SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
ข้อเสนอ HITAP จากโครงการพัฒนาตัวชี้วัด
เกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ
โครงการทบทวนและพัฒนาตัวชี้วัดคุณภาพและผลงาน
บริการปฐมภูมิ (QOF)
สปสช.สนับสนุน HITAP ดาเนินงานใน 2 ระยะ
• ระยะที่ 1 เมย.58 -กย.58
o ทบทวนการดาเนินงาน QOF ของ สปสช.
o Review QOF ต่างประเทศ
• ระยะที่ 2 ตค.58-เมย.59
o พัฒนาตัวชี้วัด QOF ชุดใหม่
2
ประเด็นการนาเสนอ
•ผลการทบทวนการดาเนินงาน จากโครงการ QOF ระยะที่
1
• ผลการพัฒนาตัวชี้วัดจากโครงการQOF ระยะที่ 2
• ข้อเสนอแนะต่อการบริหารจัดการโครงการ
• แนวทางการนาผลการศึกษาของ HITAP มาใช้ประโยชน์
3
4
การกากับและติดตามโครงการวิจัย
คณะกรรมการกากับทิศโครงการงบจ่ายตามตัวชี้วัดเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ
นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล
ดร.นพ.ยงยุทธ พงษ์สุภาพ สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
นพ.จักรกริช โง้วศิริ สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
นพ.ประสิทธิ์ชัย มั่งจิตร โรงพยาบาลแก่งคอย จ.สระบุรี
พญ.สุพัตรา ศรีวณิชชากร มูลนิธิวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
รศ.พญ.ประสบศรี อึ้งถาวร ผู้ทรงคุณวุฒิ
นพ.พนา พงศ์ชานะภัย โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชหล่มเก่า จ.เพชรบูรณ์
ดร.นพ.ยศ ตีระวัฒนานนท์ โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ
พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
นางจุฬาดา สุขุมาลวรรณ์ สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
นางบารุง ชลอเดช สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ดร.ภญ.จันทนา พัฒนเภสัช โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ
นพ.อานวย กาจีนะ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นพ.ชูชัย ศรชานิ สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
นพ.ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นายนิมิตร์ เทียนอุดม ผู้อานวยการมูลนิธิเข้าถึงเอดส์
5
ผลสัมฤทธิ์/ประสิทธิผลของโครงการ
ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ เนื่องจาก
• หน่วยบริการรู้สึกว่างบประมาณ QOF เป็นเงิน
ของหน่วยบริการอยู่แล้ว
• ต้องใช้เวลาสาหรับการพัฒนาคุณภาพและมี
ปัจจัยอื่นๆที่ส่งผลต่อคุณภาพงานบริการปฐม
ภูมิ เช่น จานวนเจ้าหน้าที่
• การออกแบบตัวชี้วัด และหลักเกณฑ์ต่างๆ ยัง
ไม่เหมาะสม
• การจัดสรรงบประมาณยังไม่สร้างแรงจูงใจแก่
บุคคลากรเท่าที่ควร
• ไม่มีการศึกษา วิจัยรองรับตัวชี้วัดที่ใช้ใน
โครงการ
บรรลุวัตถุประสงค์ เนื่องจาก
 หน่วยบริการได้งบประมาณเพิ่มขึ้น
 เงิน QOF เป็นเงินบารุง ทาให้มีความคล่องตัว
ในการบริหารจัดการ
 สร้างขวัญ กาลังใจ แก่ผู้ปฏิบัติงาน
 ช่วยให้เกิดการทางานประสานกันระหว่าง
เครือข่าย (ทางานเป็นทีม)
 ตัวชี้วัด QOF สามารถใช้ชี้ทิศทางนโยบายด้าน
สุขภาพ
• การพัฒนานโยบาย
• กันเงินจากงบเหมาจ่ายรายหัว ไม่สามารถสร้างแรงจูงใจ
• บริหารจัดการตัวชี้วัดและเกณฑ์การจัดสรรงบประมาณระดับเขตไม่เป็น
มาตรฐานเดียวกัน บางตัวชี้วัดเป็นภาระแก่ผู้ปฏิบัติงานเพราะไม่ได้ใช้ข้อมูล
ในฐานข้อมูลที่มีอยู่เดิม (43 แฟ้ ม) ส่วนใหญ่เป็นการให้พื้นที่เก็บข้อมูลใหม่
(ตัวชี้วัดเขต – ออกแบบการเก็บเป็นภาระพื้นที่ )
• การพัฒนาตัวชี้วัดคุณภาพขาดการมีส่วนร่วมจาก สธ. และขาดหลักฐานทาง
วิชาการสนับสนุน
6
ส่วนใดของโครงการ QOF ที่ยังทาได้ไม่ดีพอ? (1)
ส่วนใดของโครงการ QOF ที่ยังทาได้ไม่ดีพอ? (2)
• การนานโยบายไปสู่การปฏิบัติ
• การสื่อสารกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้องไม่ครอบคลุม
• ระยะเวลาการดาเนินกิจกรรมต่างๆไม่เหมาะสม เช่น การประกาศตัวชี้วัด
การรวบรวมผลงานเพื่อประมวลผลตัวชี้วัด (การใช้ข้อมูลย้อนหลัง ไม่ทาให้เกิด
แรงจูงใจในการทางาน)
• การคัดเลือก/พัฒนาตัวชี้วัดระดับพื้นที่ ทาให้ไม่สามารถเปรียบเทียบ
ผลงานได้ และเป็นภาระในการรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม
• ตัวชี้วัดส่วนใหญ่เป็นตัวชี้วัดระดับ CUP ทาให้เกิดปัญหาในการแบ่ง
