SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
เปิดประตูสู่ "อาเซียน"
ASEAN ย่อมาจากคาว่าAssociationofSoutheastAsian Nations มีชื่อเป็นทางการว่า
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือเรียกสั้นๆว่า อาเซียน
อาเซียนก่อตั้งขึ้นโดยประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 5ประเทศได้แก่ อินโดนิเซียมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์
และไทยร่วมกันจัดทาปฏิญญาอาเซียน(TheASEAN Declaration)ที่มีชื่อว่า ปฏิญญากรุงเทพฯ(BangkokDeclaration)
เนื่องจากมีการลงนามปฏิญญาเมื่อวันที่8สิงหาคมพ.ศ. 2510ที่วังสราญรมย์ซึ่งในเวลานั้นเป้นที่ตั้งของกระทรวงการต่างประเทศ
กรุงเทพมหานคร
คาขวัญของอาเซียนคือ “ OneVision, OneIdentity, One Community.” หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งอัตลักษณ์ หนึ่งประชาคม
เดิมกาหนดเป้าหมายที่จะตั้งขึ้นในปี 2563แต่ต่อมาได้ตกลงกันเลื่อนกาหนดให้เร็วขึ้นเป็นปี 2558
และก้าวสาคัญต่อมาคือการจัดทาปฏิญญาอาเซียน(ASEAN Charter) ซึ่งมีผลใช้บังคับแล้วตั้งแต่เดือนธันวาคมปี 2552
นับเป็นการยกระดับความร่วมมือของอาเซียนเข้าสู่มิติใหม่ในการสร้างประชาคม
โดยมีพื้นฐานที่แข็งแกร่งทางกฎหมายและมีองค์กรรองรับการดาเนินการเข้าสู่เป้าหมายดังกล่าวภายในปี 2558
ปัจจุบันประเทศสมาชิกอาเซียนรวม10 ประเทศได้แก่ ไทย พม่า มาเลเซียอินโดนีเซียฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เวียดนามลาวกัมพูชา
บรูไน
สาหรับเสาหลักการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(ASEAN EconomicCommunityหรือ AEC )ภายในปี 2558
เพื่อให้อาเซียนมีการเคลื่อนย้ายสินค้าบริการการลงทุนแรงงานฝีมืออย่างเสรี และเงินทุนที่เสรีขึ้นต่อมาในปี 2550
อาเซียนได้จัดทาพิมพ์เขียวเพื่อจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(AECBlueprint)
เป็นแผนบูรณาการงานด้านเศรษฐกิจให้เห็นภาพรวมในการมุ่งไปสู่AECซึ่งประกอบด้วยแผนงานเศรษฐกิจในด้านต่างๆ
พร้อมกรอบระยะเวลาที่ชัดเจนในการดาเนินมาตรการต่างๆจนบรรลุเป้าหมายในปี 2558
รวมทั้งการให้ความยืดหยุ่นตามที่ประเทศสมาชิกได้ตกลงกันล่วงหน้า
ในอนาคต AEC จะเป็นอาเซียน+3โดยจะเพิ่มประเทศจีน เกาหลีใต้ และญี่ปุ่นเข้ามาอยู่ด้วยและต่อไปก็จะมีการเจรจา อาเซียน+6
จะมีประเทศ จีนเกาหลีใต้ ญี่ปุ่นออสเตรเลียนิวซีแลนด์และ อินเดียต่อไป
สัญลักษณ์ของอาเซียน
รูปรวงข้าวสีเหลืองบนพื้นสีแดงล้อมรอบด้วยวงกลมสีขาวและสีน้าเงิน
-รูปรวงข้าวสีเหลือง10ต้นมัดรวมกันไว้ หมายถึงประเทศสมาชิกรวมกันเพื่อมิตรภาพและความเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน
-พื้นที่วงกลมสีแดงสีขาวและน้าเงินซึ่งแสดงถึงความเป็นเอกภาพ
-ตัวอักษรคาว่า“asean”สีน้าเงินอยู่ใต้ภาพรวงข้าวอันแสดงถึงความมุ่งมั่นที่จะทางานร่วมกันเพื่อความมั่นคงสันติภาพเอกภาพ
และความก้าวหน้าของประเทศสมาชิกอาเซียน
สีน้าเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง
สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและความก้าวหน้า
สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์
สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง
อาเซียนรวมตัวกันเพื่อความร่วมมือกันทางการเมืองความมั่นคงเศรษฐกิจและวัฒนธรรมและได้มีการพัฒนาการเรื่อยมา
จนถึงขณะนี้ที่เรามีกฎบัตรอาเซียน(ธรรมนูญอาเซียนหรือ ASEAN Charter)
ซึ่งเป็นเสมือนแนวทางการดาเนินงานที่จะนาไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนซึ่งประกอบด้วย 3เสาหลักคือ
1.การเมืองความมั่นคง
2.เศรษฐกิจ(AEC)
3.สังคมและวัฒนธรรม
ซึ่งทั้งหมดนี้ก็มีพัฒนาการไปด้วยกันโดยเหตุที่คนส่วนใหญ่มักจะพูดถึงแต่ AECซึ่งก็คือด้านเศรษฐกิจหรือ
“ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน”
คงเป็นเพราะว่าเรื่องเศรษฐกิจเป็นเรื่องที่ดูจะจับต้องได้มากกว่าเรื่องอื่นๆ อีกทั้งในการขับเคลื่อนส่วนใหญ่แล้วที่มักจะก้าวไปเร็วกว่าส่
วนอื่นๆก็คือภาคธุรกิจดังนั้นคนอาจจะรับรู้เรื่องAEC มากกว่ามิติความร่วมมืออื่นๆของอาเซียน
อย่างไรก็ดีความร่วมมือทั้ง3เสาหลักของอาเซียนก็มีความสาคัญด้วยกันทั้งสิ้น
เพราะการสร้างประชาคมอาเซียนย่อมหมายถึงการร่วมมือและหลอมรวมกันในทุกมิติ
และแต่ละมิติก็ล้วนมีความสาคัญและส่งเสริมซึ่งกันและกัน
เราคงไม่อาจผลักดันความร่วมมือทางเศรษฐกิจได้หากปราศจากความมั่นคงทางการเมืองหรือความเข้าใจกันของคนในอาเซียน
ขณะนี้มีความเข้าใจคลาดเคลื่อนเรื่องการเปิดเสรีแรงงานในอาเซียนจะทาได้อย่างอิสระตัวอย่างเช่น
แรงงานสามารถข้ามฝั่งโขงไปก็หางานทาอีกประเทศหนึ่งได้เลยข้อเท็จจริงไม่ได้เป็นเช่นนั้น
เพราะการเปิดเสรีด้านแรงงานที่อาเซียนได้เจรจากันครอบคลุมเฉพาะในส่วนของแรงงานมีฝีมือ
ขณะนี้อาเซียนได้จัดทาข้อตกลงยอมรับร่วมในคุณสมบัติวิชาชีพเพียง7สาขาคือแพทย์ ทันตแพทย์พยาบาลนักบัญชีวิศวกร
สถาปนิกและชางสารวจแต่การที่แรงงานมีฝีมือใน7สาขาดังว่าจะเข้ามาทางานในประเทศต่างๆในอาเซียนได้
จะต้องทาตามขั้นตอนและกฎระเบียบภายในประเทศต่างๆอยู่ดีเช่น
หากต้องการทางานในไทยก็ต้องผ่านการสอบใบประกอบวิชาชีพหรือผ่านขั้นตอนการประเมินตามเงื่อนไขภายใต้การกากับดูแลของหน่
วยงานที่เกี่ยวข้องของไทยเสียก่อน
อย่างไรก็ตามในส่วนของแรงงานไร้ฝีมือไม่อยู่ในขอบเขตของการเปิดเสรีด้านบริการอาเซียน
ดังนั้นการเปิดเสรีเป็นคนละส่วนกับปัญหาแรงงานต่างด้าวทั่วไปรวมถึงแรงงานต่างด้าวที่ลักลอบเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย
ซึ่งในส่วนนั้นประเทศไทยได้พยายามร่วมมือกับรัฐบาลประเทศเพื่อนบ้านเพื่อแก้ไขปัญหาและจัดระเบียบ
เมื่อไม่นานมานี้มีการสอบถามความตระหนักรู้ของประชาชนใน10ประเทศสมาชิกเกี่ยวกับอาเซียนปรากฏว่าไทยอยู่ในอันดับท้ายๆ
ขณะที่ประเทศสมาชิกใหม่ของอาเซียน(CLMV) อย่าง ลาวกัมพูชาเมียนมาร์ และเวียดนาม
กลับรู้จักและเห็นความสาคัญของอาเซียนมากกว่าเพราะเขาติดตามข่าวสารเกี่ยวกับประเทศไทยซื้อสินค้าไทยดูละครไทย
