโรมัน นอกจากจิตรกรรมและประติมากรรมที่ได้กล่าวมาแล้ว ในสถาปัตยกรรม
ที่เขาออกแบก็มีอยู่อย่างสมบูรณ์เช่นกัน นับตั้งแต่โดมของโบสถ์เซนต์ปีเตอร์ เสาหินขนาดยักษ์ที่รองรับน้าหนัก
มหาศาลของโดม ภายในโดมเมื่อมองขึ้นไปจะเห็นโครงสร้างที่ทาเป็นวงกลมสลับซับซ้อนดุจวงแหวนเรียงรายเป็น
ชั้นๆ แต่ละชั้นเปรียบเสมือนชั้นของสรวงสวรรค์ ไมเคิลแอนเจโลได้นาสวรรค์ในคตินิยมของคริสต์ศาสนามาแสดง
กับอาคารสาคัญทางศาสนา เพราะครั้งหนึ่งในอดีต อาดัมและอีฟชายหญิงคู่แรกของโลกได้ประพฤติบาปจึงได้ถูก
ขับออกจากสวรรค์ และมนุษย์ปัจจุบันได้สูญเสียมันไปอย่างสิ้นเชิงแล้ว แต่ทุกคนก็ยังมีความใฝ่ฝันที่จะกลับคืน
สถานที่นี้อีก บนช่องสุดของโดม เขาได้ทาช่องปล่อยให้แสงสว่างเข้ามา เปรียบประดุจดังแสงสว่างจากการประทาน
ของพระผู้เป็นเจ้า ซึ่งพระองค์ยังทรงมีพระกรุณาเมตตาปราณีต่อมวลมนุษย์ อยู่ตลอดกาล
รูปที่เลือก มาวิเคราะห์
Fresco เป็นวิธีการวาดรูปแบบหนึ่งที่ศิลปินชาวอิตา
เลียนในยุคเรอเนซองส์ชอบใช้ ศิลปินจะวาดภาพและลง
สีบนผิวปูนที่ยังเปียกอยู่ทาให้เนื้อสีสามารถซึมเข้าไปรวม
เป็นเนื้อเดียวกับปูน ด้วยวิธีการเช่นนี้จะทาให้สีสันของ
ภาพติดทนนานและไม่หลุดร่อนออกมา หลายๆ ภาพมี
อายุมากกว่าสี่ห้าร้อยปีแต่สียังสดใดอยู่ ผิดกับภาพ
จิตรกรรมฝาผนังของไทยที่จะลงสีบนพื้นปูนที่แห้งแล้ว สี
จะติดไม่ทนและโอกาสที่จะหลุดร่อนมีมาก
The Last Judgment
ค.ศ. 1536 -- ค.ศ. 1541
ปีเอตะ 1498–1499
ภาพแกะสลัก
หินอ่อน
• 1 เป็นภาพที่ พระแม่มารีย์ ทรงเป็นทุกข์โศกเศร้าด้วยที่ พระเยซู ซึ้งได้ถูกทรมาณบนไม้กางเขน แล้วทรงลงมาประทับอยู่ใน
อ้อมกอดของพระแม่มารีย์
• 2 เป็นงานแกะสลักที่ใช้ หินอ่อนบริสุทธ์ 100 % ตัวรูปทรงโดยรวมที่ใช้เกิดจากการตัดทอนรูปทรงเหลี่ยมต่างๆ ไปเลื่อยๆ จน
เป็นทรงโค้งเว้าที่ดูงดงามและนิ่มนวล
ถ้ามองจากรูปร่าง โดยรวมจะใช้รูปสามเหลียม เป็นการวางภาพที่ให้ความมั่นคงหรือเรียกว่า การจัดองค์ประกอบอยู่ในหลักของ
ทรงพีระมิดฐานสามเหลี่ยม ซึ่งสามเหลี่ยมก็มีความสาคัญกับศาสนาคริสต์นิกายนี้มากๆเลยเช่นกันรวมไปถึงพระตรีเอกภาพด้วย
ที่เชื่อว่า มีพระบิดา พระบุตรและพระจิตร เป็นองค์เดียวกัน เรียกว่าพระตรีเอกภาพ นั้นเอง แต่ยังพลาดอยู่อย่างหนึ่งคือลาตัวของ
พระแม่มารย์มีความยาวผิดปกติ(ตัวใหญ่มาก)ถ้าให้รูปปั้นชิ้นนี้มีชีวิต เมื่อยืนขึ้นจะกลายเป็นคนที่ไม่สมส่วนโดยปริยาย
• 3 อารมณ์ของภาพ สื่อได้ถึงความเศร้าโศกแสนทรมาณที่มีมากกว่าผู้เป็นลูกซึ่งเพิ่งถูกตรึงกางเขนเสร็จและได้ลงมาประทับอยู่