งบประมาณระหว่างหน่วยบริการ รพ.สต. เสนอแนะให้มีการแบ่งการ
รายงานผลงานในระดับ รพ.สต. ด้วย
• การเก็บรวบรวมข้อมูลตามตัวชี้วัดและการส่งต่อข้อมูลมีข้อจากัด
• ขาดการสะท้อนข้อมูลกลับไปยังหน่วยบริการระหว่างดาเนินงาน
7
ประเด็นการนาเสนอ
• ผลการทบทวนการดาเนินงาน จากโครงการ QOF ระยะที่ 1
•ผลการพัฒนาตัวชี้วัดจากโครงการQOF ระยะที่ 2
• ข้อเสนอแนะต่อการบริหารจัดการโครงการ
• แนวทางการนาผลการศึกษาของ HITAPมาใช้ประโยชน์
8
QOF ที่ดีควรเป็ นอย่างไร?
9
การพัฒนาตัวชี้วัดคุณภาพบริการปฐมภูมิโดยอ้างอิงหลักฐานวิชาการ
(evidence-based indicator development)
คัดเลือก และจัดลาดับความสาคัญประเด็น
ปัญหาสาหรับพัฒนาตัวชี้วัด
พัฒนาตัวชี้วัด
ทดสอบตัวชี้วัด
คัดเลือกตัวชี้วัดและจัดทาข้อเสนอแนะสาหรับ
บริหารจัดการโครงการ
พ.ค.- ก.ค.
2558
ส.ค.- พ.ย.
2558
ธ.ค. 2558
– ก.พ.
2559
มี.ค. 2559
10
การคัดเลือกและจัดลาดับความสาคัญของประเด็นปัญหาสาหรับ
พัฒนาตัวชี้วัดฯ
1. ทบทวนแนวทางการคัดเลือกประเด็นปัญหาจากต่างประเทศ และพัฒนา
กรอบการคัดเลือกประเด็นปัญหา
2. ทบทวนประเด็นปัญหาสุขภาพและนโยบายสุขภาพในประเทศไทย (ภาระโรค
สถิติด้านสาธารณสุข รายงานวิจัย รายงาน การสารวจสุขภาวะของ
ประชากรไทย รวมถึงนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข)
3. สนทนากลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อจัดลาดับความสาคัญของประเด็นปัญหา
สุขภาพ (ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน)
4. ประชุมคณะกรรมการกากับทิศฯ เพื่อคัดเลือกประเด็นปัญหาสุขภาพ
11
ประเด็นปัญหาสาหรับพัฒนาตัวชี้วัดฯ
ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคหัวใจและหลอด
เลือด
อนามัยแม่และเด็ก
ผู้ป่ วยติดเตียง
การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล
โรคหืดและปอดอุดกั้นเรื้อรัง
12
การพัฒนาตัวชี้วัดฯ
1. ทบทวนแนวทางเวชปฏิบัติ
และประเมินคุณภาพโดยใช้
เครื่องมือ AGREE II (ทีมวิจัย
และผู้เชี่ยวชาญจากสหราช
อาณาจักร)
13
2. พัฒนาร่างตัวชี้วัดตาม
ข้อแนะนาในแนวทางเวช
ปฏิบัติ (ทีมวิจัยและ
ผู้เชี่ยวชาญจากสหราช
อาณาจักร)
3. คัดเลือกตัวชี้วัดเพื่อ
ทดสอบโดยคณะกรรมการ
กากับทิศฯ
4. ทดสอบความตรงของ
รายละเอียดตัวชี้วัด
(ผู้เชี่ยวชาญและ
ผู้ปฏิบัติงาน)
การทดสอบตัวชี้วัดฯ
• เพื่อทดสอบตัวชี้วัดตามหัวข้อดังต่อไปนี้:
• Reliability - ความน่าเชื่อถือของข้อมูล
• Acceptability - การยอมรับและการปฏิบัติตาม
• Availability of data – การมีอยู่ของข้อมูลเพื่อประมวลผลงานตาม
ตัวชี้วัด
• ภาระงานและต้นทุน
• ทดสอบตัวชี้วัดใน 36 หน่วยบริการปฐมภูมิ ใน 4 จังหวัด เป็นเวลา 3
เดือน
14
การคัดเลือกตัวชี้วัดฯ เพื่อนาเสนอต่อ สปสช.
• นาเสนอผลการทดสอบตัวชี้วัดฯต่อกลุ่มผู้บริหาร และผู้ปฏิบัติงาน เพื่อ
ตรวจสอบความถูกต้องของผลการศึกษา
• คณะกรรมการกากับทิศคัดเลือกตัวชี้วัดฯ สาหรับนาเสนอต่อ สปสช.
15
ข้อเสนอตัวชี้วัด ปี 2560 จากการศึกษาของ HITAP
ข้อเสนอตัวชี้วัดฯสาหรับปี งบประมาณ 2561 หากต้องการเพิ่มตัวชี้วัด
ฯ
1 MCH1 12 ( CUP)
2 MCH3
hematocrit 7-9 ( CUP)
3 Asthma1 ( CUP)
4 COPD1 ( CUP)
5 COPD2 (
CUP)
18
ตัวชี้วัดฯที่สามารถดาเนินการได้ หากมีการพัฒนาศักยภาพผู้
ให้บริการและพัฒนาฐานข้อมูล
1 CVD1 35-70
ThaiCVriskscore 3
2 MCH4 hematocrit
3
3 BR1
4 BR2 ( )
1
5 Asthma2
6 Asthma3 peakexpiratoryflow
meter
7 Asthma4
8 Asthma5
9 Asthma6
19
ประเด็นการนาเสนอ
• ผลการทบทวนการดาเนินงาน จากโครงการ QOF ระยะที่ 1
• ผลการพัฒนาตัวชี้วัดจากโครงการQOF ระยะที่ 2
•ข้อเสนอแนะต่อการบริหารจัดการโครงการ
• แนวทางการนาผลการศึกษาของ HITAP มาใช้ประโยชน์
20
ข้อเสนอแนะสาหรับบริหารจัดการโครงการ (1)
1. กระทรวงสาธารณสุขและ สปสช. ร่วมกันบริหารระดับนโยบาย
• กระทรวงสาธารณสุข: พัฒนาศักยภาพหน่วยบริการ ดาเนิน
มาตรการพัฒนาคุณภาพบริการให้สอดคล้องกับ QOF ร่วมกัน
พัฒนาตัวชี้วัด
• ลดช่องว่างด้านการสื่อสารระหว่างองค์กร
2. กรอบเวลาในการดาเนินโครงการ QOF
• สธ. และ สปสช. ร่วมกันกาหนดเวลาในแต่ละปีงบประมาณให้
เหมาะสมและชัดเจน
3. งบประมาณและการบริหารงบประมาณ