และเรียนรู้ภาษาไทยกันมากขึ้นคนไทยเป็นคนเก่งมีจุดแข็งและมีความโดดเด่นหลายด้านและไม่ได้ด้อยเรื่องความรู้ความสามารถ
แต่ยังมีจุดอ่อนอันดับแรกในเรื่องของภาษาโดยเฉพาะภาษาอังกฤษซึ่งเป็นภาษาทางการของอาเซียนซึ่งต้องพัฒนาอีกมาก
นอกจากนี้เราต้องหันมาให้ความสนใจกับประเทศเพื่อนบ้านอาเซียนด้วยกันเองมากขึ้นว่าตอนนี้เขาทาอะไรกัน
มีพัฒนาการในเรื่องใดมีความแข็งแกร่งและมีจุดอ่อนในเรื่องไหนเพราะเมื่อรวมตัวกันเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558
ประเทศในอาเซียนจะมีการติดต่อกันมากขึ้น
อาเซียนน่ารู้
สานักงานเลาขาธิการอาเซียนแห่งชาติ(ASEAN NationalSecretariat)
มีหน้าที่ประสานงานกิจการอาเซียนและติดตามผลการดาเนินงานภายในประเทศสาหรับประเทศไทยมีกรมอาเซียน
กระทรวงการต่างประเทศทาหน้าที่ดังกล่าว
ก่อนจะมาเป็นอาเซียนประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้มีการรวมตัวกันมาแล้วครั้งหนึ่งเมื่อเดือนกรกฎาคมพ.ศ.
2504 โดยมีประเทศไทยมาเลเซียและฟิลิปปินส์ร่วมกันก่อตั้ง "สมาคมอาสา (Association of Southeast
Asia)" เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมแต่มีเหตุต้องชะงักไป
ทว่าก็นับเป็นหนึ่งในจุดเริ่มต้นก่อนจะมาเป็นอาเซียนในทุกวันนี้
ลาดับการเข้าร่วมเป็นประเทศสมาชิกอาเซียน
พ.ศ. 2510สาธารณรัฐอินโดนิเซียมาเลเซียสาธารณรัฐฟิลิปปินส์สาธารณรัฐสิงคโปร์
และราชอาณาจักรไทยร่วมกันก่อตั้งอาเซียน
พ.ศ.2527บรูไนดารุสซาลามเข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อวันที่7มกราคม
พ.ศ.2528สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามเข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อวันที่28กรกฎาคม
พ.ศ.2540สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวและสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ เข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ 23
กรกฎาคม
พ.ศ.2542ราชอาณาจักรกัมพูชาเข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อวันที่9เมษายน
บทบาทของประเทศไทยในเวทีอาเซียน
ประเทศไทยมีบทบาทสาคัญในฐานะศูนย์กลางในการเชื่อมโยงประเทศต่างๆ
ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นับตั้งแต่การก่อตั้งอาเซียนเป้นต้นมา
- ประเทศไทยคือสถานที่ลงนามปฏิญญาอาเซียนซึ่งถือเป็นการก่อตั้งอาเซียนอย่างเป็นทางการจึงเรียกปฏิญญาอาเซียนว่า
ปฏิญญากรุงเทพฯ(BangkokDeclaration)
- ประเทศไทยเสนอให้อาเซียนจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน(ASEAN Free Trade Area: AFTA) เมื่อปี พ.ศ.2535
- ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก
(ASEAN RegionalForum:ARF) เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.2537
- ประเทศไทยเสนอให้มีการจัดทาความตกลงว่าด้วยการอานวยความสะดวกการขนส่งสินค้าผ่านแดนและข้ามแดน
ซึ่งมีการลงนามในกรอบความตกลงดังกล่าวเมื่อเดือนธันวาคมพ.ศ.2541
- ขณะที่เป็นประธานอาเซียนในปี พ.ศ.2551-2552ประเทศไทยได้รับมอบหมายให้วางรากฐานการจัดตั้งประชาคมอาเซียน
