SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
ปัญหาการนอนดึก(Sleep Problems)
บุคคลที่มีอาการหลับยากในเวลากลางคืน หลับไม่ลึก ตื่นขึ้นมา
กลางดึกแล้วไม่สามารถหลับต่อได้ นอนไม่เต็มอิ่มเนื่องจากหลับๆ
ตื่นๆ ล้วนเป็นอาการของโรคนอนไม่หลับ (Insomnia) ซึ่ง
สามารถเกิดขึ้นได้ในคนทุกเพศ ทุกวัย
ความหมาย
ปัญหาการนอนมีลักษณะอย่างไร?
ในทางการแพทย์สามารถจาแนกโรคนอนไม่หลับได้เป็น 3 ระดับ คือ
1.โรคนอนไม่หลับชั่วคราว (Transient Insomnia) มักเกิด
จากความเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการนอนกะทันหัน เช่น การเปลี่ยนเวลานอนเมื่อ
เดินทางไปต่างประเทศ หรือการเปลี่ยนแปลงสถานที่นอน รวมทั้งอาจเกิดจาก
ภาวะผิดปกติทางจิตใจ เช่น ความเครียดหรือซึมเศร้า ผู้ป่วยจะมีอาการนอนไม่
หลับไม่เกินหนึ่งสัปดาห์
2.โรคนอนไม่หลับเฉียบพลัน (Acute Insomnia) ผู้ป่วยจะรู้สึกหลับ
ยาก นอนลาบาก หลับไม่สนิทและไม่เต็มอิ่ม แม้ว่าจะอยู่ในสภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อการ
นอนหรือมีเวลาให้นอนมากพอก็ตาม โดยผู้ป่วยจะมีอาการนอนไม่หลับไม่เกิน 3
สัปดาห์
3.โรคนอนไม่หลับเรื้อรัง (Chronic Insomnia) อาจเป็นผลของ
อาการเจ็บป่วยอื่นๆ หรือเป็นความผิดปกติของสภาพร่างกาย มักพบมากในผู้ที่มี
ความเครียดสูง มีระดับฮอร์โมนและไซโตไคน์ (Cytokines) ที่ไม่มั่นคง
ผู้ป่วยจะมีอาการนอนไม่หลับติดต่อกันนานกว่า 3-4 สัปดาห์
อาการของผู้ที่นอนดึก
1. อารมณ์ไม่ดี อารมณ์แปรปรวน
จากผลการวิจัย เผยว่า คนที่มีค่าเฉลี่ยการนอนหลับเพียง 4.5 ชั่วโมงต่อ
คืน เป็นเวลาต่อเนื่อง 1 สัปดาห์นั้น มีแนวโน้มจะเป็นคนที่มีอารมณ์แปรปรวน มากกว่า
คนที่มีเวลานอนประมาณ 7 ชั่วโมงต่อคืน ทั้งนี้สภาพอารมณ์แปรปรวนที่เกิดขึ้น
เหล่านั้นจะหมายความรวมถึงอารมณ์ และความรู้สึกเครียด เศร้า โมโห หงุดหงิด ท้อแท้
ถึงแม้ว่านี่จะเป็นเรื่องปกติที่คนธรรมดาทุกคน อย่างเราต้องเผชิญอยู่ทุกวี่วัน ก็มีแน้ว
โน้มว่า คนนอนน้อย นอนไม่พอ จะควบคุมอารมณ์ได้น้อยความคนที่นอนอย่าง
เพียงพอนั่นเอง
2. สมองไม่รับรู้ เรียนรู้อะไรได้ช้าลง
การนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ สามารถส่งผลให้สมองของเรา มีการรับรู้
และเรียนรู้ช้าลงได้จริง จากผลสารวจในโรงเรียนมัธยมปลายแห่งหนึ่ง ในประเทศ
สหรัฐอเมริกา ที่ได้มีการทดลองเลื่อนเวลาเข้าเรียนจาก 7.30 น. เป็น 8.30 น.
พบว่า ผลคะแนนของวิชาเลข และวิชาการอ่านของนักเรียนเพิ่มสูงขึ้นประมาณร้อยละ 2
และร้อยละ 1 ตามลาดับ และนี่จึงเป็นการอธิบายได้ว่า ถ้าเราเพิ่มระยะเวลาในการนอน
หลับ ก็สามารถเพิ่มประสิทธิภาพ ในการเรียนรู้และจดจาของสมองให้มากขึ้นได้
3. มีอาการปวดหัวไม่สบาย
4. อ้วน น้าหนักขึ้น
5. โรคหัวใจ
6. ระบบภูมิคุ้มกันต่าลง
7. รู้สึกช้า เฉื่อยชา
8. สายตาพร่ามัวหนังตากระตุก
9. ปัสสาวะบ่อย
10. ทาให้การตัดสินใจผิดพลาด
11. ไม่มีสมาธิ
12. พูดจาไม่รู้เรื่อง
16. ขี้หลงขี้ลืม
17. อายุสั้นลง
13. เจ็บป่วยง่าย
14. มีความเสี่ยงที่จะประสบอุบัติเหตุ
15. สมรรถภาพทางเพศเสื่อมลง
สาเหตุของการนอนดึก
จะมีพฤติกรรมการนอนที่ไม่เหมาะสม เช่น
ดูโทรทัศน์ก่อนหรือเมื่อเข้านอน ได้รับคาเฟอีน เครียด
อาการนอนกรน (Snoring) จากภาวะหยุดหายใจขณะหลับ
โรคเกี่ยวกับความผิดปกติทางด้านการพัฒนาของระบบประสาท เช่น โรคออทิซึม (Autism)
ความบกพร่องทางสติปัญญา และโรคแอสเพอร์เกอร์
ภาวะซึมเศร้า วิตกกังวล
ผลข้างเคียงจากการใช้ยา เช่น ยากระตุ้นประสาทสาหรับรักษาโรคสมาธิสั้น (ADHD)
ยาต้านภาวะซึมเศร้า (Antidepressants) ยาในกลุ่ม
Corticosteroids และ Anticonvulsants
อาการขาอยู่ไม่สุข ซึ่งทาให้เด็กต้องเคลื่อนไหวขาและเท้าอยู่เสมอจึงจะรู้สึกสบาย
อาการไอ (Coughing) อันเกิดจากโรคหอบหืด (Asthma)
อาการคัน (Itching) อันเกิดจากโรคผิวหนัง (Eczema)
1. งดรับประทานเนื้อสัตว์ หากคุณจาเป็นต้องนอนดึกอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ก็ควรที่จะ
งดของอะไรหนักๆ
2. ดื่มน้าผึ้งให้มาก เพื่อนาไปทดแทนส่วนต่างๆของร่างกาย
3. เคี้ยวอาหารให้ละเอียดเท่าที่จะทาได้ เพราะกระบวนการย่อยจะไม่ทางานหนักจนเกินไป
4. หลีกเลี่ยงน้าเย็นและน้าอัดลม เพราะน้าเย็นหรือน้าอัดลมจะเข้าไปทาให้ท้องอืดและปวด
ท้องในขณะนอนเอาได้ ซึ่งจะทาให้เกิดภาระต่อการนอนเปล่าๆ
5. ควรดื่มนมก่อนนอนจะดีกว่า เพราะจะทาให้การปรับสภาพของกระเพราะทางานได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
วิธีแก้ปัญหาจากการนอนดึก
ปัญหาการนอนดึก

