SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
พื้นฐาน
ภาษา
จาวา
Java เป็นภาษาโปรแกรมที่ใช้ในการเขียนคาสั่งสั่งงาน
คอมพิวเตอร์ ที่สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ( OOP : Object-
Oriented Programming) โปรแกรมที่เขียนขึ้นจะถูกสร้างภายในคลาส
ดังนั้นคลาสคือที่เก็บเมธอด (Method) หรือพฤติกรรม (Behavior) ซึ่ง
มีสถานะ (State) และรูปพรรณ (Identity) ประจาพฤติกรรม (Behavior)
โครงสร้างภาษาจาวา
1.Package : เป็นกลุ่มของคลาสหรือไลบารี่มาตรฐานของภาษา Java ที่
มีฟังก์ชัน ต่างๆ
2.Class : ในส่วนของการประกาศคลาส จะต้องประกาศคลาสให้ชื่อตรง
กับไฟล์ เสมอ นอกจาก Inner คลาสที่อยู่ในคลาสเดียวกัน
โดยชื่อคลาสนั้นจะขึ้นต้นด้วยตัว ใหฌ่ และถ้ามีหลายคาให้ใช้
ตัวพิมพ์ใหฌ่แบ่ง
3.Method : หลังจากคลาสสร้างแล้ว จะเป็นประกาศเมธอดภายใน
คลาส โดยในการที่จะรันโปรแกรมได้จะต้องมีเมธอดที่ชื่อว่า Main
4.Statements : เป็นคาสั่งของโปรแกรมเพื่อให้โปรแกรมทางานตามต้องการ
เมธอดแสดงปลทางจอภาพพื้นฐาน
ในภาษาจาวาจะใช้ เมธอด print และ println ในการแสดงปลทาง
จอภาพ โดยที่เมธอดสองตัวนี้จะอยู่ใน Object ของ out และโดยที่ out นี่จะ
อยู่ ใน Class ของ System รูปแบบการใช้งานเมธอดทั้งสองคือ
1.System.out.print(data) ; คือคาสั่งในการแสดงข้อความทาง
จอภาพโดยที่ไม่มี การขึ้นบรรทัดใหม่
2.System.out.println(data) ; คือคาสั่งในการแสดงข้อความทาง
จอภาพโดยที่ขึ้น บรรทัดใหม่
print และ println สามารถใช้ escape sequence ในการแสดงปลได้
โดยการใช้เครื่องหมาย  (Blackslash) นาหน้าตามด้วยอักขระควบคุมหนึ่งตัว
escape sequence มีดังนี้
n = เป็นการขึ้นบรรทัดใหม่
t = แท็บในแนวนอน
b = ถอยหลัง 1 ช่อง ตัวอักษร
r = เลื่อนเคอร์เซอร์ไปซ้ายสุด
 = แสดงตัวอักษร  (Blackslash)
' = แสดงตัวอักษร ' (Single quote)
" = แสดงตัวอักษร " (Double quote)
เมธอดแสดงปลทางจอภาพพื้นฐาน
ชนิดของข้อมูล ตัวแปรและค่าคงที่
ค่าคงตัว (literal) คือข้อมูลที่เราป้อนให้กับคอมพิวเตอร์ เพื่อให้
คอมพิวเตอร์นาไปใช้ ในการคานวณตามที่เราต้องการ ค่าคงตัวในภาษาจาวามี
5 ชนิดหลักๆ ได้แก่
1. ค่าคงตัวจานวนเต็ม (integer) ค่าคงตัวจานวนเต็มในภาษาจาวามี 2 แบบคือ
1.1 ค่าคงตัวจานวนเต็มปกติ รูปแบบการเขียน ใช้ตัวเลขจานวนเต็ม
ธรรมดา ค่าคงตัวชนิดนี้เป็นได้ทั้งค่า บวก และ ลบ และมีค่าได้ระหว่าง
-214783648 ถึง + 214783647
1.2 ค่าคงตัวจานวนเต็มแบบยาว (long integer) ค่าคงตัวจานวนเต็ม
แบบยาวมีค่าได้ระหว่าง -223372036854775808 ถึง
9223372036854775807 การเขียนค่าคงตัวจานวนเต็มแบบยาว ใช้ L หรือ l
ต่อท้าย
2. ค่าคงตัวทศนิยม(floating-point) ค่าคงตัวทศนิยมในภาษาจาวามี 2 แบบคือ
2.1 ค่าคงตัวทศนิยมปกติ (floating-point)
2.2 ค่าคงตัวทศนิยมแบบยาว (double)
ตัวเลขทศนิยมต้องมีจุดเสมอ แม้ว่าทศนิยมตัวนั้นจะมีค่าเท่ากับจานวนเต็ม เช่น
5 ต้อง เขียนว่า 5.0 เพราะจาวาจะใช้ จุด ในการแยกแยะระหว่างทศนิยมกับ
จานวนเต็ม การเขียนเลขทศนิยมปกติจะใช้ F หรือ f ต่อท้าย ส่วนการเขียนค่าคง
ตัวทศนิยมแบบยาวจะ ใช้ D หรือ d ตามหลัง โดยค่าคงตัวชนิดนี้จะมีค่าตั้งแต่
-4.0 x 10-324 ถึง 1.7 x 10308 เรายังสามารถเขียนค่าคงตัวทศนิยมใน
รูปแบบของเลขยกกาลัง (exponential) ได้โดยใช้สัฌลักษณ์ e เช่น 1.7e308
หมายถึง 1.7 x 10308
ชนิดของข้อมูล ตัวแปรและค่าคงที่
3. ค่าคงตัวตรรก (logical literal) ค่าคงตัวตรรก คือค่าความจริงทางตรรกศาสตร์
ซึ่งเป็นไปได้ 2 กรณีเท่านั้นคือ true และ false โดยทั้งสองคาต้องเขียนด้วยตัวพิมพ์
เล็กเท่านั้น
4. ค่าคงตัวตัวอักษร(character) ค่าคงตัวตัวอักษร ได้แก่ ตัวอักษร , ตัวเลข ,
เครื่องหมาย , และสัฌลักษณ์ต่างๆ เราใช้ เครื่องหมายคาพูดเดี่ยว ' (single quote)
ล้อมตัวอักษรนั้นเวลาเขียน เช่น 'a' , 'A' , '0' , '$' เป็นต้น
ชนิดของข้อมูล ตัวแปรและค่าคงที่
ชนิดของข้อมูล ตัวแปรและค่าคงที่
ชนิดของข้อมูล (Data Type)
ชนิดข้อมูลในภาษาจาวาแบ่งเป็นสองประเภทใหฌ่ๆ คือ
1. ชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน (primitive data type) หมายถึงชนิดข้อมูลที่สามารถ
เก็บข้อมูลที่เป็นข้อมูลทั่วไปหรือข้อมูลพื้นฐาน มีทั้งหมด 8 ตัว ได้แก่ boolean,
char, byte, short, int, long, float,double
2. ชนิดข้อมูลแบบอ้างอิง (reference data type) มีความแตกต่างกับชนิดข้อมูล