ซึ่งสาเร็จลุล่วงด้วยดีโดยมีการลงนามในปฏิญญาชะอา-หัวหิน
ว่าด้วยแผนงานสาหรับประชาคมอาเซียนในการประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่14เมื่อวันที่ 1 มีนาคมพ.ศ.2552
ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน
คนไทยเคยดารงตาแหน่งเลขาธิการอาเซียน2คน คนแรกคือนายแผนวรรณเมธีอดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ
ดารงตาแหน่งระหว่างปี พ.ศ.2527-2529คนที่สองคือดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณดารงตาแหน่งระหว่างปี พ.ศ.2551-2555
คานี้น่ารู้เกี่ยวกับอาเซียน
"ปฏิญญา" หมายถึงคาประกาศเจตนารมณ์ร่วมกันของประเทศสมาชิก
อาเซียนน่ารู้
ผู้แทนทั้งห้าประเทศที่เป็นผู้ลงนามในปฏิญญากรุงเทพฯประกอบด้วย
1. ไทย-พันเอก(พิเศษ)ดร.ถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรัว่าการกระทรวงการต่างประเทศในรัฐบาลจอมพลถนอมกิตติขจร
2. อินโดนิเซีย-นายอาดัมมาลิครัฐมนตรีฝ่ายการเมืองและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
3. มาเลเซีย-นายตุนอับดุลราซัคบิน อุสเซนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ
4. ฟิลิปปินส์-นายนาร์ซิโซรามอสรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
5. สิงคโปร์-นายเอส.ราชารัตนัมรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
ปฏิญญากรุงเทพฯกาหนดวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งอาเซียนไว้ 7ประการดังนี้
1. ส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในทางเศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรมเทคโนโลยีวิทยาศาสตร์
และการบริหาร
2. ส่งเสริมสันติภาพและความมั่งคงในภูมิภาค
3. เสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจพัฒนาการทางวัฒนธรรมในภูมิภาค
4. ส่งเสริมให้ประชาชนในอาเซียนมีความเป็นอยู่และคุรภาพชีวิตที่ดี
5. ให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในรูปขแงการฝึกอบรมและการวิจัยและส่งเสริมการศึกษาด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
6. เพิ่มประสิทธิภาพของการเกษตรและอุตสาหกรรมการขยายการค้าตลอดตนการปรับปรุงการขนส่งและคมนาคม
7. เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอกองค์กรความร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นและองค์กรระหว่างประเทศ
ต่อมาในปี พ.ศ. 2514ประเทศสมาชิกได้ลงนามในปฏิญญาสมานฉันท์อาเซียนให้ก่อตั้งสานักงานเลขาธิการอาเซียน(ASEAN
Secretariat) ขึ้นที่กรุงจาการ์ตาประเทศอินโดนิเซียเพื่อเป็นศูนย์กลางในการติดต่อระหว่างประเทสสมาชิก
ปัจจุบันอาเซียนมีประเทศสมาชิกทั้งหมด10ประเทศ คงเหลือแต่สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์-
เลสเตเพียงประเทศเดียวในภูมิภาคนี่ที่ยังไม่ได้เข้าเป็นสมาชิกเนื่องจากเป็นประเทศที่เพิ่งเกิดใหม่เมื่อปี พ.ศ. 2545 มานี้เอง
วันอาเซียน