• ควรแยกงบประมาณออกจากงบเหมาจ่ายรายหัวในวงเงินที่
เหมาะสม
• จัดสรรงบประมาณออกเป็น 3 ส่วน (จ่ายแบบให้เปล่า จ่ายก่อน
ดาเนินงานและหลังดาเนินงาน)
21
21
ความสัมพันธ์ระหว่างคะแนน QOF ของ CUP กับจานวนเงินที่ถูกจัดสรรแก่ CUP จาแนกรายเขต
22ที่มา : วิเคราะห์ข้อมูลจากข้อมูลการจัดสรรงบประมาณ QOF รายเขตของ
สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี2557
ความสัมพันธ์ระหว่างประชากรสิทธิ์ UC ใน CUP กับจานวนเงินที่ถูกจัดสรรแก่ CUP จาแนกรายเขต
23ที่มา : วิเคราะห์ข้อมูลจากข้อมูลการจัดสรรงบประมาณ QOF รายเขตของ
สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี2557
งบประมาณ
24
กรอบเวลา
25
ข้อเสนอแนะสาหรับบริหารจัดการโครงการ (2)
4. ตัวชี้วัดและการประเมินผลงาน
• หากมีตัวชี้วัดพื้นที่ควรมีการพัฒนาตัวชี้วัดให้วางอยู่บนหลักฐานเชิงประจักษ์
และมีส่วนร่วม
• ควรมีการเชื่อมโยงและใช้ประโยชน์จากโครงการ QOF ในการตรวจราชการ
• ควรมีการติดตามผลงานตัวชี้วัดอย่างต่อเนื่อง ทั้งในด้านผลกระทบทางลบที่
อาจจะเกิดขึ้น รวมทั้งจัดทาแนวทางเพื่อยกเลิกตัวชี้วัดที่สามารถดาเนินการได้ดี
แล้ว
5. ระบบสนับสนุนการดาเนินโครงการ
• สปสช. และ สธ. ควรร่วมกันพัฒนาระบบติดตามประเมินผลของโครงการทั้งใน
ภาพรวมและระดับพื้นที่ รวมทั้งพัฒนาฐานข้อมูลให้สามารถสนับสนุนโครงการ
QOF ให้ดียิ่งขึ้น
• สปสช. ควรพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโครงการ QOF โดยจัดทา
เว็บไซต์เพื่อสื่อสารเกี่ยวกับโครงการ
• สปสช. และ สธ. ควรเผยแพร่ฐานข้อมูลการปฏิบัติงานของสถานบริการต่างๆ
เพื่อให้นักวิชาการ นักศึกษา และผู้ที่สนใจ นามาใช้ประโยชน์ได้26
ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดาเนินการโครงการ QOF แบบ
ใหม่
• มีแรงจูงใจในการเพิ่มคุณภาพบริการปฐมภูมิ (ตามตัวชี้วัด) เพราะการ
จัดสรรงบประมาณจะขึ้นกับผลการดาเนินงานอย่างแท้จริง (ยังไม่ใช่ใน
อดีต) และมีระบบการสะท้อนข้อมูลกลับให้แก่ผู้ให้บริการ
• สามารถเปรียบเทียบคุณภาพการให้บริการในกิจกรรมสาคัญได้ทั้ง
ระดับประเทศ เขต จังหวัด รวมถึงภายใน CUP เพื่อเป็นแนวทางใน
การพัฒนาคุณภาพด้วยมาตรการด้านอื่น นอกเหนือจากมาตรการด้าน
การเงิน
• เพิ่มคุณภาพของระบบข้อมูลในฐานข้อมูล 43 แฟ้ ม ให้ครบถ้วน
ถูกต้อง น่าเชื่อถือ สามารถใช้ประโยชน์อื่นๆได้อีกในอนาคต
• เป็นช่องทางในการพัฒนาคุณภาพบริการปฐมภูมิอย่างต่อเนื่องในระยะ
ยาว (ตัวชี้วัดสามารถปรับเปลี่ยนไปได้ตามความเหมาะสม)
• สุดท้าย สุขภาวะที่ดีขึ้นของประชาชนที่ใช้บริการปฐมภูมิ
27
กิตติกรรมประกาศ
• ผู้ให้ข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุข (สนย. กรมอนามัย กรมควบคุมโรค กรมสุขภาพจิต
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สสจ. สสอ. รพ. รพ.สต.) สานักงานหลักประกันสุขภาพ
แห่งชาติ (ส่วนกลางและเขต) และผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้อง (รพ.รามาธิบดี รพ.ศรีนครินทร์)
• หน่วยบริการปฐมภูมิที่ร่วมทดสอบตัวชี้วัด
• อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน ผู้รับบริการสุขภาพ
คณะที่ปรึกษา
• นพ.ชูชัย ศรชานิ สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
• นพ.จักรกริช โง้วศิริ สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
• Dr. Francoise Cluzeau National Institute for Health and
Care Excellence (NICE)
• Dr. Paramjit Gill Primary Care Clinical Sciences,
University of Birmingham
• Dr. Rachel Foskett-Tharby Primary Care Clinical Sciences,
University of Birmingham28
ประเด็นการนาเสนอ
• ผลการทบทวนการดาเนินงาน จากโครงการ QOF ระยะที่ 1
• ผลการพัฒนาตัวชี้วัดจากโครงการQOF ระยะที่ 2
• ข้อเสนอแนะต่อการบริหารจัดการโครงการ
•แนวทางการนาผลการศึกษาของ HITAP มาใช้ประโยชน์
29
แนวทางการนาผลการศึกษาของ HITAP มาใช้
ประโยชน์
• นาตัวชี้วัดชุดใหม่ที่ HITAP เสนอมากาหนดเป็นตัวชี้วัดเพื่อการ
จ่ายเงินให้หน่วยบริการ
เช่น กาหนดเป็นตัวชี้วัด shopping list เพิ่มเติม กรณีปี 60 ยังมีงบ QOF ต่อ
• แยกบรรทัดงบจ่ายตามคุณภาพบริการ ออกจากงบเหมาจ่ายรายหัว
30
Follow us at