พื้นฐาน ที่ว่าชนิดข้อมูลชนิดนี้อยู่ในรูปแบบหนึ่ง ซึ่งการเข้าถึง (ใช้งาน) ข้อมูล
เป็นการอ้างถึงมากกว่าการเข้าถึงข้อมูลโดยตรง เก็บข้อมูลไว้ 2 ส่วน คือ
- Execution Stack เก็บค่าอ้างอิงที่ชี้ไปยัง Heap memory
- Heap Memory เก็บข้อมูลที่เรียกว่าออปเจ็ค ที่สร้างขึ้นมาจากคลาส
ชนิดของข้อมูล ตัวแปรและค่าคงที่
ชนิดข้อมูล ขนาด (bit) ค่าที่เก็บได้
boolean JVM กาหนด true หรือ false
byte 8 -128 ถึง 127
short 16 -32768 ถึง 32767
int 32 -2147483648 ถึง 2147483648
long 64
-9223372036854775808
ถึง 9223372036854775808
float 32 -3.4E38 ถึง 3.4E38
double 64 -1.7E308 ถึง 1.7E308
Char 16 ใช้เก็บอักขระที่มีรหัสตั้งแต่ 0 ถึง 65535
ชนิดของข้อมูล ตัวแปรและค่าคงที่
1. ตัวแปรจานวนเต็ม มี 4 ชนิด คือ
1. byte 2. short 3. int 4. long
ขนาดของตัวแปรนับเป็นไบต์(byte) ซึ่งก็คือขนาดของหน่วยความจานั่นเอง ตัว
แปรจานวนเต็มขนาดเล็กใช้เก็บค่าได้ไม่ใหฌ่เท่ากับตัวแปรจานวนเต็มขนาดใหฌ่
แต่กินเนื้อที่ในแรมน้อยกว่า ขนาดของตัวแปรจานวนเต็มดังนี้
ชนิดของ
ตัวแปร
ค่าสูงสุด ค่าต่่าสุด
ขนาดในแรม
(byte)
byte +127 -128 1
short +32767 -32768 2
int +2147483647 -214783648 4
long +9223372036854775807 -223372036854775808 8
ชนิดของข้อมูล ตัวแปรและค่าคงที่
2. ตัวแปรทศนิยม ตัวแปรทศนิยมมี 2 ชนิดคือ
1. float 2. double
ขนาดของตัวแปรทศนิยม ดังนี้
ชนิดของ
ตัวแปร
ค่าสูงสุด ค่าต่่าสุด
ขนาดในแรม
(byte)
float 3.40282 x 𝟏𝟎 𝟑𝟖
-1.4 x 𝟏𝟎−𝟒𝟓 4
double 1.79769 x 𝟏𝟎 𝟑𝟎𝟖
-4.9 x 𝟏𝟎−𝟑𝟐𝟒 8
ชนิดของข้อมูล ตัวแปรและค่าคงที่
3. ตัวแปรตรรก
ตัวแปรตรรกใช้สาหรับเก็บค่าความจริงทางตรรกศาสตร์ มีชนิดเดียว
คือ boolean
4. ตัวแปรตัวอักษร
ตัวแปรชนิดตัวอักษรใช้สาหรับตัวอักษร มีชนิดเดียวคือ char และมี
ขนาดเท่ากับ 2 byte
ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์
นิพจน์ทางคณิตศาสตร์สามารถใช้ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ 6 ตัว ดังนี้
ตัวด่าเนินการ ความหมาย ตัวอย่าง ปลลัพธ์
+ บวก 5+2 7
- ลบ 5-2 3
* คูณ 5*2 10
/ หาร 5/2 2.5
DIV การแบบตัดเศษทิ้ง 5 DIV 2 2
MOD หาเศษจากการหาร 5 MOD 2 1
การหารเลขจานวนเต็ม
ตัวดาเนินการเครื่องหมาย / จะให้ปลลัพธ์เป็นชนิดข้อมูลจานวน
ทศนิยม ก็ต่อเมื่อตัวถูกกระทาตัวใดตัวหนึ่งเป็นชนิดข้อมูลจานวนทศนิยม
ตัวอย่างเช่น 20 / 3.0 จะมีค่าเท่ากับ 6.66667
ถ้าตัวถูกกระทาเป็นจานวนเต็ม ทั้งหมดจะให้ปลลัพธ์เป็นจานวนเต็ม
ตัวอย่างเช่น 20 / 3 ซึ่งปลลัพธ์มีค่าเท่ากับ 6
ลาดับของตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์
เครื่องหมาย ล่าดับการท่างาน
( ) 1 ( ลาดับสูงสุดก่อนทาเครื่องหมายอื่น )
* / DIV MOD 2 ( ลาดับ 2 ทาเป็นลาดับถัดมา )
+ - 3 ( ลาดับ 3 ทาเป็นลาดับสุดท้าย )
ตัวดาเนินการแบบย่อ
ตัวดาเนินการแบบย่อ คือการเขียนนิพจน์ทางคณิตศาสตร์ให้อยู่ใน
รูปแบบใหม่ ทาให้เขียนง่ายและโปรแกรมทางานได้เร็วขึ้น ตัวดาเนินการแบบย่อใน
ภาษา Java ได้แก่ เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ เครื่องหมายแบบบิต
ตัวดาเนินการแบบย่อ
ตัวดาเนินการแบบย่อ มีดังนี้
เครื่องหมายด่าเนินการ ตัวอย่างตัวด่าเนินการแบบย่อ ความหมาย
+= X += 2; X = X + 2;
-= X -= 2; X = X - 2;
*= X *= 2; X = X * 2;
/= X /= 2; X = X / 2;
%= X %= 2; X = X & 2;
<<=
>>=
&=
|=
ตัวดาเนินการเพิ่มค่า และลดค่า
ตัวดาเนินการเพิ่มค่า คือ การเพิ่มค่าชนิดข้อมูลจานวนเต็มและจานวน
ทศนิยม เพิ่มค่าขึ้นครั้งละ 1 โดยการใช้เครื่องหมาย ++ วางไว้ข้างหน้า หรือ
ข้างหลังตัวแปร
ตัวดาเนินการลดค่า คือ การลดค่าชนิดข้อมูลจานวนเต็มและจานวน
ทศนิยม ลดค่าลงครั้งละ 1 โดยการใช้เครื่องหมาย -- วางไว้ข้างหน้า หรือ
ข้างหลังตัวแปร
ตัวอย่างการใช้ตัวดาเนินการเพิ่มค่าและลดค่า
x++ มีความหมายเดียวกันกับ x = x + 1 หรือ x += 1
++x มีความหมายเดียวกันกับ x = x + 1 หรือ x += 1
x-- มีความหมายเดียวกันกับ x = x - 1 หรือ x -= 1
--x มีความหมายเดียวกันกับ x = x - 1 หรือ x -= 1
การแปลงขนาดข้อมูลโดยใช้ Cast operator
ภาษาจาวาสามารถแปลงประเภทข้อมูลที่มีขนาดใหฌ่กว่าให้เป็นข้อมูล
ขนาดเล็กกว่าโดยใช้ Cast operator ซึ่งจะเขียนประเภทของข้อมูลที่ต้องการ
แปลงไว้ในเครื่องหมายวงเล็บแล้วนาไปไว้ด้านหน้าของตัวแปรหรือนิพจน์ที่