กาหนดให้เป็นวันที่8 สิงหาคมของทุกปีเป็นวันอาเซียนเนื่องจากเป็นวันลงนามปฏิญญากรุงเทพเมื่อปี พ.ศ.2510
ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของอาเซียนนั่นเอง
เพลงอาเซียน
เพลงอาเซียน(ASEAN Anthem) ซึ่งเป็นเสมือนเพลงชาติของประเทศสมาชิกทั้ง10ประเทศเกิดขึ้นจากการจัดประกวดเมื่อปี
พ.ศ.2551 เปิดให้ประชาชนในประเทศสมาชิกอาเซียนที่สนใจส่งเพลงเข้าประกวดโดยมีหลักเกณฑ์5ประการคือ
1.มีเนื้อร้องเป็นภาษาอังกฤษ
2.มีลักษณะเป็นเพลงชาติประเทศสมาชิกอาเซียน
3.มีคามยาวไม่เกิน1นาที
4.เนื้อร้องสะท้อนความเป็นหนึ่งเดียวของอาเซียน
5.เป็นเพลงที่แต่งขึ้นใหม่
ในครั้งนั้นมีผู้ส่งผลงานเข้าประกวดทั้งสิ้น99เพลง
คณะกรรมการการตัดสินซึ่งประกอบด้วยตัวแทนจากแต่ละประเทศในอาเซียนและตัวแทนจากจีนญี่ปุ่นและออสเตรเลียประเทศละ 1
คนได้ตัดสินให้เพลงที่ชนะเลิศได้แก่ TheASEAN Way ประพันธ์โดยนายกิตติคุณสุดประเสริฐ(ทานองและเรียบเรียง)นายสาเภา
ไตรอุดม(ทานอง) และนางพยอมวลัยพัชรา(เนื้อร้อง)
The ASEAN WAY
ทำนองและเรียบเรียง กิตติคุณสุดประเสริฐ
ทำนอง สำเภำ ไตรอุดม
เนื้อร้อง พยอม วลัยพัชรำ
Raise our flag high,skyhigh
Embracethepridein our heart
ASEAN we are bondedasone
Lookin'out to the world.
For peace,our goalfrom the very start
And prosperityto last.
We dare to dream,we care to share
Togetherfor ASEAN
We dare to dream,we care to share
For it'sthe wayof ASEAN.
วิถีแห่งอาเซียน
เนื้อร้องภำษำไทย สุรักษ์ สุขเสวี
พลิ้วสู่ลมโบกสะบัดใต้หมู่ธงปลิวไสว
สัญญาณแห่งสัญญาทางใจ
วันที่เรามาพบกัน
อาเซียนเป็นหนึ่งดังที่ใจเราปรารถนา
เราพร้อมเดินหน้าไปทางนั้น
หล่อหลอมจิตใจให้เป็นหนึ่งเดียว
อาเซียนยึดเหนี่ยวสัมพันธ์
ให้สังคมนี้มีแต่แบ่งปัน
เศรษฐกิจมั่งคงก้าวไกล
ชื่อประเทศ ธง เมืองหลวง
บรูไนดารุสซาลาม(BRUNEIDARUSSALAM)
บันดาร์เสรีเบกาวัน
ราชอาณาจักรกัมพูชา(KINGDOMOF
CAMBODIA)
พนมเปญ
สาธารณรัฐอินโดนิเซีย(REPUBLICOF
INDONESIA)
จาการ์ตา
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว(LAO
PEOPLE'SDEMOCRATICREPUBLIC)
เวียงจันทน์
มาเลเซีย(MALAYSIA) กัวลาลัมเปอร์
สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ (REPUBLICOF
UNION OF MYANMAR)
เนปิดอว์
สาธารณรัฐฟิลิปปินส์(REPUBLICOFTHE
PHILIPPINES)
มะนิลา
สาธารณรัฐสิงคโปร์ (REPUBLICOFSINGAPORE) สิงคโปร์
ราชอาณาจักรไทย(KINGDOMOF THAILAND) กรุงเทพมหานคร
แผนที่อำเซียนทั้ง 10 ประเทศ
ดอกไม้ประจําชาติอาเซียน
ดอกไม้ประจำชำติอำเซียน 10 ประเทศ
ดอกไม้ประจาชาติของบรูไน
ดอกซิมปอร์ ดอกไม้ประจำชำติบรูไน
ดอกไม้ประจาชาติบรูไนก็คือดอกซิมปอร์ (Simpor)หรือที่รู้จักกันในชื่อดอกส้านชะวา(Dillenia)ดอกไม้ประจาท้องถิ่นบรูไน
ที่มีกลีบขนาดใหญ่สีเหลืองหากบานเต็มที่แล้วกลีบดอกจะมีลักษณะคล้ายร่มพบเห็นได้ตามแม่น้าทั่วไปของบรูไน
มีสรรพคุณช่วยรักษาบาดแผลหากใครแวะไปเยือนบรูไนจะพบเห็นได้จากธนบัตรใบละ 1ดอลลาร์ ของประเทศบรูไน
และในงานศิลปะพื้นเมืองอีกด้วย