More Related Content

Similar to แนวคิดและความก้าวหน้าการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ

แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)  แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559) NIMT
 
เกณฑ์และการสมัครรางวัล พชอ. ปี 2567 วิทยากร : ดร.วิรัช ประวันเตาข้าราชการบําน...
เกณฑ์และการสมัครรางวัล พชอ. ปี 2567 วิทยากร : ดร.วิรัช ประวันเตาข้าราชการบําน...เกณฑ์และการสมัครรางวัล พชอ. ปี 2567 วิทยากร : ดร.วิรัช ประวันเตาข้าราชการบําน...
เกณฑ์และการสมัครรางวัล พชอ. ปี 2567 วิทยากร : ดร.วิรัช ประวันเตาข้าราชการบําน...ssuserbaf627
 
PPT การปรับบทบาทกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน.pdf
PPT การปรับบทบาทกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน.pdfPPT การปรับบทบาทกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน.pdf
PPT การปรับบทบาทกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน.pdfPrasarnKiddee
 
(ร่าง)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ระดับอุดมศึกษา สมศ พ ศ_๒...
(ร่าง)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ระดับอุดมศึกษา สมศ  พ ศ_๒...(ร่าง)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ระดับอุดมศึกษา สมศ  พ ศ_๒...
(ร่าง)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ระดับอุดมศึกษา สมศ พ ศ_๒...Apirak Potpipit
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักTeetut Tresirichod
 

Similar to แนวคิดและความก้าวหน้าการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ (8)

NSTDA-Plan-2561
NSTDA-Plan-2561NSTDA-Plan-2561
NSTDA-Plan-2561
 
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)  แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
แผนแม่บทพัฒนาระบบมาตรวิทยาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (2552-2559)
 
เกณฑ์และการสมัครรางวัล พชอ. ปี 2567 วิทยากร : ดร.วิรัช ประวันเตาข้าราชการบําน...
เกณฑ์และการสมัครรางวัล พชอ. ปี 2567 วิทยากร : ดร.วิรัช ประวันเตาข้าราชการบําน...เกณฑ์และการสมัครรางวัล พชอ. ปี 2567 วิทยากร : ดร.วิรัช ประวันเตาข้าราชการบําน...
เกณฑ์และการสมัครรางวัล พชอ. ปี 2567 วิทยากร : ดร.วิรัช ประวันเตาข้าราชการบําน...
 