ต้องการ
การดาเนินการสาหรับการคูณและการหารนั้น อาจไม่ได้ปลลัพธ์ตามที่
ต้องการ โดยเฉพาะการหารตัวเลขที่ได้ปลลัพธ์เป็นทศนิยมต้องกาหนดปลลัพธ์
เป็น ค่าตัวแปรแบบจานวนจริง (Floating point) เพื่อนามาเก็บและรับค่าปลของ
การ คานวณซึ่งหากปลการคานวณได้ค่าของตัวเลขที่ไม่ใช่ ชนิดเดิมของข้อมูลที่
นามา ดาเนินการสามารถแปลงค่าต่างๆของเลขได้
โปรแกรมภาษาจาวามีตัวดาเนินการในการแปลงชนิดข้อมูล ดังตารางดังนี้
การแปลงขนาดข้อมูลโดยใช้ Cast operator
ค่าการแปลง ค่าอธิบาย
int เป็น float ตัวแปร int ถูกแปลงเป็น float (โดยค่าไม่เปลี่ยนแปลง)
float เป็น int ตัวแปร float ถูกแปลงเป็น int (โดยตัดเศษทิ้ง)
int เป็น char ตัวแปร int ถูกแปลงเป็น char (โดยตัดบิตที่เกินออก)
char เป็น int ตัวแปร char ถูกแปลงเป็น int (เครื่องหมายอาจเปลี่ยนแปลง)
double เป็น float ตัวแปร double ถูกแปลงเป็น char t (โดยค่าอาจถูกตัดทิ้ง)
float เป็น double ตัวแปร float ถูกแปลงเป็น double (โดยค่าไม่เปลี่ยนแปลง)
คลาสสตริง (String Class)
ภาษาจาวาได้กาหนดคลาสๆ หนึ่งมาให้แล้วชื่อว่า String ประกอบด้วย
เมธอดและคอนสตรักเตอร์มากมายให้ใช้งาน ซึ่งส่วนใหฌ่จะเกี่ยวข้องกับข้อมูล
ประเภทข้อความเป็นส่วนใหฌ่ การประกาศตัวแปรอ้างอิงสาหรับคลาส String
ทาได้ดังนี้
String str1 ;
สมมุติว่าเราต้องการให้อินสแตนท์ของคลาส String เก็บค่าคงตัวแบบข้อความ
ว่า "Hello World" เราทาได้ด้วยการเรียกคอนสตรักเตอร์ดังนี้
str1 = new String("Hello World") ;
คอนสตรักเตอร์ของคลาส String มีการส่งป่านตัวแปรแบบค่าคงตัว ซึ่งก็คือ
ค่าที่เรา ต้องการเก็บนั่นเอง คอนสรักเตอร์แบบไม่มีการส่งป่านค่าก็มีเช่น
str1 = new String() ;
คลาสสตริง (String Class)
ซึ่งถ้าพิจารณาตามหลักการแล้วไม่น่าจะจับให้เท่ากับค่าคงตัวได้ แต่
สาหรับคลาส String แล้วเป็นกรณีพิเศษโดยเฉพาะ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
//TestString01.java
public class TestString01 {
public static void main(String[] args) {
String str = "Hello World" ; //
(1)
System.out.println(str) ;
}
}
โปรแกรม TestString01.java จะให้ปลลัพธ์เช่นเดียวกันกับโปรแกรม
HelloWorld.java ที่ป่านมา เพียงแต่คราวนี้เราใช้ตัวแปรสริงแทนการใช้ค่าคงตัว
แบบ ข้อความในการแสดงปลออกหน้าจอ ในบรรทัด (1) จะเห็นได้ว่าเราใช้งาน
คลาส String เหมือนกับว่ามันเป็นตัวแปรชนิดหนึ่ง ซึ่งเราอาจสงสัยว่า ทาไมจา
วาไม่สร้างตัวแปรสตริงในลักษณะเดียวกันกับตัวแปรอื่นๆ ทาไมต้องสร้างเป็น
คลาสด้วย ข้อดีอย่างหนึ่งของการสร้างให้เป็นคลาสคือเราสามารถสร้างเมธอด
ขึ้นมาช่วยช่วยการจัดการตัวแปรแบบสตริง
คลาสสตริง (String Class)
เมธอดรับข้อมูลพื้นฐาน
การรับข้อมูลทางคีย์บอร์ดในภาษาจาวานั้นจะต้องสร้าง object ของ
class Scanner ก่อนซึ่งจะประกาศตัวแปร object ชื่อ keyboard ให้อยู่ใน class
Scanner เพื่อใช้เป็นตัวแป้น object ในการรับข้อมูลทางคีย์บอร์ด จากนั้นต้อง
สร้าง object ขึ้นมาโดยใช้คาว่า new ซึ่งจะทาให้คอมพิวเตอร์จองหน่วยความจา
เพื่อให้ตัว object นั้นสามารถอ้างถึง
เมธอดรับข้อมูลพื้นฐาน
ในคลาส Scanner นั้นมีเมธอดสาหรับอ่านข้อมูลประเภทต่างๆ หลายประเภทดังนี้
เมธอด การท่างาน
nextByte() รับข้อมูลเลขจานวนเต็มชนิด Byte ทางแป้นพิมพ์
nextDouble() รับข้อมูลเลขทศนิยมชนิด Double ทางแป้นพิมพ์
nextFloat() รับข้อมูลเลขทศนิยมชนิด Float ทางแป้นพิมพ์
nextInt() รับข้อมูลเลขจานวนเต็มชนิด Int ทางแป้นพิมพ์
nextLine() รับข้อมูลแบบสตริงทางแป้นพิมพ์
nextLong() รับข้อมูลตัวเลขชนิด Long ทางแป้นพิมพ์
nextShort() รับข้อมูลตัวเลขชนิด Short ทางแป้นพิมพ์
การใช้ import
ในภาษาจาวาคลาสต่างๆ จะถูกรวมไว้เป็นแพ็กเกจซึ่งสามารถเรียกใช้
ด้วย คาสั่ง import เพื่อบอกให้คอมไพเลอร์รู้ว่าจะนาคลาสมาจากที่ใด โดยเขียน
คาสั่ง import ไว้ที่ส่วนหัวของโปรแกรม
เช่น การใช้งานคลาส Scanner จะต้องเขียนดังนี้ import
java.util.Scanner เป็นการเรียกใช้คลาส Scanner ที่เก็บอยู่ใน util โดย util นี้เก็บ
อยู่ในแพ็กเกจหลักชื่อ java
ปู้จัดทา
นางสาวจิณห์วรา ปาลพันธ์ เลขที่ 17
นางสาวเกศรา ลิขิตสกุลวงศ์ เลขที่ 34
นางสาวธัฌวรัตม์ พงษ์ไทยสงค์ เลขที่ 35
นางสาวเมทินี อบเชย เลขที่ 36
นางสาวสุพิชฌาย์ เที่ยงธรรม เลขที่ 38
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1