ในอ้อมกอดของพระแม่มารีย์ แทนที่จะได้อยู่กับลูกดูลูกที่มีอนาคตที่สดใส่แต่กลับได้ลูกชายที่สิ้นชีพแล้วและยังต้องทนดูพระ
มหาทรมาน(ดูลูกของตนถูกทรมาน)ของพระเยซู และสิ้นพระชนนม์ต่อหน้าของพระแม่มารีย์ รูปแกะสลักชิ้นนี้ยังแฝงไปด้วย
ความเข้มแข็งที่พระแม่มารีย์ต้องทนทุกข์ กับ สิ่งที่เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะว่า พระแม่มารีย์ไม่รู้ว่าพระเยซูจะต้องโดนตรึงกางเขน
และถูกทรมาน พระเยซูได้บอก ถึงอนาคตของท่านแล้วล่วงหน้ากับพระแม่มารีย์เมื่อพระเยซูยังมีชีวิตอยู่ เธอชั่งเป็นแม่ที่มี
ความอดทนและเข้มแข็งเสียจริง
วิเคราะห์

More Related Content

Featured

Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Featured (20)

AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 

มีเกลันเจโล หรือชื่อเต็มว่า

  • 1. มีเกลันเจโล หรือชื่อเต็มว่า.. มีเกลันเจโล ดี โลโดวีโก บัวนาร์โรตี ซีโมนี เกิดเมื่อ 6 มีนาคม ค.ศ. 1475 ตายเมื่อ18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1564 เป็น จิตรกร สถาปนิกและ ประติมากร ชื่อดัง เกิดที่ เมืองฟลอเรนซ์ ชาวอิตาลี Michelangelo di Lodovico Buonarroti Simoni
  • 2. ศิลปินที่เข้าถึง 3 ศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ของโลก เขาไม่เป็นเพียงผู้ที่เข้าถึงแต่เพียงศาสตร์ด้านวิจิตรศิลป์ แต่เขายังเข้าถึงความ ยิ่งใหญ่ของสถาปัตยกรรม และประติมากรรมอีกด้วย เกิดเมื่อวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ. 1475 และเติบโตที่เมืองฟลอเรนซ์ ภายหลังเป็นผู้สร้างประติมากรรมหินอ่อนชื่อกระฉ่อนโลกนามว่า เดวิด (David) หลังจากที่ไปอยู่ที่กรุงโรมเมื่ออายุ 21 ปี และใช้ชีวิตอยู่ที่นั่นถึง 5 ปี มีเกลันเจโลสร้างประติมากรรมรูปเดวิด ตอนอายุ 26 ปี จากหินอ่อนก้อนมหึมาที่ถูกทิ้งไว้กลางเมืองฟลอเรนซ์เป็นเวลาหลายปี จึงกลายเป็นที่ฮือฮาของชาวเมือง ด้วยเหตุผล ที่ว่า ไม่มีใครกล้าพอที่จะแตะต้องมันนั่นเอง ความสาเร็จหลังจากงานชิ้นนี้ทาให้ชื่อเสียงของเขาโด่งดังไปทั่วอิตาลี มีเก ลันเจโลเดิมทีเป็นคนที่เกลียด เลโอนาโด ดาวินชี ถึงแม้ว่าทั้งคู่จะมีอายุห่างกันถึง 23 ปี และไม่ค่อยได้พบกันบ่อยนัก (คล้ายกับ "การที่เสือสองตัวอยู่ในถ้าเดียวกันไม่ได้") ในช่วงนี้(ค.ศ. 1497 - ค.ศ. 1500) เขาก็ได้สร้างประติมากรรมหิน อ่อนอีกชิ้นหนึ่งที่มีชื่อว่า ปีเอตะ (Pietà) ซึ่งปัจจุบันอยู่ในวิหารเซนต์ปีเตอร์ (St. Peter's Basilica) ที่กรุงโรม ประวัติ ของท่าน แบบกระชับและเข้าใจง่าย