More Related Content

Similar to ปัญหาการนอนดึก

ภาวะง่วงง่ายผิดปกติ(Excessive daytime sleepiness)
ภาวะง่วงง่ายผิดปกติ(Excessive daytime sleepiness)ภาวะง่วงง่ายผิดปกติ(Excessive daytime sleepiness)
ภาวะง่วงง่ายผิดปกติ(Excessive daytime sleepiness)ครูอู๋ มังษะชาติ
 
สุทธิดา วิชชุดา
สุทธิดา   วิชชุดาสุทธิดา   วิชชุดา
สุทธิดา วิชชุดาsupphawan
 
โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)
โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)
โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)satjakornii
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงานbernfai_baifern
 
แบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอมแบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอมAkanit Srilaruk
 
2557 โครงงาน1
2557 โครงงาน12557 โครงงาน1
2557 โครงงาน1bernfai_baifern
 

Similar to ปัญหาการนอนดึก (6)

ภาวะง่วงง่ายผิดปกติ(Excessive daytime sleepiness)
ภาวะง่วงง่ายผิดปกติ(Excessive daytime sleepiness)ภาวะง่วงง่ายผิดปกติ(Excessive daytime sleepiness)
ภาวะง่วงง่ายผิดปกติ(Excessive daytime sleepiness)
 
สุทธิดา วิชชุดา
สุทธิดา   วิชชุดาสุทธิดา   วิชชุดา
สุทธิดา วิชชุดา
 
โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)
โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)
โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
แบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอมแบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอม
 