More Related Content

What's hot

Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์Thanachart Numnonda
 
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรมบทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรมNookky Anapat
 
Java Programming: หลักการเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: หลักการเชิงอ็อบเจกต์Java Programming: หลักการเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: หลักการเชิงอ็อบเจกต์Thanachart Numnonda
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2Iam Champooh
 
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุตJava Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุตThanachart Numnonda
 
Java Programming: การสร้างส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Java GUI)
Java Programming: การสร้างส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Java GUI)Java Programming: การสร้างส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Java GUI)
Java Programming: การสร้างส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Java GUI)Thanachart Numnonda
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอchupong roddee
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระLacus Methini
 
Java Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : ThreadJava Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : ThreadIMC Institute
 
Java Programming: โครงสร้างควบคุม
Java Programming: โครงสร้างควบคุมJava Programming: โครงสร้างควบคุม
Java Programming: โครงสร้างควบคุมThanachart Numnonda
 
การสร้างตัวแปรใน javascript
การสร้างตัวแปรใน javascriptการสร้างตัวแปรใน javascript
การสร้างตัวแปรใน javascriptOk Nakhon Asingilo
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นFinian Nian
 
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซีเครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHP
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHPความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHP
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHPKhon Kaen University
 
Java Programming [11/12] : Input and Output Classes
Java Programming [11/12] : Input and Output ClassesJava Programming [11/12] : Input and Output Classes
Java Programming [11/12] : Input and Output ClassesIMC Institute
 
ค่าตัวแปรและตัวดำเนินการ [Web-Programming]
ค่าตัวแปรและตัวดำเนินการ [Web-Programming]ค่าตัวแปรและตัวดำเนินการ [Web-Programming]
ค่าตัวแปรและตัวดำเนินการ [Web-Programming]Khon Kaen University
 

What's hot (20)

Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
 
บทที่ 8 Methods
บทที่ 8 Methodsบทที่ 8 Methods
บทที่ 8 Methods
 
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรมบทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
 
Java Programming: หลักการเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: หลักการเชิงอ็อบเจกต์Java Programming: หลักการเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: หลักการเชิงอ็อบเจกต์
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
 
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุตJava Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
Java Programming: คลาสอินพุตและเอาต์พุต
 
METHODS
METHODSMETHODS
METHODS
 
Java Programming: การสร้างส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Java GUI)
Java Programming: การสร้างส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Java GUI)Java Programming: การสร้างส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Java GUI)
Java Programming: การสร้างส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Java GUI)
 
Java AWT
Java AWTJava AWT
Java AWT
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรกลุ่มอิสระ
 
Java Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : ThreadJava Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : Thread
 
Java Programming: โครงสร้างควบคุม
Java Programming: โครงสร้างควบคุมJava Programming: โครงสร้างควบคุม
Java Programming: โครงสร้างควบคุม
 