ดอกไม้ประจาชาติของกัมพูชา
ดอกลำดวน ดอกไม้ประจำชำติกัมพูชำ
กัมพูชามีดอกไม้ประจาชาติเป็นดอกลาดวน(Rumdul)ดอกไม้สีขาวปนเหลืองนวลกลีบดอกหนาทึบและแข็งเล็กน้อย
มีกลิ่นหอมเย็นแบบกรุ่นๆ ถูกจัดเป็นไม้มงคลชนิดหนึ่งเพราะมีความหมายถึงความสดชื่นหอมกรุ่นและเป็นดอกไม้สาหรับสุภาพสตรี
วิธีปลูกที่ถูกต้องต้องปลูกไว้ในทิศตะวันตกเฉียงเหนือของตัวบ้านที่สาคัญต้องปลูกในวันพุธด้วยนะ
ดอกไม้ประจาชาติของอินโดนีเซีย
ดอกกล้วยไม้รำตรี ดอกไม้ประจำชำติอินโดนีเซีย
ดอกไม้ประจาชาติอินโดนีเซีย
ดอกไม้ประจาชาติอินโดนีเซียคือดอกกล้วยไม้ราตรี (MoonOrchid)ซึ่งเป็นหนึ่งในดอกกล้วยไม้ที่บานอยู่ได้นานที่สุด
โดยช่อดอกนั้นสามารถแตกกิ่งและอยู่ได้นาน2-6เดือน โดยดอกจะบานแค่ปีละ2-3ครั้งเท่านั้น
ทั้งนี้ดอกกล้วยไม้ราตรีสามารถเจริญเติบโตได้ดีในอากาศชื้นจึงพบเห็นได้ง่ายในพื้นที่ราบต่าของประเทศอินโดนีเซีย
ดอกไม้ประจาชาติของลาว
ดอกจำปำลำว ดอกไม้ประจำชำติประเทศลำว
ดอกไม้ประจาชาติประเทศเพื่อนบ้านของไทยอย่างประเทศลาวคือดอกจาปาลาว(DokChampa)คนไทยรู้จักกันดีในชื่อ
ดอกลีลาวดีหรือดอกลั่นทมโดยดอกจาปาลาวมักมีสีสันหลากหลายไม่เฉพาะเจาะจงว่าต้องเป็นเพียงสีขาวเท่านั้นเช่นสีชมพู
สีเหลือง สีแดงหรือสีโทนอ่อนต่างๆ โดยดอกจาปาลาวนั้นเป็นตัวแทนของความสุขและความจริงใจ
จึงนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายเพื่อประดับประดาในงานพิธีต่างๆรวมทั้งใช้เป็นพวงมาลัยเพื่อรับแขกอีกด้วย
ดอกไม้ประจาชาติของมาเลเซีย
ดอกพู่ระหง หรือดอกชบำดอกไม้ประจำชำติมำเลเซีย
สาหรับประเทศมาเลเซียนั้นมีดอกไม้ประจาชาติเป็นดอกพู่ระหง(BungaRaya) ในภาษาท้องถิ่นเรียกกันว่าบุหงารายอ
หรือที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อดอกชบาสีแดง ลักษณะกลีบดอกเป็นสีแดงมีเกสรยื่นยาวออกมาเหนือดอก
ซึ่งถูกจัดให้เป็นสัญลักษณ์ของประเทศมาเลเซียเพื่อเสริมสร้างความเป็นปึกแผ่นและความอดทนในชาติ
โดยเชื่อว่าจะช่วยส่งเสริมให้สูงส่งและสง่างามรวมทั้งยังสามารถนาไปใช้ในทางการแพทย์และความงามได้อีกด้วย
ดอกไม้ประจาชาติของฟิลิปปินส์
ดอกพุดแก้ว ดอกไม้ประจำชำติฟิลิปปินส์
ดอกไม้ประจาชาติฟิลิปปินส์คือดอกพุดแก้ว(SampaguitaJasmine)ดอกมีสีขาวกลีบดอกเป็นรูปดาวมีกลิ่นหอม
บานส่งกลิ่นในตอนกลางคืนถือเป็นสัญลักษณ์ของความบริสุทธิ์เรียบง่ายอ่อนน้อมถ่อมตนรวมถึงความเข้มแข็งอีกด้วย
เคยถูกนามาใช้เฉลิมฉลองในตานานเรื่องเล่ารวมทั้งบทเพลงของฟิลิปปินส์ด้วยเช่นกัน
ดอกไม้ประจาชาติของสิงคโปร์
ดอกกล้วยไม้แวนด้ำดอกไม้ประจำชำติของประเทศสิงคโปร์
ประเทศสิงคโปร์ มี ดอกกล้วยไม้แวนด้า(VandaMissJoaquim)เป็นดอกไม้ประจาชาติ
โดยดอกกล้วยไม้แวนด้าตั้งชื่อตามผู้ผสมพันธุ์คือMiss Agnes Joaquim จัดเป็นดอกกล้วยไม้ที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดในประเทศสิงคโปร์
มีสีม่วงสดสวยงามและเบ่งบานอยู่ตลอดทั้งปี โดยถูกจัดให้เป็นดอกไม้ประจาชาติสิงคโปร์ตั้งแต่ปี ค.ศ.1981(พ.ศ.2524)
ดอกไม้ประจาชาติของไทย