2557 โครงงาน1
2557 โครงงาน12557 โครงงาน1
2557 โครงงาน1
 

ปัญหาการนอนดึก

  • 2. บุคคลที่มีอาการหลับยากในเวลากลางคืน หลับไม่ลึก ตื่นขึ้นมา กลางดึกแล้วไม่สามารถหลับต่อได้ นอนไม่เต็มอิ่มเนื่องจากหลับๆ ตื่นๆ ล้วนเป็นอาการของโรคนอนไม่หลับ (Insomnia) ซึ่ง สามารถเกิดขึ้นได้ในคนทุกเพศ ทุกวัย ความหมาย
  • 3. ปัญหาการนอนมีลักษณะอย่างไร? ในทางการแพทย์สามารถจาแนกโรคนอนไม่หลับได้เป็น 3 ระดับ คือ 1.โรคนอนไม่หลับชั่วคราว (Transient Insomnia) มักเกิด จากความเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการนอนกะทันหัน เช่น การเปลี่ยนเวลานอนเมื่อ เดินทางไปต่างประเทศ หรือการเปลี่ยนแปลงสถานที่นอน รวมทั้งอาจเกิดจาก ภาวะผิดปกติทางจิตใจ เช่น ความเครียดหรือซึมเศร้า ผู้ป่วยจะมีอาการนอนไม่ หลับไม่เกินหนึ่งสัปดาห์
  • 4. 2.โรคนอนไม่หลับเฉียบพลัน (Acute Insomnia) ผู้ป่วยจะรู้สึกหลับ ยาก นอนลาบาก หลับไม่สนิทและไม่เต็มอิ่ม แม้ว่าจะอยู่ในสภาวะแวดล้อมที่เอื้อต่อการ นอนหรือมีเวลาให้นอนมากพอก็ตาม โดยผู้ป่วยจะมีอาการนอนไม่หลับไม่เกิน 3 สัปดาห์ 3.โรคนอนไม่หลับเรื้อรัง (Chronic Insomnia) อาจเป็นผลของ อาการเจ็บป่วยอื่นๆ หรือเป็นความผิดปกติของสภาพร่างกาย มักพบมากในผู้ที่มี ความเครียดสูง มีระดับฮอร์โมนและไซโตไคน์ (Cytokines) ที่ไม่มั่นคง ผู้ป่วยจะมีอาการนอนไม่หลับติดต่อกันนานกว่า 3-4 สัปดาห์
  • 5. อาการของผู้ที่นอนดึก 1. อารมณ์ไม่ดี อารมณ์แปรปรวน จากผลการวิจัย เผยว่า คนที่มีค่าเฉลี่ยการนอนหลับเพียง 4.5 ชั่วโมงต่อ คืน เป็นเวลาต่อเนื่อง 1 สัปดาห์นั้น มีแนวโน้มจะเป็นคนที่มีอารมณ์แปรปรวน มากกว่า คนที่มีเวลานอนประมาณ 7 ชั่วโมงต่อคืน ทั้งนี้สภาพอารมณ์แปรปรวนที่เกิดขึ้น เหล่านั้นจะหมายความรวมถึงอารมณ์ และความรู้สึกเครียด เศร้า โมโห หงุดหงิด ท้อแท้ ถึงแม้ว่านี่จะเป็นเรื่องปกติที่คนธรรมดาทุกคน อย่างเราต้องเผชิญอยู่ทุกวี่วัน ก็มีแน้ว โน้มว่า คนนอนน้อย นอนไม่พอ จะควบคุมอารมณ์ได้น้อยความคนที่นอนอย่าง เพียงพอนั่นเอง