การสร้างตัวแปรใน javascript
การสร้างตัวแปรใน javascriptการสร้างตัวแปรใน javascript
การสร้างตัวแปรใน javascript
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
 
Class1
Class1Class1
Class1
 
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซีเครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHP
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHPความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHP
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHP
 
Java Programming [11/12] : Input and Output Classes
Java Programming [11/12] : Input and Output ClassesJava Programming [11/12] : Input and Output Classes
Java Programming [11/12] : Input and Output Classes
 
ค่าตัวแปรและตัวดำเนินการ [Web-Programming]
ค่าตัวแปรและตัวดำเนินการ [Web-Programming]ค่าตัวแปรและตัวดำเนินการ [Web-Programming]
ค่าตัวแปรและตัวดำเนินการ [Web-Programming]
 

Similar to พื้นฐานภาษาจาวา

บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา JavaItslvle Parin
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา JavaItslvle Parin
 
Java script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้นJava script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้นSamart Phetdee
 
Chapter 1 : ทบทวนภาษาจาวา
Chapter 1 : ทบทวนภาษาจาวาChapter 1 : ทบทวนภาษาจาวา
Chapter 1 : ทบทวนภาษาจาวาAkkradet Keawyoo
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Mook Prapasson
 
ไฟล์ Presentation ประกอบรายงาน PHP - Know2Pro.co.cc
ไฟล์ Presentation ประกอบรายงาน PHP - Know2Pro.co.ccไฟล์ Presentation ประกอบรายงาน PHP - Know2Pro.co.cc
ไฟล์ Presentation ประกอบรายงาน PHP - Know2Pro.co.ccKnow Mastikate
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1prapassonmook
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
Java script 9786169103004_ch02
Java script 9786169103004_ch02Java script 9786169103004_ch02
Java script 9786169103004_ch02palm2816
 
บทที่ 4 แอทริบิวท์
บทที่ 4 แอทริบิวท์บทที่ 4 แอทริบิวท์
บทที่ 4 แอทริบิวท์Theeravaj Tum
 

Similar to พื้นฐานภาษาจาวา (20)

ภาษา C#
ภาษา C#ภาษา C#
ภาษา C#
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
Java script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้นJava script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้น
 
Java intro
Java introJava intro
Java intro
 
Chapter 1 : ทบทวนภาษาจาวา
Chapter 1 : ทบทวนภาษาจาวาChapter 1 : ทบทวนภาษาจาวา
Chapter 1 : ทบทวนภาษาจาวา
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ไฟล์ Presentation ประกอบรายงาน PHP - Know2Pro.co.cc
ไฟล์ Presentation ประกอบรายงาน PHP - Know2Pro.co.ccไฟล์ Presentation ประกอบรายงาน PHP - Know2Pro.co.cc
ไฟล์ Presentation ประกอบรายงาน PHP - Know2Pro.co.cc
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
Java script 9786169103004_ch02
Java script 9786169103004_ch02Java script 9786169103004_ch02
Java script 9786169103004_ch02
 