PPT การปรับบทบาทกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน.pdf
PPT การปรับบทบาทกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน.pdfPPT การปรับบทบาทกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน.pdf
PPT การปรับบทบาทกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน.pdf
 
(ร่าง)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ระดับอุดมศึกษา สมศ พ ศ_๒...
(ร่าง)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ระดับอุดมศึกษา สมศ  พ ศ_๒...(ร่าง)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ระดับอุดมศึกษา สมศ  พ ศ_๒...
(ร่าง)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ระดับอุดมศึกษา สมศ พ ศ_๒...
 
Haccp + gmp (3)
Haccp + gmp (3)Haccp + gmp (3)
Haccp + gmp (3)
 
Haccp + gmp (3)
Haccp + gmp (3)Haccp + gmp (3)
Haccp + gmp (3)
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
 

More from Chuchai Sornchumni

Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)Chuchai Sornchumni
 
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว Chuchai Sornchumni
 
New perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHCNew perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHCChuchai Sornchumni
 
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทางChuchai Sornchumni
 
ChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllnessChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllnessChuchai Sornchumni
 
Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015Chuchai Sornchumni
 
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศChuchai Sornchumni
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527Chuchai Sornchumni
 
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริการ่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกาChuchai Sornchumni
 
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017Chuchai Sornchumni
 
ธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพChuchai Sornchumni
 
แจ้งอัตราค่าบริการสาธารณสุข
แจ้งอัตราค่าบริการสาธารณสุขแจ้งอัตราค่าบริการสาธารณสุข
แจ้งอัตราค่าบริการสาธารณสุขChuchai Sornchumni
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCChuchai Sornchumni
 

More from Chuchai Sornchumni (20)

Precision medicine
Precision medicinePrecision medicine
Precision medicine
 
Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)
 
UHC lesson learn Thailand
UHC lesson learn ThailandUHC lesson learn Thailand
UHC lesson learn Thailand
 
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
 
New perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHCNew perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHC
 
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
 
Introduction2 publichealth
Introduction2 publichealthIntroduction2 publichealth
Introduction2 publichealth
 
Public finance
Public financePublic finance
Public finance
 
DiseaseMntChrRespSyst
DiseaseMntChrRespSystDiseaseMntChrRespSyst
DiseaseMntChrRespSyst
 
ChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllnessChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllness
 
Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015
 
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
 
Welfare analysis for uhc
Welfare analysis for uhcWelfare analysis for uhc
Welfare analysis for uhc
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527
 
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริการ่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
 
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
 
Ncd nhes v_2016
Ncd nhes v_2016Ncd nhes v_2016
Ncd nhes v_2016
 
ธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพ
 
แจ้งอัตราค่าบริการสาธารณสุข
แจ้งอัตราค่าบริการสาธารณสุขแจ้งอัตราค่าบริการสาธารณสุข
แจ้งอัตราค่าบริการสาธารณสุข
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
 