ดอกรำชพฤกษ์ ดอกไม้ประจำชำติไทย
ดอกไม้ประจาชาติไทยของเราก็คือดอกราชพฤกษ์(Ratchaphruek)ที่มีสีเหลืองสวยสง่างามเมื่อเบ่งบานแล้วให้ความรู้สึกอบอุ่น
ถือเป็นสัญลักษณ์ของความมีเกียรติยศศักดิ์ศรี ซึ่งชาวไทยหลายคนรู้จักกันดีในนามของดอกคูน
โดยมีความเชื่อว่าสีเหลืองอร่ามของดอกราชพฤกษ์คือสีแห่งพระพุทธศาสนาและความรุ่งโรจน์
รวมทั้งยังเป็นสัญลักษณ์แห่งความสามัคคีปรองดองของคนในชาติอีกด้วยโดยดอกราชพฤกษ์จะเบ่งบานในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ –
พฤษภาคมมีจุดเด่นเวลาเบ่งบานคือการผลัดใบออกจนหมดต้นเหลือไว้เพียงแค่สีเหลืองอร่ามของดอกราชพฤกษ์เท่านั้น
ดอกไม้ประจาชาติของเวียดนาม
ดอกบัว ดอกไม้ประจำชำติของประเทศเวียดนำม
ประเทศเวียดนามมีดอกไม้ที่คนไทยคุ้นเคยอย่างดอกบัว(Lotus)เป็นดอกไม้ประจาชาติโดยดอกบัวเป็นที่รู้จักกันในนาม
“ดอกไม้แห่งรุ่งอรุณ”เป็ญสัญลักษณ์ของความบริสุทธิ์ความผูกพันและการมองโลกในแง่ดี
ดอกบัวจึงมักถูกกล่าวถึงในบทกลอนและเพลงพื้นเมืองของชาวเวียดนามอยู่บ่อยครั้ง
ดอกไม้ประจาชาติของพม่า
ดอกประดู่ ดอกไม้ประจำชำติของประเทศพม่ำ
ดอกไม้ประจาชาติของประเทศพม่าคือดอกประดู่ (Paduak)เป็นดอกไม้ที่พบมากในประเทศพม่ามีสีเหลืองทอง
ผลิดอกและส่งกลิ่นหอมในฤดูฝนแรกช่วงเดือนเมษายนซึ่งเป็นช่วงเวลาเดียวกับที่ประเทศพม่ามีการเฉลิมฉลองปีใหม่ขึ้น
ชาวพม่าเชื่อว่าดอกประดู่คือสัญลักษณ์ของความแข็งแรงความทนทานและเป็นดอกไม้ที่ขาดไม่ได้ในพิธีทางศาสนาของชาวพม่า
สัตว์ประจาชาติ
ไทย
ช้างเป็นสัตว์ประจาชาติไทยมาอย่างยาวนานโดยในสมัยโบราณบ้านเรามีช้างอยู่มากมายนับแสนตัว
ช้างส่วนมากจะถูกใช้ในการสงครามเป็นหลักต่อมาเมื่อมีอาวุธสมัยใหม่เข้ามาแทนที่ช้างจึงถูกนาไปใช้แรงงานจาพวกชักลากไม้ในป่า
และในปัจจุบันช้างเป็นสัตว์อนุรักษ์ที่ถูกใช้ในงานการแสดงและการท่องเที่ยวประเทศไทยเคยใช้ช้างเป็นส่วนหนึ่งของธงชาติเรียกว่าธ
งช้างเผือกก่อนจะถูกเปลี่ยนมาใช้ธงไตรรงค์อย่างในปัจจุบันเมื่อปี พ.ศ.2460
แต่ยังมีธงหน่วยงานราชการบางแห่งที่ใช้ใช้ช้างเป็นองค์ประกอบเช่นธงของราชนาวีไทยเป็นต้น
ดังนั้นจึงไม่ต้องแปลกใจเลยว่าทาไมช้างจึงถูกเรียกว่าเป็นสัตว์ประจาชาติไทย
 สัตว์ประจําชาติของประเทศไทยคือ ช้าง
 สัตว์ประจําชาติของประเทศกัมพูชาคือกูปรี
กูปรี หรือโคไพรเป็นสัตว์จาพวกกระทิงหรือวัวป่าชนิดหนึ่งเป็นสัตว์กีบคู่ตัวโตโคนขาใหญ่ ปลายหางเป็นพู่ขน
ปัจจุบันกูปรีอยู่ในสถานะสูญพันธุ์โดยไม่มีรายงานการพบกูปรีในป่าธรรมชาติมานานหลายสิบปีแล้ว
แต่นักอนุรักษ์ส่วนใหญ่เชื่อว่าจะยังสามารถพบกูปรีได้ตามป่าชายแดนไทนและกัมพูชา(แต่ไม่เคยมีรายงานยืนยัน)
กูปรีถูกประกาศให้เป็นสัตว์ประจาชาติกัมพูชาโดยสมเด็จเจ้านโรดมสีหนุอดีตกษัตริย์ของกัมพูชา
นอกจากกูปรีจะเป็นสัตว์ประจาชาติของกัมพูชาแล้วยังพบว่ากูปรียังเป็นส่วนหนึ่งของตราสัญญลักษณ์ของ
มูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่าและพรรณพืชแห่งประเทศไทยในพระบรมราชินูปถัมภ์อีกด้วย
ที่ตั้ง
พื้นที่