Java 7&12 6 2
Java 7&12 6 2Java 7&12 6 2
Java 7&12 6 2
 
Know1 3
Know1 3Know1 3
Know1 3
 
ภาษาจาวา 1
ภาษาจาวา 1ภาษาจาวา 1
ภาษาจาวา 1
 
4
44
4
 
บทที่ 4 แอทริบิวท์
บทที่ 4 แอทริบิวท์บทที่ 4 แอทริบิวท์
บทที่ 4 แอทริบิวท์
 
03 input math
03 input math03 input math
03 input math
 
3.Expression
3.Expression3.Expression
3.Expression
 
02 basic
02 basic02 basic
02 basic
 
งาน
งานงาน
งาน
 

พื้นฐานภาษาจาวา

  • 2. Java เป็นภาษาโปรแกรมที่ใช้ในการเขียนคาสั่งสั่งงาน คอมพิวเตอร์ ที่สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ( OOP : Object- Oriented Programming) โปรแกรมที่เขียนขึ้นจะถูกสร้างภายในคลาส ดังนั้นคลาสคือที่เก็บเมธอด (Method) หรือพฤติกรรม (Behavior) ซึ่ง มีสถานะ (State) และรูปพรรณ (Identity) ประจาพฤติกรรม (Behavior)
  • 3. โครงสร้างภาษาจาวา 1.Package : เป็นกลุ่มของคลาสหรือไลบารี่มาตรฐานของภาษา Java ที่ มีฟังก์ชัน ต่างๆ 2.Class : ในส่วนของการประกาศคลาส จะต้องประกาศคลาสให้ชื่อตรง กับไฟล์ เสมอ นอกจาก Inner คลาสที่อยู่ในคลาสเดียวกัน โดยชื่อคลาสนั้นจะขึ้นต้นด้วยตัว ใหฌ่ และถ้ามีหลายคาให้ใช้ ตัวพิมพ์ใหฌ่แบ่ง 3.Method : หลังจากคลาสสร้างแล้ว จะเป็นประกาศเมธอดภายใน คลาส โดยในการที่จะรันโปรแกรมได้จะต้องมีเมธอดที่ชื่อว่า Main 4.Statements : เป็นคาสั่งของโปรแกรมเพื่อให้โปรแกรมทางานตามต้องการ
  • 4. เมธอดแสดงปลทางจอภาพพื้นฐาน ในภาษาจาวาจะใช้ เมธอด print และ println ในการแสดงปลทาง จอภาพ โดยที่เมธอดสองตัวนี้จะอยู่ใน Object ของ out และโดยที่ out นี่จะ อยู่ ใน Class ของ System รูปแบบการใช้งานเมธอดทั้งสองคือ 1.System.out.print(data) ; คือคาสั่งในการแสดงข้อความทาง จอภาพโดยที่ไม่มี การขึ้นบรรทัดใหม่ 2.System.out.println(data) ; คือคาสั่งในการแสดงข้อความทาง จอภาพโดยที่ขึ้น บรรทัดใหม่
  • 5. print และ println สามารถใช้ escape sequence ในการแสดงปลได้ โดยการใช้เครื่องหมาย (Blackslash) นาหน้าตามด้วยอักขระควบคุมหนึ่งตัว escape sequence มีดังนี้ n = เป็นการขึ้นบรรทัดใหม่ t = แท็บในแนวนอน b = ถอยหลัง 1 ช่อง ตัวอักษร r = เลื่อนเคอร์เซอร์ไปซ้ายสุด = แสดงตัวอักษร (Blackslash) ' = แสดงตัวอักษร ' (Single quote) " = แสดงตัวอักษร " (Double quote) เมธอดแสดงปลทางจอภาพพื้นฐาน
  • 6. ชนิดของข้อมูล ตัวแปรและค่าคงที่ ค่าคงตัว (literal) คือข้อมูลที่เราป้อนให้กับคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ คอมพิวเตอร์นาไปใช้ ในการคานวณตามที่เราต้องการ ค่าคงตัวในภาษาจาวามี 5 ชนิดหลักๆ ได้แก่ 1. ค่าคงตัวจานวนเต็ม (integer) ค่าคงตัวจานวนเต็มในภาษาจาวามี 2 แบบคือ 1.1 ค่าคงตัวจานวนเต็มปกติ รูปแบบการเขียน ใช้ตัวเลขจานวนเต็ม ธรรมดา ค่าคงตัวชนิดนี้เป็นได้ทั้งค่า บวก และ ลบ และมีค่าได้ระหว่าง -214783648 ถึง + 214783647 1.2 ค่าคงตัวจานวนเต็มแบบยาว (long integer) ค่าคงตัวจานวนเต็ม แบบยาวมีค่าได้ระหว่าง -223372036854775808 ถึง 9223372036854775807 การเขียนค่าคงตัวจานวนเต็มแบบยาว ใช้ L หรือ l ต่อท้าย
  • 7. 2. ค่าคงตัวทศนิยม(floating-point) ค่าคงตัวทศนิยมในภาษาจาวามี 2 แบบคือ 2.1 ค่าคงตัวทศนิยมปกติ (floating-point) 2.2 ค่าคงตัวทศนิยมแบบยาว (double) ตัวเลขทศนิยมต้องมีจุดเสมอ แม้ว่าทศนิยมตัวนั้นจะมีค่าเท่ากับจานวนเต็ม เช่น 5 ต้อง เขียนว่า 5.0 เพราะจาวาจะใช้ จุด ในการแยกแยะระหว่างทศนิยมกับ จานวนเต็ม การเขียนเลขทศนิยมปกติจะใช้ F หรือ f ต่อท้าย ส่วนการเขียนค่าคง ตัวทศนิยมแบบยาวจะ ใช้ D หรือ d ตามหลัง โดยค่าคงตัวชนิดนี้จะมีค่าตั้งแต่ -4.0 x 10-324 ถึง 1.7 x 10308 เรายังสามารถเขียนค่าคงตัวทศนิยมใน รูปแบบของเลขยกกาลัง (exponential) ได้โดยใช้สัฌลักษณ์ e เช่น 1.7e308 หมายถึง 1.7 x 10308 ชนิดของข้อมูล ตัวแปรและค่าคงที่
  • 8. 3. ค่าคงตัวตรรก (logical literal) ค่าคงตัวตรรก คือค่าความจริงทางตรรกศาสตร์ ซึ่งเป็นไปได้ 2 กรณีเท่านั้นคือ true และ false โดยทั้งสองคาต้องเขียนด้วยตัวพิมพ์ เล็กเท่านั้น 4. ค่าคงตัวตัวอักษร(character) ค่าคงตัวตัวอักษร ได้แก่ ตัวอักษร , ตัวเลข , เครื่องหมาย , และสัฌลักษณ์ต่างๆ เราใช้ เครื่องหมายคาพูดเดี่ยว ' (single quote) ล้อมตัวอักษรนั้นเวลาเขียน เช่น 'a' , 'A' , '0' , '$' เป็นต้น ชนิดของข้อมูล ตัวแปรและค่าคงที่
