SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
รวบรวมประวัติ และกรณีการขัดแย้ง ของ เขาพระวิหาร
จากสือต่างๆ
กลายเป็นประเด็นทอล์กออฟเดอะทาวน์ให้พูดถึงไม่รู้จบจริงๆ สำาหรับ "เขาพระ
วิหาร" หรือ "ปราสาทเขาพระวิหาร" จนทำาให้หลายๆ คนอยากรู้ประวัติ ว่า "เขา
พระวิหาร" แห่งนี้มีความเป็นมาอย่างไร และกำาลังกลายเป็นว่าที่มรดกโลกได้อย่างไร…?
แล้วไทยกับกัมพูชามีส่วนเกี่ยวข้องอย่างไรกับประวัติศาสตร์เขาพระวิหารแห่งนี้…วันนี้
เรามีคำาตอบมาเฉลยค่ะ และจะพาย้อนตำานานไปศึกษาประวัติเขาพระวิหารกัน ... อย่ารอ
ช้ารีบตามเข้ามาเลยค่ะ
เขาพระวิหาร หรือที่หลายๆ คนรู้จักในนาม "ปราสาทเขาพระวิหาร"
(Prasat Preah Vihear) และที่ประเทศกัมพูชาเรียกขานว่า "เปรี๊ยะวิเฮียร์" เป็น
ปราสาทหินตั้งอยู่บริเวณเทือกเขาพนมดงรัก ในพื้นที่ทับซ้อนชายแดนไทย-กัมพูชา ระ
หว่างบ้านสรายจร็อม อำาเภอจอมกระสานต์ จังหวัดพระวิหาร ของประเทศกัมพูชา และ
บ้านภูมิซรอล ตำาบลเสาธงชัย อำาเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ ใกล้ๆ กับอุทยานแห่ง
ชาติเขาพระวิหาร
เขาพระวิหาร เป็นบริเวณสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของคนพื้นเมืองสมัยก่อน ในกษัตริย์
ชัยวรมันที่ 2 ได้กำาหนดเขตบริเวณนี้และเรียกชื่อว่า "ภวาลัย" ภายหลังปรากฏชื่อใน
จารึกภาษาสันสกฤตว่า "ศรีศิขรีศวร" หมายความว่า "ผู้เป็นใหญ่แห่งภูเขาอัน
ประเสริฐ" ตั้งอยู่บนยอดเขาในเทือกเขาพนมดงรัก ตามแนวเส้นกั้นเขตแดนระหว่าง
ประเทศไทยกับกัมพูชา จากหลักฐานต่างๆ คาดว่าสร้างในปี พ.ศ.1432-1443 ในสมัย
พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 เพื่อใช้เป็นสถานที่สักการะตามความเชื่อทางศาสนาพราหมณ์
โดยสมมติให้เปรียบเสมือน "เขาพระสุเมรุ" (ศูนย์กลางของจักรวาล) โดยการสร้างนั้นก็มี
เหตุผลในการรวบรวมอำานาจและความเชื่อของคนในละแวกนั้นเข้าด้วยกัน เพราะใน
อดีตแถบนั้นมีผู้คนหลากหลายเชื้อชาติอาศัยอยู่รวมกัน พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 จึงโปรด
ให้สร้างเขาพระวิหารขึ้น เพื่อเป็นจุดยึดเหนี่ยวและศูนย์รวมจิตใจของ ชาวบ้านซึ่งจะ
ทำาให้การปกครองง่ายขึ้นด้วย
ปราสาทเขาพระวิหาร
"ปราสาทเขาพระวิหาร" หรือ "ปราสาทพระวิหาร" เป็นโบราณสถานที่มีความ
งดงาม โดดเด่นอยู่เหนือเทือกเขาพนมดงรัก ซึ่งกั้นพรมแดน ระหว่างประเทศไทยกับ
ประเทศกัมพูชามีความสูงจากระดับนำ้าทะเลปานกลาง 657 เมตร ปราสาทเขาพระ