  • 3. ตอนอายุได้ 30 ปี เขาได้ถูกเชิญให้กลับมาที่กรุงโรม เพื่อออกแบบหลุมฝังศพให้กับ พระสันตะปาปาจูเลียส ที่ 2 ซึ่งใช้ เวลาประมาณ 40 ปี หลังจากแก้หลายครั้งหลายครา จนมาสาเร็จในปี ค.ศ. 1545 ต่อมาในปี ค.ศ. 1546 เขาเป็น สถาปนิกคนสาคัญในการสร้างมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ที่กรุงโรม ที่มีความยิ่งใหญ่และงดงามเป็นอย่างมาก ซึ่งถือเป็น สถาปัตยกรรมชิ้นเอกของโลก โดยเฉพาะส่วนที่เป็นโดม เขาใช้ชีวิตในบั้นปลายอยู่ในกรุงโรม ตลอด 30 ปี ช่วงนี้นั้นเองที่เขาเขียนภาพระดับโลกไว้มากมาย โดยเฉพาะ The Last Judgement (Last Judgment) ซึ่งเขาใช้เวลาในการเขียนภาพขนาดยักษ์นี้นานถึง 6 ปี มีเกลันเจโล บัวนาร์โรตี เสียชีวิตลงเมื่ออายุได้ 90 ปี ซึ่งมีคากล่าวจาก พระสันตะปาปาจูเลียสที่ 2 ว่า "ทรงยินดีบั่นทอน ชีวิตของท่านลง เพื่อแลกกับชีวิตของ มิเกลันเจโล ให้ยืนยาวออกไปอีก"
  • 4. ไมเคิลแอนเจโล กับ อุดมคติในการสร้างงาน ศิลปกรรมที่สร้างขึ้นในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 และคริสต์ศตวรรษที่ 16 มีศูนย์กลางครั้งแรกที่เมืองฟลอเรนซ์ ต่อมาได้ ย้ายมาที่กรุงโรม ผลงานส่วนมากสร้างขึ้นตามแนวคตินิยมในลัทธิปรัชญานีโอ-เพลโต มีจุดมุ่งหมายสูงสุดในการ แสดงออกอยู่ที่ให้ความสาคัญของความเป็นมนุษย์ ตามอุดมการณ์ของลัทธิมนุษย์ธรรมนิยม ให้ความสาคัญของปัจเจก ชนทั้งทางด้านเสรีภาพในการคิดและการกระทา มิได้มุ่งอยู่แต่ในเรื่องของความเป็นจริงเท่าที่สภาพชีวิตทั่วไปเผชิญอยู่ หากแต่คานึงถึงความจริงแท้ในมโนคติ ตามหลักคิดของเพลโตส่วนในปรัชญาที่เกี่ยวข้องกับทางศิลปะโดยตรงของเพลโต นั้นเชื่อว่า ความงามที่เราสัมผัสได้นั้นเป็นเพราะความงามนั้นได้สะท้อนจาลองมาจากความงามอันสูงสุด เป็นความงาม มาตรฐานที่มีอยู่เพียงในมโนคติ ซึ่งอยู่นอกเหนือการรับรู้ด้วยประสาทสัมผัส เป็นความงามสากลอันเป็นแม่แบบแห่งความ งามทั้งหลายที่ปรากฏอยู่ในโลก ถ้าปราศจากความงามสากลนี้แล้ว ย่อมไม่มีความงามที่เราสามารถสัมผัสได้
  • 6. เมืองฟลอเรนซ์ ศูนย์กลางสาคัญของวงการศิลปะ เป็นเหตุที่ ทาให้ ไมเคิลแอนเจโลเล กับ เลโอนาร์โด มาเจอกัน สถาบันศิลปะที่เจ้าชายโลเร็นโซให้การอุปถัมภ์อย่างดีนั้น ได้ทุ่มเทความมานะพยายามศึกษาค้นคว้าและ สนับสนุนให้สร้างงานตามอุดมคติ นีโอ-เพลโตนิค อย่างเต็มที่ โดยนารูปแบบจากศิลปกรรมกรีกและโรมันมา ศึกษาเป็นแม่บท ทาให้ฟลอเรนซ์เป็นศูนย์กลางสาคัญของวงการศิลปะในเวลาอย่างรวดเร็ว ศิลปินฟลอเรนซ์ต่าง มีงานทาอย่างล้นมือ ในบางโอกาสอาจไปมีหน้าที่เป็นผู้กากับเวทีการแสดงอีกด้วย