  • 9. ชนิดของข้อมูล ตัวแปรและค่าคงที่ ชนิดของข้อมูล (Data Type) ชนิดข้อมูลในภาษาจาวาแบ่งเป็นสองประเภทใหฌ่ๆ คือ 1. ชนิดข้อมูลแบบพื้นฐาน (primitive data type) หมายถึงชนิดข้อมูลที่สามารถ เก็บข้อมูลที่เป็นข้อมูลทั่วไปหรือข้อมูลพื้นฐาน มีทั้งหมด 8 ตัว ได้แก่ boolean, char, byte, short, int, long, float,double 2. ชนิดข้อมูลแบบอ้างอิง (reference data type) มีความแตกต่างกับชนิดข้อมูล พื้นฐาน ที่ว่าชนิดข้อมูลชนิดนี้อยู่ในรูปแบบหนึ่ง ซึ่งการเข้าถึง (ใช้งาน) ข้อมูล เป็นการอ้างถึงมากกว่าการเข้าถึงข้อมูลโดยตรง เก็บข้อมูลไว้ 2 ส่วน คือ - Execution Stack เก็บค่าอ้างอิงที่ชี้ไปยัง Heap memory - Heap Memory เก็บข้อมูลที่เรียกว่าออปเจ็ค ที่สร้างขึ้นมาจากคลาส
  • 10. ชนิดของข้อมูล ตัวแปรและค่าคงที่ ชนิดข้อมูล ขนาด (bit) ค่าที่เก็บได้ boolean JVM กาหนด true หรือ false byte 8 -128 ถึง 127 short 16 -32768 ถึง 32767 int 32 -2147483648 ถึง 2147483648 long 64 -9223372036854775808 ถึง 9223372036854775808 float 32 -3.4E38 ถึง 3.4E38 double 64 -1.7E308 ถึง 1.7E308 Char 16 ใช้เก็บอักขระที่มีรหัสตั้งแต่ 0 ถึง 65535
  • 11. ชนิดของข้อมูล ตัวแปรและค่าคงที่ 1. ตัวแปรจานวนเต็ม มี 4 ชนิด คือ 1. byte 2. short 3. int 4. long ขนาดของตัวแปรนับเป็นไบต์(byte) ซึ่งก็คือขนาดของหน่วยความจานั่นเอง ตัว แปรจานวนเต็มขนาดเล็กใช้เก็บค่าได้ไม่ใหฌ่เท่ากับตัวแปรจานวนเต็มขนาดใหฌ่ แต่กินเนื้อที่ในแรมน้อยกว่า ขนาดของตัวแปรจานวนเต็มดังนี้ ชนิดของ ตัวแปร ค่าสูงสุด ค่าต่่าสุด ขนาดในแรม (byte) byte +127 -128 1 short +32767 -32768 2 int +2147483647 -214783648 4 long +9223372036854775807 -223372036854775808 8
  • 12. ชนิดของข้อมูล ตัวแปรและค่าคงที่ 2. ตัวแปรทศนิยม ตัวแปรทศนิยมมี 2 ชนิดคือ 1. float 2. double ขนาดของตัวแปรทศนิยม ดังนี้ ชนิดของ ตัวแปร ค่าสูงสุด ค่าต่่าสุด ขนาดในแรม (byte) float 3.40282 x 𝟏𝟎 𝟑𝟖 -1.4 x 𝟏𝟎−𝟒𝟓 4 double 1.79769 x 𝟏𝟎 𝟑𝟎𝟖 -4.9 x 𝟏𝟎−𝟑𝟐𝟒 8
  • 13. ชนิดของข้อมูล ตัวแปรและค่าคงที่ 3. ตัวแปรตรรก ตัวแปรตรรกใช้สาหรับเก็บค่าความจริงทางตรรกศาสตร์ มีชนิดเดียว คือ boolean 4. ตัวแปรตัวอักษร ตัวแปรชนิดตัวอักษรใช้สาหรับตัวอักษร มีชนิดเดียวคือ char และมี ขนาดเท่ากับ 2 byte
  • 14. ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ นิพจน์ทางคณิตศาสตร์สามารถใช้ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ 6 ตัว ดังนี้ ตัวด่าเนินการ ความหมาย ตัวอย่าง ปลลัพธ์ + บวก 5+2 7 - ลบ 5-2 3 * คูณ 5*2 10 / หาร 5/2 2.5 DIV การแบบตัดเศษทิ้ง 5 DIV 2 2 MOD หาเศษจากการหาร 5 MOD 2 1
  • 15. การหารเลขจานวนเต็ม ตัวดาเนินการเครื่องหมาย / จะให้ปลลัพธ์เป็นชนิดข้อมูลจานวน ทศนิยม ก็ต่อเมื่อตัวถูกกระทาตัวใดตัวหนึ่งเป็นชนิดข้อมูลจานวนทศนิยม ตัวอย่างเช่น 20 / 3.0 จะมีค่าเท่ากับ 6.66667 ถ้าตัวถูกกระทาเป็นจานวนเต็ม ทั้งหมดจะให้ปลลัพธ์เป็นจานวนเต็ม ตัวอย่างเช่น 20 / 3 ซึ่งปลลัพธ์มีค่าเท่ากับ 6
  • 16. ลาดับของตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ เครื่องหมาย ล่าดับการท่างาน ( ) 1 ( ลาดับสูงสุดก่อนทาเครื่องหมายอื่น ) * / DIV MOD 2 ( ลาดับ 2 ทาเป็นลาดับถัดมา ) + - 3 ( ลาดับ 3 ทาเป็นลาดับสุดท้าย )
  • 19. ตัวดาเนินการเพิ่มค่า และลดค่า ตัวดาเนินการเพิ่มค่า คือ การเพิ่มค่าชนิดข้อมูลจานวนเต็มและจานวน ทศนิยม เพิ่มค่าขึ้นครั้งละ 1 โดยการใช้เครื่องหมาย ++ วางไว้ข้างหน้า หรือ ข้างหลังตัวแปร ตัวดาเนินการลดค่า คือ การลดค่าชนิดข้อมูลจานวนเต็มและจานวน ทศนิยม ลดค่าลงครั้งละ 1 โดยการใช้เครื่องหมาย -- วางไว้ข้างหน้า หรือ ข้างหลังตัวแปร ตัวอย่างการใช้ตัวดาเนินการเพิ่มค่าและลดค่า x++ มีความหมายเดียวกันกับ x = x + 1 หรือ x += 1 ++x มีความหมายเดียวกันกับ x = x + 1 หรือ x += 1 x-- มีความหมายเดียวกันกับ x = x - 1 หรือ x -= 1 --x มีความหมายเดียวกันกับ x = x - 1 หรือ x -= 1
  • 20. การแปลงขนาดข้อมูลโดยใช้ Cast operator ภาษาจาวาสามารถแปลงประเภทข้อมูลที่มีขนาดใหฌ่กว่าให้เป็นข้อมูล ขนาดเล็กกว่าโดยใช้ Cast operator ซึ่งจะเขียนประเภทของข้อมูลที่ต้องการ แปลงไว้ในเครื่องหมายวงเล็บแล้วนาไปไว้ด้านหน้าของตัวแปรหรือนิพจน์ที่ ต้องการ การดาเนินการสาหรับการคูณและการหารนั้น อาจไม่ได้ปลลัพธ์ตามที่ ต้องการ โดยเฉพาะการหารตัวเลขที่ได้ปลลัพธ์เป็นทศนิยมต้องกาหนดปลลัพธ์ เป็น ค่าตัวแปรแบบจานวนจริง (Floating point) เพื่อนามาเก็บและรับค่าปลของ การ คานวณซึ่งหากปลการคานวณได้ค่าของตัวเลขที่ไม่ใช่ ชนิดเดิมของข้อมูลที่ นามา ดาเนินการสามารถแปลงค่าต่างๆของเลขได้