  • 6. 2. สมองไม่รับรู้ เรียนรู้อะไรได้ช้าลง การนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ สามารถส่งผลให้สมองของเรา มีการรับรู้ และเรียนรู้ช้าลงได้จริง จากผลสารวจในโรงเรียนมัธยมปลายแห่งหนึ่ง ในประเทศ สหรัฐอเมริกา ที่ได้มีการทดลองเลื่อนเวลาเข้าเรียนจาก 7.30 น. เป็น 8.30 น. พบว่า ผลคะแนนของวิชาเลข และวิชาการอ่านของนักเรียนเพิ่มสูงขึ้นประมาณร้อยละ 2 และร้อยละ 1 ตามลาดับ และนี่จึงเป็นการอธิบายได้ว่า ถ้าเราเพิ่มระยะเวลาในการนอน หลับ ก็สามารถเพิ่มประสิทธิภาพ ในการเรียนรู้และจดจาของสมองให้มากขึ้นได้
  • 7. 3. มีอาการปวดหัวไม่สบาย 4. อ้วน น้าหนักขึ้น 5. โรคหัวใจ 6. ระบบภูมิคุ้มกันต่าลง 7. รู้สึกช้า เฉื่อยชา 8. สายตาพร่ามัวหนังตากระตุก 9. ปัสสาวะบ่อย 10. ทาให้การตัดสินใจผิดพลาด 11. ไม่มีสมาธิ 12. พูดจาไม่รู้เรื่อง
  • 8. 16. ขี้หลงขี้ลืม 17. อายุสั้นลง 13. เจ็บป่วยง่าย 14. มีความเสี่ยงที่จะประสบอุบัติเหตุ 15. สมรรถภาพทางเพศเสื่อมลง
  • 9. สาเหตุของการนอนดึก จะมีพฤติกรรมการนอนที่ไม่เหมาะสม เช่น ดูโทรทัศน์ก่อนหรือเมื่อเข้านอน ได้รับคาเฟอีน เครียด อาการนอนกรน (Snoring) จากภาวะหยุดหายใจขณะหลับ โรคเกี่ยวกับความผิดปกติทางด้านการพัฒนาของระบบประสาท เช่น โรคออทิซึม (Autism) ความบกพร่องทางสติปัญญา และโรคแอสเพอร์เกอร์ ภาวะซึมเศร้า วิตกกังวล ผลข้างเคียงจากการใช้ยา เช่น ยากระตุ้นประสาทสาหรับรักษาโรคสมาธิสั้น (ADHD) ยาต้านภาวะซึมเศร้า (Antidepressants) ยาในกลุ่ม Corticosteroids และ Anticonvulsants
  • 10. อาการขาอยู่ไม่สุข ซึ่งทาให้เด็กต้องเคลื่อนไหวขาและเท้าอยู่เสมอจึงจะรู้สึกสบาย อาการไอ (Coughing) อันเกิดจากโรคหอบหืด (Asthma) อาการคัน (Itching) อันเกิดจากโรคผิวหนัง (Eczema)
  • 11. 1. งดรับประทานเนื้อสัตว์ หากคุณจาเป็นต้องนอนดึกอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ก็ควรที่จะ งดของอะไรหนักๆ 2. ดื่มน้าผึ้งให้มาก เพื่อนาไปทดแทนส่วนต่างๆของร่างกาย 3. เคี้ยวอาหารให้ละเอียดเท่าที่จะทาได้ เพราะกระบวนการย่อยจะไม่ทางานหนักจนเกินไป 4. หลีกเลี่ยงน้าเย็นและน้าอัดลม เพราะน้าเย็นหรือน้าอัดลมจะเข้าไปทาให้ท้องอืดและปวด ท้องในขณะนอนเอาได้ ซึ่งจะทาให้เกิดภาระต่อการนอนเปล่าๆ 5. ควรดื่มนมก่อนนอนจะดีกว่า เพราะจะทาให้การปรับสภาพของกระเพราะทางานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ วิธีแก้ปัญหาจากการนอนดึก