  • 7. ไมเคิลแอนเจโลเล กับ เลโอนาร์โด เป็นศัตรูกัน ในช่วงระยะเวลานี้เป็นระยะเวลาที่เลโอนาร์โดลี้ภัยการเมืองมาพานักอยู่ในฟลอเรนซ์ ศิลปินเอกทั้งสองต่าง เป็นผู้มีชื่อเสียงและความสามารถสูงด้วยกัน ต่างฝ่ายต่างว่าตนเองมีความสามารถสูงกว่า ทาให้เกิดมีการ ปะทะกันด้วยคารมบ่อยครั้ง ทางคณะกรรมการปกครองเมืองเห็นเป็นโอกาสอันดีที่จะเชิญให้ทั้งเลโอนาร์โด กับไมเคิลแอนเจโลมาวาดภาพประดับบนฝาผนังแข่งกัน โดยกาหนดให้เอาฝาผนังในศาลากลางแห่งใหม่ที่ พระราชวังเวคดิโอเป็นสนามประลองฝีมือ เนื้อหาที่จะใช้วาดกาหนดให้เป็นเรื่องของสงคราม เลโอนาร์โด เลือกเอาเรื่องราว “ การรบที่แอนกิอารี่ ” ส่วนไมเคิลแอนเจโลเลือกเอาเรื่องราว “ การรบที่คาสชินา ” ซึ่งเขาได้ ลงมือร่างภาพ ( Cartoon ) ในฤดูหนาวของปี ค.ศ. 1504 แต่อย่างไรก็ตามศิลปินเอกทั้งสองท่านต่างก็ ทางานไม่เสร็จด้วยกันทั้งคู่ ต้องมีอันแยกย้ายไปทางานอื่น เลโอนาร์โดกลับไปรับราชการในราชสานักมิ ลาน ไมเคิลแอนเจโลต้องรีบเดินทางไปกรุงโรมเพื่อทางานให้สันตะปาปา เสือสองตัวอยู่ถ้าเดียวกันไม่ได้ อิอิ
  • 8. ความต่างกันของสุดยอดศิลปิน • เลโอนาร์โดมุ่งความสนใจแสวงหาความจริงและความงามในมโนคติทางวิทยาศาสตร์ ส่วนไมเคิลแอน เจโลค้นหาความจริงและความงามในแบบฉบับลัทธิปรัชญาของเพลโตอย่างสมบูรณ์แบบ นาทั้งหมดมา ปรุงแต่งรวมแสดงออกเป็นพลังอานาจของความเป็นมนุษย์ความงามในความหมายกว้างมีอยู่สองแบบ ด้วยกัน กล่าวคือ เป็นความงามตามธรรมชาติกับความงามที่ได้รับการปรุงแต่งกลั่นกรอง ไมเคิลแอนเจโล ได้ยึดทั้งสองแบบนอกจากนี้ยังได้เพิ่มเติมสอดแทรกความงามทางศีลธรรมเข้าไปเพราะเขาเชื่อว่าความงาม เป็นความดีที่ยิ่งใหญ่ จากแนวคิดนี้จะปรากฏให้เห็นอย่างชัดเจนในภาพ “การตัดสินครั้งสุดท้าย” ที่ผนังใน หอสวดมนซิสติเน่ ซึ่งแฝกความงามในธรรมชาติร่างกายของมนุษย์และความงามทางศีลธรรมตามหลัก คริสต์ศาสนาผสมเข้ากับลัทธิมนุษยธรรมอย่างลึกซึ้ง