แนวคิดและความก้าวหน้าการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ

  • 2. โครงการทบทวนและพัฒนาตัวชี้วัดคุณภาพและผลงาน บริการปฐมภูมิ (QOF) สปสช.สนับสนุน HITAP ดาเนินงานใน 2 ระยะ • ระยะที่ 1 เมย.58 -กย.58 o ทบทวนการดาเนินงาน QOF ของ สปสช. o Review QOF ต่างประเทศ • ระยะที่ 2 ตค.58-เมย.59 o พัฒนาตัวชี้วัด QOF ชุดใหม่ 2
  • 3. ประเด็นการนาเสนอ •ผลการทบทวนการดาเนินงาน จากโครงการ QOF ระยะที่ 1 • ผลการพัฒนาตัวชี้วัดจากโครงการQOF ระยะที่ 2 • ข้อเสนอแนะต่อการบริหารจัดการโครงการ • แนวทางการนาผลการศึกษาของ HITAP มาใช้ประโยชน์ 3
  • 4. 4 การกากับและติดตามโครงการวิจัย คณะกรรมการกากับทิศโครงการงบจ่ายตามตัวชี้วัดเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล ดร.นพ.ยงยุทธ พงษ์สุภาพ สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ นพ.จักรกริช โง้วศิริ สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ นพ.ประสิทธิ์ชัย มั่งจิตร โรงพยาบาลแก่งคอย จ.สระบุรี พญ.สุพัตรา ศรีวณิชชากร มูลนิธิวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน รศ.พญ.ประสบศรี อึ้งถาวร ผู้ทรงคุณวุฒิ นพ.พนา พงศ์ชานะภัย โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชหล่มเก่า จ.เพชรบูรณ์ ดร.นพ.ยศ ตีระวัฒนานนท์ โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ พญ.ขจีรัตน์ ปรักเอโก สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ นางจุฬาดา สุขุมาลวรรณ์ สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ นางบารุง ชลอเดช สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ดร.ภญ.จันทนา พัฒนเภสัช โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ นพ.อานวย กาจีนะ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข นพ.ชูชัย ศรชานิ สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ นพ.ปิยะ หาญวรวงศ์ชัย คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นายนิมิตร์ เทียนอุดม ผู้อานวยการมูลนิธิเข้าถึงเอดส์
  • 5. 5 ผลสัมฤทธิ์/ประสิทธิผลของโครงการ ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ เนื่องจาก • หน่วยบริการรู้สึกว่างบประมาณ QOF เป็นเงิน ของหน่วยบริการอยู่แล้ว • ต้องใช้เวลาสาหรับการพัฒนาคุณภาพและมี ปัจจัยอื่นๆที่ส่งผลต่อคุณภาพงานบริการปฐม ภูมิ เช่น จานวนเจ้าหน้าที่ • การออกแบบตัวชี้วัด และหลักเกณฑ์ต่างๆ ยัง ไม่เหมาะสม • การจัดสรรงบประมาณยังไม่สร้างแรงจูงใจแก่ บุคคลากรเท่าที่ควร • ไม่มีการศึกษา วิจัยรองรับตัวชี้วัดที่ใช้ใน โครงการ บรรลุวัตถุประสงค์ เนื่องจาก  หน่วยบริการได้งบประมาณเพิ่มขึ้น  เงิน QOF เป็นเงินบารุง ทาให้มีความคล่องตัว ในการบริหารจัดการ  สร้างขวัญ กาลังใจ แก่ผู้ปฏิบัติงาน  ช่วยให้เกิดการทางานประสานกันระหว่าง เครือข่าย (ทางานเป็นทีม)  ตัวชี้วัด QOF สามารถใช้ชี้ทิศทางนโยบายด้าน สุขภาพ
  • 6. • การพัฒนานโยบาย • กันเงินจากงบเหมาจ่ายรายหัว ไม่สามารถสร้างแรงจูงใจ • บริหารจัดการตัวชี้วัดและเกณฑ์การจัดสรรงบประมาณระดับเขตไม่เป็น มาตรฐานเดียวกัน บางตัวชี้วัดเป็นภาระแก่ผู้ปฏิบัติงานเพราะไม่ได้ใช้ข้อมูล ในฐานข้อมูลที่มีอยู่เดิม (43 แฟ้ ม) ส่วนใหญ่เป็นการให้พื้นที่เก็บข้อมูลใหม่ (ตัวชี้วัดเขต – ออกแบบการเก็บเป็นภาระพื้นที่ ) • การพัฒนาตัวชี้วัดคุณภาพขาดการมีส่วนร่วมจาก สธ. และขาดหลักฐานทาง วิชาการสนับสนุน 6 ส่วนใดของโครงการ QOF ที่ยังทาได้ไม่ดีพอ? (1)
  • 7. ส่วนใดของโครงการ QOF ที่ยังทาได้ไม่ดีพอ? (2) • การนานโยบายไปสู่การปฏิบัติ • การสื่อสารกับหน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้องไม่ครอบคลุม • ระยะเวลาการดาเนินกิจกรรมต่างๆไม่เหมาะสม เช่น การประกาศตัวชี้วัด การรวบรวมผลงานเพื่อประมวลผลตัวชี้วัด (การใช้ข้อมูลย้อนหลัง ไม่ทาให้เกิด แรงจูงใจในการทางาน) • การคัดเลือก/พัฒนาตัวชี้วัดระดับพื้นที่ ทาให้ไม่สามารถเปรียบเทียบ ผลงานได้ และเป็นภาระในการรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม • ตัวชี้วัดส่วนใหญ่เป็นตัวชี้วัดระดับ CUP ทาให้เกิดปัญหาในการแบ่ง งบประมาณระหว่างหน่วยบริการ รพ.สต. เสนอแนะให้มีการแบ่งการ รายงานผลงานในระดับ รพ.สต. ด้วย • การเก็บรวบรวมข้อมูลตามตัวชี้วัดและการส่งต่อข้อมูลมีข้อจากัด • ขาดการสะท้อนข้อมูลกลับไปยังหน่วยบริการระหว่างดาเนินงาน 7