  • 21. โปรแกรมภาษาจาวามีตัวดาเนินการในการแปลงชนิดข้อมูล ดังตารางดังนี้ การแปลงขนาดข้อมูลโดยใช้ Cast operator ค่าการแปลง ค่าอธิบาย int เป็น float ตัวแปร int ถูกแปลงเป็น float (โดยค่าไม่เปลี่ยนแปลง) float เป็น int ตัวแปร float ถูกแปลงเป็น int (โดยตัดเศษทิ้ง) int เป็น char ตัวแปร int ถูกแปลงเป็น char (โดยตัดบิตที่เกินออก) char เป็น int ตัวแปร char ถูกแปลงเป็น int (เครื่องหมายอาจเปลี่ยนแปลง) double เป็น float ตัวแปร double ถูกแปลงเป็น char t (โดยค่าอาจถูกตัดทิ้ง) float เป็น double ตัวแปร float ถูกแปลงเป็น double (โดยค่าไม่เปลี่ยนแปลง)
  • 22. คลาสสตริง (String Class) ภาษาจาวาได้กาหนดคลาสๆ หนึ่งมาให้แล้วชื่อว่า String ประกอบด้วย เมธอดและคอนสตรักเตอร์มากมายให้ใช้งาน ซึ่งส่วนใหฌ่จะเกี่ยวข้องกับข้อมูล ประเภทข้อความเป็นส่วนใหฌ่ การประกาศตัวแปรอ้างอิงสาหรับคลาส String ทาได้ดังนี้ String str1 ; สมมุติว่าเราต้องการให้อินสแตนท์ของคลาส String เก็บค่าคงตัวแบบข้อความ ว่า "Hello World" เราทาได้ด้วยการเรียกคอนสตรักเตอร์ดังนี้ str1 = new String("Hello World") ; คอนสตรักเตอร์ของคลาส String มีการส่งป่านตัวแปรแบบค่าคงตัว ซึ่งก็คือ ค่าที่เรา ต้องการเก็บนั่นเอง คอนสรักเตอร์แบบไม่มีการส่งป่านค่าก็มีเช่น str1 = new String() ;
  • 23. คลาสสตริง (String Class) ซึ่งถ้าพิจารณาตามหลักการแล้วไม่น่าจะจับให้เท่ากับค่าคงตัวได้ แต่ สาหรับคลาส String แล้วเป็นกรณีพิเศษโดยเฉพาะ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ //TestString01.java public class TestString01 { public static void main(String[] args) { String str = "Hello World" ; // (1) System.out.println(str) ; } }
  • 24. โปรแกรม TestString01.java จะให้ปลลัพธ์เช่นเดียวกันกับโปรแกรม HelloWorld.java ที่ป่านมา เพียงแต่คราวนี้เราใช้ตัวแปรสริงแทนการใช้ค่าคงตัว แบบ ข้อความในการแสดงปลออกหน้าจอ ในบรรทัด (1) จะเห็นได้ว่าเราใช้งาน คลาส String เหมือนกับว่ามันเป็นตัวแปรชนิดหนึ่ง ซึ่งเราอาจสงสัยว่า ทาไมจา วาไม่สร้างตัวแปรสตริงในลักษณะเดียวกันกับตัวแปรอื่นๆ ทาไมต้องสร้างเป็น คลาสด้วย ข้อดีอย่างหนึ่งของการสร้างให้เป็นคลาสคือเราสามารถสร้างเมธอด ขึ้นมาช่วยช่วยการจัดการตัวแปรแบบสตริง คลาสสตริง (String Class)
  • 25. เมธอดรับข้อมูลพื้นฐาน การรับข้อมูลทางคีย์บอร์ดในภาษาจาวานั้นจะต้องสร้าง object ของ class Scanner ก่อนซึ่งจะประกาศตัวแปร object ชื่อ keyboard ให้อยู่ใน class Scanner เพื่อใช้เป็นตัวแป้น object ในการรับข้อมูลทางคีย์บอร์ด จากนั้นต้อง สร้าง object ขึ้นมาโดยใช้คาว่า new ซึ่งจะทาให้คอมพิวเตอร์จองหน่วยความจา เพื่อให้ตัว object นั้นสามารถอ้างถึง
  • 26. เมธอดรับข้อมูลพื้นฐาน ในคลาส Scanner นั้นมีเมธอดสาหรับอ่านข้อมูลประเภทต่างๆ หลายประเภทดังนี้ เมธอด การท่างาน nextByte() รับข้อมูลเลขจานวนเต็มชนิด Byte ทางแป้นพิมพ์ nextDouble() รับข้อมูลเลขทศนิยมชนิด Double ทางแป้นพิมพ์ nextFloat() รับข้อมูลเลขทศนิยมชนิด Float ทางแป้นพิมพ์ nextInt() รับข้อมูลเลขจานวนเต็มชนิด Int ทางแป้นพิมพ์ nextLine() รับข้อมูลแบบสตริงทางแป้นพิมพ์ nextLong() รับข้อมูลตัวเลขชนิด Long ทางแป้นพิมพ์ nextShort() รับข้อมูลตัวเลขชนิด Short ทางแป้นพิมพ์
  • 27. การใช้ import ในภาษาจาวาคลาสต่างๆ จะถูกรวมไว้เป็นแพ็กเกจซึ่งสามารถเรียกใช้ ด้วย คาสั่ง import เพื่อบอกให้คอมไพเลอร์รู้ว่าจะนาคลาสมาจากที่ใด โดยเขียน คาสั่ง import ไว้ที่ส่วนหัวของโปรแกรม เช่น การใช้งานคลาส Scanner จะต้องเขียนดังนี้ import java.util.Scanner เป็นการเรียกใช้คลาส Scanner ที่เก็บอยู่ใน util โดย util นี้เก็บ อยู่ในแพ็กเกจหลักชื่อ java
  • 28. ปู้จัดทา นางสาวจิณห์วรา ปาลพันธ์ เลขที่ 17 นางสาวเกศรา ลิขิตสกุลวงศ์ เลขที่ 34 นางสาวธัฌวรัตม์ พงษ์ไทยสงค์ เลขที่ 35 นางสาวเมทินี อบเชย เลขที่ 36 นางสาวสุพิชฌาย์ เที่ยงธรรม เลขที่ 38 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1