วิหารเป็นเสมือนเทพสถิตย์บนขุนเขาหรือ "ศรีศิขเรศร" เป็น "เพชรยอด
มงกุฎ" ขององค์ศิวะเทพ (พระอิศวร) ตั้งโดดเด่นอยู่บนยอดเทือกเขาพนมดงรัก มี
ความยาว 800 เมตร ตามแนวเหนือใต้ ส่วนใหญ่เป็นทางเข้ายาวและบันไดสูงถึงยอดเขา
จนถึงส่วนปราสาทประธาน ซึ่งอยู่ที่ยอดเขาทางใต้สุดของปราสาท (สูง 120 เมตรจาก
ปลายตอนเหนือสุดของปราสาท, 525 เมตรจากพื้นราบของกัมพูชา และ 657 เมตรจาก
ระดับ)
ปราสาทเขาพระวิหารประกอบด้วยหมู่เทวาลัยและปราสาทหินจำานวนมาก
ทั้งหมดสร้างขึ้นเพื่อถวายแด่พระศิวะ ซึ่งเทวาลัยหรือปราสาทหินแห่งแรกสร้างขึ้น เมื่อ
ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 9 ซากปรักหักพังของเทวาลัยที่เหลืออยู่ มีอายุตั้งแต่สมัยเกาะแกร์
ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 10 ครั้น และปราสาทเขาพระวิหารเป็นสถาปัตยกรรมอันน่าทึ่ง
เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของบรรพชนของ "ขะแมร์กัมพูชา" (ขอม) แต่โบราณ ที่
อาศัยอยู่ทั้งในกัมพูชาปัจจุบัน และในภาคอีสานของเรา ขะแมร์กัมพูชา เป็นชนชาติที่มี
ความสามารถยิ่งในการสร้าง "ปราสาท" ด้วยหินทรายและศิลาแลง ซึ่งขะแมร์กัมพูชา
ก่อสร้างปราสาทบนเขาพระวิหารติดต่อกันมายาวหลายรัชสมัย กว่า 300 ปี ตั้งแต่
กษัตริย์ "ยโสวรมันที่ 1" ถึง "สุริยวรมันที่ 1" เรื่อยมาจน "ชัยวรมันที่ 5-6" จนกระทั่งท้าย
สุด "สุริยวรมันที่ 2" และ "ชัยวรมันที่ 7" จากปลายคริสต์ศตวรรษที่ 9 จนถึงกลางคริสต์
ศตวรรษที่ 12 (หรือจากพุทธศตวรรษที่ 15 ถึง 18 หรือก่อนสมัยสุโขทัย 300 ปีนั่นเอง)
ทางเข้าสู่ปราสาทประธานนั้น มีโคปุระ (ซุ้มประตู) คั่นอยู่ 5 ชั้น (โคปุระชั้นที่ 5
จึงเป็นส่วนที่ผู้เข้าชมจะพบเป็นส่วนแรก) โคปุระแต่ละชั้นก่อนถึงลานด้านหน้าจะผ่าน
บันไดหลายขั้น โคปุระแต่ละชั้นจึงเปลี่ยนระดับความสูงทีละช่วง นอกจากนี้โคปะรุยังบัง
มิให้ผู้ชมเห็นส่วนถัดไปของปราสาท จนกว่าจะผ่านทะลุแต่ละช่วงไปแล้ว ทำาให้ไม่
สามารถแลเห็นโครงสร้างปราสาททั้งหมดจากมุมใดมุมหนึ่งได้
เดิมทีปราสาทเขาพระวิหารอยู่ในเขตการปกครองของประเทศไทย ขึ้นอยู่กับบ้าน
ภูมิซรอล ตำำบลเสำธงชัย อำำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ (ค.ศ.1899, ร.ศ.-118) และ
เมื่อ พ.ศ. 2442 พระเจ้ำบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ำชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิ
ประสงค์ ได้เสด็จไปยังปรำสำทแห่งนี้ และทรงขนำนนำมว่ำ "ปรำสำทพรหมวิหำร" ซึ่ง
ต่อมำเรียกกันทั่วไปว่ำ "ปรำสำทพระวิหำร" ซึ่งพระองค์ได้จำรึก ร.ศ. และพระนำมไว้ที่
บริเวณชะง่อนผำเป้ยตำดีว่ำ 118 สรรพสิทธิ
ต่อมำเมื่อปี 2450 จักรวรรดินิยมฝรั่งเศส (ปกครองเขมรขณะนั้น) อำศัย
แสนยำนุภำพทำงทหำรบีบให้รัฐบำลสยำม (ไทย) ยอมเขียนแผนที่กำำหนดให้เขำพระ
วิหำรอยู่ในดินแดนของกัมพูชำ ในกำรทำำสนธิสัญญำเพิ่มเติม รัฐบำลสยำมก็ยอมรับ
แผนที่ที่ฝรั่งเศษสร้ำงขึ้นมำแต่โดยดีโดยมิได้ทักท้วง (ซึ่งแต่เดิมถ้ำแบ่งตำมสันปันนำ้ำ
เทือกเขำพนมดงรัก เขำพระวิหำรจะอยู่ในฝั่งไทยแต่พอแบ่งตำมแผนที่ใหม่ของปี 1907
จะอยู่ในฝั่งกัมพูชำ) อำจจะเป็นเพรำะฝรั่งเศสเป็นมหำอำำนำจอยู่ในขณะนั้น และคนไทย
ก็ยังสำมำรถเข้ำไปยังปรำสำทเขำพระวิหำรได้โดยง่ำย
ทั้งๆ ที่ไม่ว่ำจะตำมสนธิสัญญำเดิม พ.ศ.2447 หรือตำมสภำพภูมิศำสตร์ กำำหนด
ให้อยู่ในดินแดนของไทยอย่ำงชัดเจน จนวันที่ 6 ตุลำคม 2502 รัฐบำลเจ้ำนโรดมสีหนุ
แห่งกัมพูชำ ภำยใต้กำรหนุนหลังของฝรั่งเศส ได้ยื่นฟ้องต่อศำลโลก ขอให้ไทยถอนกอง
กำำลังทหำรออกจำกเขำพระวิหำร และขอให้ศำลชี้ขำดว่ำอธิปไตยเหนือปรำสำทเขำพระ
วิหำรคืน (ยื่นฟ้องทั้งหมด 73 ครั้ง) ต่อมำเมื่อวันที่ 15 มิถุนำยน 2505 ศำลโลกได้ตัดสิน
ให้อธิปไตยเหนือปรำสำทเขำพระวิหำรเป็นของประเทศกัมพูชำ ด้วยคะแนน 9 ต่อ 3
เสียง โดยบริเวณดังกล่ำวมีเนื้อที่ประมำณ 150 ไร่
ลักษณะสำำคัญของปรำสำทเขำพระวิหำรจะประกอบด้วย...
1. บันไดดินด้ำนหน้ำของปรำสำท ซึ่งบันไดดินด้ำนหน้ำเป็นทำงเดินขึ้นลง
ขนำดใหญ่ อยู่ทำงทิศเหนือของตัวปรำสำท ลำดตำมไหล่เขำ บำงชั้นสกัดหินลงไปใน
ภูเขำ มีขนำดกว้ำง 8 เมตร ยำว 75.50 เมตร มีจำำนวน 162 ขั้น สองข้ำงบันไดมีฐำน
สี่เหลี่ยมตั้งเป็นกระพัก (กระพักแปลว่ำ ไหล่เขำเป็นชั้นพอพักได้) ขนำดใหญ่เรียงรำย
ขึ้นไป ใช้สำำหรับตั้งรูปสิงห์ทวำร-บำล (ทะ-วำ-ละ-บำน) เพื่อเฝ้ำดูแลรักษำเส้นทำง
2. สะพำนนำครำช หรือ ลำนนำครำช อยู่ทำงทิศใต้ของบันไดหินด้ำนหน้ำ ปู
ด้วยแผ่นหินเรียบ มีขนำดกว้ำง 7 เมตร ยำว 31.80 เมตร สองข้ำงสะพำนนำครำชสร้ำง
เป็นฐำนเตี้ยๆ บนฐำนมีนำครำช 7 เศียร จำำนวน 2 ตัว แผ่พังพำนหันหน้ำไปทำงทิศ
เหนือ ลำำตัวอยู่บนฐำนทั้งสอง ทอดไปทำงทิศใต้ ส่วนหำงของนำครำชชูขึ้นเล็กน้อย
นำครำชทั้งสองตัวเป็นนำครำชที่ยังไม่มีรัศมีเข้ำมำ ประกอบมีลักษณะคล้ำยๆ งูตำม