  • 8. ประเด็นการนาเสนอ • ผลการทบทวนการดาเนินงาน จากโครงการ QOF ระยะที่ 1 •ผลการพัฒนาตัวชี้วัดจากโครงการQOF ระยะที่ 2 • ข้อเสนอแนะต่อการบริหารจัดการโครงการ • แนวทางการนาผลการศึกษาของ HITAPมาใช้ประโยชน์ 8
  • 10. การพัฒนาตัวชี้วัดคุณภาพบริการปฐมภูมิโดยอ้างอิงหลักฐานวิชาการ (evidence-based indicator development) คัดเลือก และจัดลาดับความสาคัญประเด็น ปัญหาสาหรับพัฒนาตัวชี้วัด พัฒนาตัวชี้วัด ทดสอบตัวชี้วัด คัดเลือกตัวชี้วัดและจัดทาข้อเสนอแนะสาหรับ บริหารจัดการโครงการ พ.ค.- ก.ค. 2558 ส.ค.- พ.ย. 2558 ธ.ค. 2558 – ก.พ. 2559 มี.ค. 2559 10
  • 11. การคัดเลือกและจัดลาดับความสาคัญของประเด็นปัญหาสาหรับ พัฒนาตัวชี้วัดฯ 1. ทบทวนแนวทางการคัดเลือกประเด็นปัญหาจากต่างประเทศ และพัฒนา กรอบการคัดเลือกประเด็นปัญหา 2. ทบทวนประเด็นปัญหาสุขภาพและนโยบายสุขภาพในประเทศไทย (ภาระโรค สถิติด้านสาธารณสุข รายงานวิจัย รายงาน การสารวจสุขภาวะของ ประชากรไทย รวมถึงนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข) 3. สนทนากลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อจัดลาดับความสาคัญของประเด็นปัญหา สุขภาพ (ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน) 4. ประชุมคณะกรรมการกากับทิศฯ เพื่อคัดเลือกประเด็นปัญหาสุขภาพ 11
  • 12. ประเด็นปัญหาสาหรับพัฒนาตัวชี้วัดฯ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคหัวใจและหลอด เลือด อนามัยแม่และเด็ก ผู้ป่ วยติดเตียง การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล โรคหืดและปอดอุดกั้นเรื้อรัง 12
  • 13. การพัฒนาตัวชี้วัดฯ 1. ทบทวนแนวทางเวชปฏิบัติ และประเมินคุณภาพโดยใช้ เครื่องมือ AGREE II (ทีมวิจัย และผู้เชี่ยวชาญจากสหราช อาณาจักร) 13 2. พัฒนาร่างตัวชี้วัดตาม ข้อแนะนาในแนวทางเวช ปฏิบัติ (ทีมวิจัยและ ผู้เชี่ยวชาญจากสหราช อาณาจักร) 3. คัดเลือกตัวชี้วัดเพื่อ ทดสอบโดยคณะกรรมการ กากับทิศฯ 4. ทดสอบความตรงของ รายละเอียดตัวชี้วัด (ผู้เชี่ยวชาญและ ผู้ปฏิบัติงาน)
  • 14. การทดสอบตัวชี้วัดฯ • เพื่อทดสอบตัวชี้วัดตามหัวข้อดังต่อไปนี้: • Reliability - ความน่าเชื่อถือของข้อมูล • Acceptability - การยอมรับและการปฏิบัติตาม • Availability of data – การมีอยู่ของข้อมูลเพื่อประมวลผลงานตาม ตัวชี้วัด • ภาระงานและต้นทุน • ทดสอบตัวชี้วัดใน 36 หน่วยบริการปฐมภูมิ ใน 4 จังหวัด เป็นเวลา 3 เดือน 14
  • 15. การคัดเลือกตัวชี้วัดฯ เพื่อนาเสนอต่อ สปสช. • นาเสนอผลการทดสอบตัวชี้วัดฯต่อกลุ่มผู้บริหาร และผู้ปฏิบัติงาน เพื่อ ตรวจสอบความถูกต้องของผลการศึกษา • คณะกรรมการกากับทิศคัดเลือกตัวชี้วัดฯ สาหรับนาเสนอต่อ สปสช. 15
  • 16. ข้อเสนอตัวชี้วัด ปี 2560 จากการศึกษาของ HITAP
  • 17. ข้อเสนอตัวชี้วัดฯสาหรับปี งบประมาณ 2561 หากต้องการเพิ่มตัวชี้วัด ฯ 1 MCH1 12 ( CUP) 2 MCH3 hematocrit 7-9 ( CUP) 3 Asthma1 ( CUP) 4 COPD1 ( CUP) 5 COPD2 ( CUP) 18
  • 19. ประเด็นการนาเสนอ • ผลการทบทวนการดาเนินงาน จากโครงการ QOF ระยะที่ 1 • ผลการพัฒนาตัวชี้วัดจากโครงการQOF ระยะที่ 2 •ข้อเสนอแนะต่อการบริหารจัดการโครงการ • แนวทางการนาผลการศึกษาของ HITAP มาใช้ประโยชน์ 20
  • 20. ข้อเสนอแนะสาหรับบริหารจัดการโครงการ (1) 1. กระทรวงสาธารณสุขและ สปสช. ร่วมกันบริหารระดับนโยบาย • กระทรวงสาธารณสุข: พัฒนาศักยภาพหน่วยบริการ ดาเนิน มาตรการพัฒนาคุณภาพบริการให้สอดคล้องกับ QOF ร่วมกัน พัฒนาตัวชี้วัด • ลดช่องว่างด้านการสื่อสารระหว่างองค์กร 2. กรอบเวลาในการดาเนินโครงการ QOF • สธ. และ สปสช. ร่วมกันกาหนดเวลาในแต่ละปีงบประมาณให้ เหมาะสมและชัดเจน 3. งบประมาณและการบริหารงบประมาณ • ควรแยกงบประมาณออกจากงบเหมาจ่ายรายหัวในวงเงินที่ เหมาะสม • จัดสรรงบประมาณออกเป็น 3 ส่วน (จ่ายแบบให้เปล่า จ่ายก่อน ดาเนินงานและหลังดาเนินงาน) 21 21