  • 9. ไมเคิลแอนเจโล กับการเป็นคนที่บริสุทธ์เค้าไม่ต่างอะไรกับนักบุญที่ เคยมีชีวิตอยู่ในเวลานั้น ไมเคิลแอนเจโลถืองานวาดเส้น ( Drawing ) นอกจากจะมีความสาคัญที่เส้นได้แสดงลีลาแล้ว แสงเงา และความมีเอกภาพของรูปทรงก็มีความสาคัญไม่ยิ่งหย่อนกว่า จากการที่เขามีความคิดเช่นนี้อาจเป็นเพราะมี ความหลงใหลในงานประติมากรรม จนกระทั่งนาหลักสาคัญของประติมากรรมสดใส่ในผลงานศิลปะทุก อย่าง ส่วนการประติมากรรมตามทัศนะของไมเคิลแอนเจโลนั้น ถือว่ามีเรื่องราวและคุณค่าพิเศษเฉพาะ ตน มีสาระสาคัญเกี่ยวกับเนื้อหาและวัสดุ ไมเคิลแอนเจโลดูจะเชื่อมั่นในอานาจภายในอันเร้นลับ จนกระทั่ง สามารถเสกบันดาลสิ่งต่างๆให้มีอิทธิฤทธิ์ได้ เกล่าวว่า “การเลียนแบบภาพอันน่าเคารพของพระเจ้า ศิลปินไม่ เพียงแต่เป็นครูหรือผู้แนะนาที่ดีเท่านั้น หากแต่พวกเขาจาเป็นต้องมีชีวิตที่ดีหรือแม้แต่จะต้องทาตนเป็น นักบุญ เพื่อวิญญาณอันศักดิ์สิทธิ์จะได้ดลบันดาลให้พวกเขาเกิดพุทธิปัญญา” ด้วยเหตุนี้จะเห็นได้ว่า ตลอด ชั่วชีวิตอันยาวนานของไมเคิลแอนเจโล เขาได้ดาเนินชีวิตด้วยควาสะอาดบริสุทธิ์ไม่มีเรื่องผิดใดๆให้ด่าง พร้อย เขายินดีที่ทุ่มเทพลังทั้งหมดในผลงาน ปฏิเสธที่จะมีผู้ช่วยหรือลูกมือในการทางาน เขายอมวาดภาพ ขนาดมหึมาเพียงคนเดียวอย่างโดดเดี่ยว สลักหินอ่อนด้วยค้อนและสิ่วอย่างเดียวดาย เขาทางานด้วยสมาธิ อันแน่วแน่ดุจนักพรตผู้มีตะบะอันแรงกล้า
  • 10. วิเคราะห์ทัศนศิลป์ • ประติมากรรมหินสลัก “ปิเอต้า” นับเป็นตัวอย่างที่ดีอีกชิ้นหนึ่งได้รวมเอาหลักการในความงานตามหลักปรัชญาลัทธิ นีโอ-เพลนิคกับคริสต์ศาสนาเข้าไว้ด้วยกันอย่างเหมาะสม โดยมีเรื่องราวเนื้อหาจากพระคัมภีร์ ส่วนกรรมวิธีและ การแสดงออกถึงความงามเป็นไปตามแบบศิลปะกรีกและโรมัน เช่นเดียวกับภาพจิตรกรรมเพดานในหอสวดมนต์ซิ สติเน่ เขาได้สร้างภาพบุคคลสาคัญของคริสเตียนเคียงข้างกับบุคคลสาคัญในตานานเทพนิยายกรีกอย่างไม่เคอะ เขิน ภาพ “การตัดสินครั้งสุดท้าย” บนผนังในสถานที่แห่งเดียวกัน เขาได้วาดภาพคนเปลือยไว้อย่างมากมาย แสดง ความงามตามอุดมคติของกรีกและโรมัน นอกจากจิตรกรรมและประติมากรรมที่ได้กล่าวมาแล้ว ในสถาปัตยกรรม ที่เขาออกแบก็มีอยู่อย่างสมบูรณ์เช่นกัน นับตั้งแต่โดมของโบสถ์เซนต์ปีเตอร์ เสาหินขนาดยักษ์ที่รองรับน้าหนัก มหาศาลของโดม ภายในโดมเมื่อมองขึ้นไปจะเห็นโครงสร้างที่ทาเป็นวงกลมสลับซับซ้อนดุจวงแหวนเรียงรายเป็น ชั้นๆ แต่ละชั้นเปรียบเสมือนชั้นของสรวงสวรรค์ ไมเคิลแอนเจโลได้นาสวรรค์ในคตินิยมของคริสต์ศาสนามาแสดง กับอาคารสาคัญทางศาสนา เพราะครั้งหนึ่งในอดีต อาดัมและอีฟชายหญิงคู่แรกของโลกได้ประพฤติบาปจึงได้ถูก ขับออกจากสวรรค์ และมนุษย์ปัจจุบันได้สูญเสียมันไปอย่างสิ้นเชิงแล้ว แต่ทุกคนก็ยังมีความใฝ่ฝันที่จะกลับคืน สถานที่นี้อีก บนช่องสุดของโดม เขาได้ทาช่องปล่อยให้แสงสว่างเข้ามา เปรียบประดุจดังแสงสว่างจากการประทาน ของพระผู้เป็นเจ้า ซึ่งพระองค์ยังทรงมีพระกรุณาเมตตาปราณีต่อมวลมนุษย์ อยู่ตลอดกาล