More Related Content

Viewers also liked

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลsangkeetwittaya stourajini
 
ท่องทั่วไทย 77 จังหวัด
ท่องทั่วไทย 77 จังหวัดท่องทั่วไทย 77 จังหวัด
ท่องทั่วไทย 77 จังหวัดsangkeetwittaya stourajini
 
ราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชาราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชาsangkeetwittaya stourajini
 
El negocio americano
El negocio americanoEl negocio americano
El negocio americanoAbrahamShiera
 
удивительные факты о животных№2
удивительные факты о животных№2удивительные факты о животных№2
удивительные факты о животных№2AnastasiyAnastasiy
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือsangkeetwittaya stourajini
 
El misterio de la Astronomia
El misterio de la AstronomiaEl misterio de la Astronomia
El misterio de la AstronomiaAbrahamShiera
 
жизнь диких животных зимой.
жизнь диких животных зимой.жизнь диких животных зимой.
жизнь диких животных зимой.AnastasiyAnastasiy
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลsangkeetwittaya stourajini
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลsangkeetwittaya stourajini
 
Direito Constitucional
Direito ConstitucionalDireito Constitucional
Direito ConstitucionalMan Rocha
 
Plano de Ensino Comunicação Digital em PP
Plano de Ensino Comunicação Digital em PPPlano de Ensino Comunicação Digital em PP
Plano de Ensino Comunicação Digital em PPPri Guimaraes
 

Viewers also liked (15)

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ท่องทั่วไทย 77 จังหวัด
ท่องทั่วไทย 77 จังหวัดท่องทั่วไทย 77 จังหวัด
ท่องทั่วไทย 77 จังหวัด
 
Amigo un minuto
Amigo un minutoAmigo un minuto
Amigo un minuto
 
ราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชาราชสดุดีคีตมหาราชา
ราชสดุดีคีตมหาราชา
 
El negocio americano
El negocio americanoEl negocio americano
El negocio americano
 
удивительные факты о животных№2
удивительные факты о животных№2удивительные факты о животных№2
удивительные факты о животных№2
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
 
медведь
медведьмедведь
медведь
 
El misterio de la Astronomia
El misterio de la AstronomiaEl misterio de la Astronomia
El misterio de la Astronomia
 
жизнь диких животных зимой.
жизнь диких животных зимой.жизнь диких животных зимой.
жизнь диких животных зимой.
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
Dinâmicas
DinâmicasDinâmicas
Dinâmicas
 
Direito Constitucional
Direito ConstitucionalDireito Constitucional
Direito Constitucional
 
Plano de Ensino Comunicação Digital em PP
Plano de Ensino Comunicação Digital em PPPlano de Ensino Comunicação Digital em PP
Plano de Ensino Comunicação Digital em PP
 

Similar to ประชาคมอาเซียน

ประชาคมอาเซียน.docx
ประชาคมอาเซียน.docxประชาคมอาเซียน.docx
ประชาคมอาเซียน.docxPingladaPingladaz
 
ประชาคมอาเซียน.docx
ประชาคมอาเซียน.docxประชาคมอาเซียน.docx
ประชาคมอาเซียน.docxpinglada
 
การดำเนินชีวิตของคนไทยเมื่อเข้า
การดำเนินชีวิตของคนไทยเมื่อเข้าการดำเนินชีวิตของคนไทยเมื่อเข้า
การดำเนินชีวิตของคนไทยเมื่อเข้าNuttapong Wongwun
 

Similar to ประชาคมอาเซียน (6)

ประชาคมอาเซียน.docx
ประชาคมอาเซียน.docxประชาคมอาเซียน.docx
ประชาคมอาเซียน.docx
 
ประชาคมอาเซียน.docx
ประชาคมอาเซียน.docxประชาคมอาเซียน.docx
ประชาคมอาเซียน.docx
 
ประวัติอาเซียน
ประวัติอาเซียนประวัติอาเซียน
ประวัติอาเซียน
 
Is2
Is2Is2
Is2
 
การดำเนินชีวิตของคนไทยเมื่อเข้า
การดำเนินชีวิตของคนไทยเมื่อเข้าการดำเนินชีวิตของคนไทยเมื่อเข้า
การดำเนินชีวิตของคนไทยเมื่อเข้า
 
Narongrit sahat
Narongrit sahatNarongrit sahat
Narongrit sahat
 

More from sangkeetwittaya stourajini

ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาsangkeetwittaya stourajini
 
ประวัติพระพุทธเจ้า
ประวัติพระพุทธเจ้าประวัติพระพุทธเจ้า
ประวัติพระพุทธเจ้าsangkeetwittaya stourajini
 
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยรำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยsangkeetwittaya stourajini
 
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์sangkeetwittaya stourajini
 

More from sangkeetwittaya stourajini (20)

พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
พระไตรปิฏก
พระไตรปิฏกพระไตรปิฏก
พระไตรปิฏก
 
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
 
ประวัติพระพุทธเจ้า
ประวัติพระพุทธเจ้าประวัติพระพุทธเจ้า
ประวัติพระพุทธเจ้า
 
ชาดก
ชาดกชาดก
ชาดก
 
ละครรำ
ละครรำละครรำ
ละครรำ
 
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยรำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
 
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์
 
โขน
โขนโขน
โขน
 
Dance
DanceDance
Dance
 
Thai music2
Thai music2Thai music2
Thai music2
 
Thai music3
Thai music3Thai music3
Thai music3
 
Thai music4
Thai music4Thai music4
Thai music4
 
Thai music5
Thai music5Thai music5
Thai music5
 
Thai music6
Thai music6Thai music6
Thai music6
 
Thai music7
Thai music7Thai music7
Thai music7
 
Thai music8
Thai music8Thai music8
Thai music8
 
Thai music9
Thai music9Thai music9
Thai music9
 
Thai music10
Thai music10Thai music10
Thai music10
 
Thai music11
Thai music11Thai music11
Thai music11
 

ประชาคมอาเซียน