  • 21. ความสัมพันธ์ระหว่างคะแนน QOF ของ CUP กับจานวนเงินที่ถูกจัดสรรแก่ CUP จาแนกรายเขต 22ที่มา : วิเคราะห์ข้อมูลจากข้อมูลการจัดสรรงบประมาณ QOF รายเขตของ สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี2557
  • 22. ความสัมพันธ์ระหว่างประชากรสิทธิ์ UC ใน CUP กับจานวนเงินที่ถูกจัดสรรแก่ CUP จาแนกรายเขต 23ที่มา : วิเคราะห์ข้อมูลจากข้อมูลการจัดสรรงบประมาณ QOF รายเขตของ สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี2557
  • 25. ข้อเสนอแนะสาหรับบริหารจัดการโครงการ (2) 4. ตัวชี้วัดและการประเมินผลงาน • หากมีตัวชี้วัดพื้นที่ควรมีการพัฒนาตัวชี้วัดให้วางอยู่บนหลักฐานเชิงประจักษ์ และมีส่วนร่วม • ควรมีการเชื่อมโยงและใช้ประโยชน์จากโครงการ QOF ในการตรวจราชการ • ควรมีการติดตามผลงานตัวชี้วัดอย่างต่อเนื่อง ทั้งในด้านผลกระทบทางลบที่ อาจจะเกิดขึ้น รวมทั้งจัดทาแนวทางเพื่อยกเลิกตัวชี้วัดที่สามารถดาเนินการได้ดี แล้ว 5. ระบบสนับสนุนการดาเนินโครงการ • สปสช. และ สธ. ควรร่วมกันพัฒนาระบบติดตามประเมินผลของโครงการทั้งใน ภาพรวมและระดับพื้นที่ รวมทั้งพัฒนาฐานข้อมูลให้สามารถสนับสนุนโครงการ QOF ให้ดียิ่งขึ้น • สปสช. ควรพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโครงการ QOF โดยจัดทา เว็บไซต์เพื่อสื่อสารเกี่ยวกับโครงการ • สปสช. และ สธ. ควรเผยแพร่ฐานข้อมูลการปฏิบัติงานของสถานบริการต่างๆ เพื่อให้นักวิชาการ นักศึกษา และผู้ที่สนใจ นามาใช้ประโยชน์ได้26
  • 26. ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการดาเนินการโครงการ QOF แบบ ใหม่ • มีแรงจูงใจในการเพิ่มคุณภาพบริการปฐมภูมิ (ตามตัวชี้วัด) เพราะการ จัดสรรงบประมาณจะขึ้นกับผลการดาเนินงานอย่างแท้จริง (ยังไม่ใช่ใน อดีต) และมีระบบการสะท้อนข้อมูลกลับให้แก่ผู้ให้บริการ • สามารถเปรียบเทียบคุณภาพการให้บริการในกิจกรรมสาคัญได้ทั้ง ระดับประเทศ เขต จังหวัด รวมถึงภายใน CUP เพื่อเป็นแนวทางใน การพัฒนาคุณภาพด้วยมาตรการด้านอื่น นอกเหนือจากมาตรการด้าน การเงิน • เพิ่มคุณภาพของระบบข้อมูลในฐานข้อมูล 43 แฟ้ ม ให้ครบถ้วน ถูกต้อง น่าเชื่อถือ สามารถใช้ประโยชน์อื่นๆได้อีกในอนาคต • เป็นช่องทางในการพัฒนาคุณภาพบริการปฐมภูมิอย่างต่อเนื่องในระยะ ยาว (ตัวชี้วัดสามารถปรับเปลี่ยนไปได้ตามความเหมาะสม) • สุดท้าย สุขภาวะที่ดีขึ้นของประชาชนที่ใช้บริการปฐมภูมิ 27
  • 27. กิตติกรรมประกาศ • ผู้ให้ข้อมูลจากกระทรวงสาธารณสุข (สนย. กรมอนามัย กรมควบคุมโรค กรมสุขภาพจิต กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ สสจ. สสอ. รพ. รพ.สต.) สานักงานหลักประกันสุขภาพ แห่งชาติ (ส่วนกลางและเขต) และผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้อง (รพ.รามาธิบดี รพ.ศรีนครินทร์) • หน่วยบริการปฐมภูมิที่ร่วมทดสอบตัวชี้วัด • อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน ผู้รับบริการสุขภาพ คณะที่ปรึกษา • นพ.ชูชัย ศรชานิ สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ • นพ.จักรกริช โง้วศิริ สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ • Dr. Francoise Cluzeau National Institute for Health and Care Excellence (NICE) • Dr. Paramjit Gill Primary Care Clinical Sciences, University of Birmingham • Dr. Rachel Foskett-Tharby Primary Care Clinical Sciences, University of Birmingham28
  • 28. ประเด็นการนาเสนอ • ผลการทบทวนการดาเนินงาน จากโครงการ QOF ระยะที่ 1 • ผลการพัฒนาตัวชี้วัดจากโครงการQOF ระยะที่ 2 • ข้อเสนอแนะต่อการบริหารจัดการโครงการ •แนวทางการนาผลการศึกษาของ HITAP มาใช้ประโยชน์ 29
  • 29. แนวทางการนาผลการศึกษาของ HITAP มาใช้ ประโยชน์ • นาตัวชี้วัดชุดใหม่ที่ HITAP เสนอมากาหนดเป็นตัวชี้วัดเพื่อการ จ่ายเงินให้หน่วยบริการ เช่น กาหนดเป็นตัวชี้วัด shopping list เพิ่มเติม กรณีปี 60 ยังมีงบ QOF ต่อ • แยกบรรทัดงบจ่ายตามคุณภาพบริการ ออกจากงบเหมาจ่ายรายหัว 30

Editor's Notes

  1. ศูนย์บริการสาธารณสุขเป็นหน่วยปฐมภูมิของสำนักอนามัย เราเรียกว่า ศบส. คลินิกชุมชนอบอุ่น 2 ขนาด