  • 11. รูปที่เลือก มาวิเคราะห์ Fresco เป็นวิธีการวาดรูปแบบหนึ่งที่ศิลปินชาวอิตา เลียนในยุคเรอเนซองส์ชอบใช้ ศิลปินจะวาดภาพและลง สีบนผิวปูนที่ยังเปียกอยู่ทาให้เนื้อสีสามารถซึมเข้าไปรวม เป็นเนื้อเดียวกับปูน ด้วยวิธีการเช่นนี้จะทาให้สีสันของ ภาพติดทนนานและไม่หลุดร่อนออกมา หลายๆ ภาพมี อายุมากกว่าสี่ห้าร้อยปีแต่สียังสดใดอยู่ ผิดกับภาพ จิตรกรรมฝาผนังของไทยที่จะลงสีบนพื้นปูนที่แห้งแล้ว สี จะติดไม่ทนและโอกาสที่จะหลุดร่อนมีมาก The Last Judgment ค.ศ. 1536 -- ค.ศ. 1541
  • 13. • 1 เป็นภาพที่ พระแม่มารีย์ ทรงเป็นทุกข์โศกเศร้าด้วยที่ พระเยซู ซึ้งได้ถูกทรมาณบนไม้กางเขน แล้วทรงลงมาประทับอยู่ใน อ้อมกอดของพระแม่มารีย์ • 2 เป็นงานแกะสลักที่ใช้ หินอ่อนบริสุทธ์ 100 % ตัวรูปทรงโดยรวมที่ใช้เกิดจากการตัดทอนรูปทรงเหลี่ยมต่างๆ ไปเลื่อยๆ จน เป็นทรงโค้งเว้าที่ดูงดงามและนิ่มนวล ถ้ามองจากรูปร่าง โดยรวมจะใช้รูปสามเหลียม เป็นการวางภาพที่ให้ความมั่นคงหรือเรียกว่า การจัดองค์ประกอบอยู่ในหลักของ ทรงพีระมิดฐานสามเหลี่ยม ซึ่งสามเหลี่ยมก็มีความสาคัญกับศาสนาคริสต์นิกายนี้มากๆเลยเช่นกันรวมไปถึงพระตรีเอกภาพด้วย ที่เชื่อว่า มีพระบิดา พระบุตรและพระจิตร เป็นองค์เดียวกัน เรียกว่าพระตรีเอกภาพ นั้นเอง แต่ยังพลาดอยู่อย่างหนึ่งคือลาตัวของ พระแม่มารย์มีความยาวผิดปกติ(ตัวใหญ่มาก)ถ้าให้รูปปั้นชิ้นนี้มีชีวิต เมื่อยืนขึ้นจะกลายเป็นคนที่ไม่สมส่วนโดยปริยาย • 3 อารมณ์ของภาพ สื่อได้ถึงความเศร้าโศกแสนทรมาณที่มีมากกว่าผู้เป็นลูกซึ่งเพิ่งถูกตรึงกางเขนเสร็จและได้ลงมาประทับอยู่ ในอ้อมกอดของพระแม่มารีย์ แทนที่จะได้อยู่กับลูกดูลูกที่มีอนาคตที่สดใส่แต่กลับได้ลูกชายที่สิ้นชีพแล้วและยังต้องทนดูพระ มหาทรมาน(ดูลูกของตนถูกทรมาน)ของพระเยซู และสิ้นพระชนนม์ต่อหน้าของพระแม่มารีย์ รูปแกะสลักชิ้นนี้ยังแฝงไปด้วย ความเข้มแข็งที่พระแม่มารีย์ต้องทนทุกข์ กับ สิ่งที่เกิดขึ้น ไม่ใช่เพราะว่า พระแม่มารีย์ไม่รู้ว่าพระเยซูจะต้องโดนตรึงกางเขน และถูกทรมาน พระเยซูได้บอก ถึงอนาคตของท่านแล้วล่วงหน้ากับพระแม่มารีย์เมื่อพระเยซูยังมีชีวิตอยู่ เธอชั่งเป็นแม่ที่มี ความอดทนและเข้มแข็งเสียจริง วิเคราะห์