ธรรมชำติ เป็นลักษณะของนำครำชในศิลปะขอม แบบปำปวน
3. โคปุระ (ซุ้มประตู)ชั้นที่ 5 จะมีภำพวำดโดยปำมังติเอร์อยู่ สร้ำงเป็นศำลำ
จตุรมุข รูปทรงกำกบำทไม่มีฝำผนังกั้น มีแต่บันไดและซุ้มประตูทั้ง 4 ทิศ สร้ำงอยู่บนฐำน
บัวสี่เหลี่ยมย่อมุม ฐำนสูง 1.8 เมตร บันไดหน้ำประตูซุ้มทั้ง 4 ทิศตั้งรูปสิงห์นั่ง เสำโคปุระ
สูง 3.5 เมตร เป็นศิลปะแบบเกำะแกร์ ยังมีร่องรอยสีแดงที่เคยประดับตกแต่งตัวปรำสำท
เอำไว้ แต่ส่วนหลังคำกระเบื้องนั้นหำยไปหมดแล้ว บันไดทำงขึ้นโคปุระ ชั้นที่ 5 อยู่ทำง
ทิศเหนือ เป็นบันไดหินมีลักษณะค่อนข้ำงชัน ทำงทิศตะวันออกของโคปุระชั้นที่ 5 มีเส้น
ทำงขึ้นคล้ำยบันไดหน้ำแต่ค่อนข้ำงชัน และชำำรุดหลำยตอน ยำว 340 เมตรถึงไหล่เขำ
4. โคปุระ (ซุ้มประตู)ชั้นที่ 4(ปรำสำทหลังที่ 2) จะภำพของกำรกวนเกษียณ
สมุทร ณ เขำพระวิหำร ถือเป็น "หนึ่งในผลงำนชิ้นเอกอุของปรำสำทเขำพระวิหำร" ทับ
หลังเป็นภำพของพระนำรำยณ์บรรทมสินธุ์อยู่เหนืออนันตนำครำช ซึ่งทำงดำำเนินจำกโค
ปุระ ชั้นที่ 5 มำเป็นลำนหินกว้ำงประมำณ 7 เมตร สองข้ำงจะมีเสำนำงเรียงตั้งอยู่ทั้งสอง
ด้ำน แต่ก็มีปรักหักพังไปมำก โคปุระชั้นที่ 4 สร้ำงเป็นศำลำจตุรมุข มีกำำแพงด้ำนทิศใต้
เพียงด้ำนเดียว ยำว 39 เมตรจำกตะวันออกไปตะวันตก กว้ำง 29.5 เมตร จำกเหนือไป
ใต้ เป็นศิลปะสมัยหลังโคปุระ ชั้นที่ 5 คือ แคลง/บำปวน ด้ำนนอกตั้งรูปสิงห์ หน้ำบันเป็น
ภำพของกำรกวนเกษียณสมุทร
5. โคปุระ (ซุ้มประตู) ชั้นที่ 3 (ปรำสำทหลังที่ 1) เป็นโคปุระหลังที่ใหญ่โต
มโหฬำรที่ยังสมบูรณ์ที่สุด ลักษณะกำรสร้ำงคล้ำยกับ โคปุระ ชั้นที่ 1 และ 2 แต่ผิดตรงที่
มีฝำผนังกั้นล้อมรอบควำมใหญ่โตมำกกว่ำ และขนำบด้วยห้องสองห้อง ตัวปรำสำท
ประธำนนั้นสำมำรถผ่ำนเข้ำไปทำงลำนด้ำนหน้ำ บันไดกว้ำง 3.6 เมตร สูง 6 เมตร สอง
ข้ำงมีฐำนตั้งรูปสิงห์นั่ง 5 กระพัก มุขเหนือหน้ำบันเป็นรูปพระกฤษณะยกภูเขำโควรรธนะ
ทับหลังเป็นรูปพระนำรำยณ์ 4 กรทรงครุฑ และจำกโคปุระชั้นที่ 3 มีบันได 7 ขั้นขึ้นไปสู่
ถนนที่ยำว 34 เมตร มีเสำนำงเรียงปักรำยข้ำงถนน ข้ำงละ 9 ต้น ถัดจำกเสำนำงเรียงไป
เป็นสะพำนนำค 7 เศียร
6. โคปุระ (ซุ้มประตู) ชั้นที่ 2 สร้ำงเป็นศำลำจตุรมุข มีกำำแพงด้ำนทิศใต้เพียง
ด้ำนเดียวอยู่บนไหล่เขำทำงทิศเหนือของโคปุระชั้นที่ 2 บริเวณพื้นรำบของเส้นทำง
ดำำเนินและสองข้ำงทำงขึ้นลงของบันได จะพบรอยสกัดลงในพื้นศิลำมีลักษณะเป็นหลุม
กลมๆ สำำหรับใส่เสำเพื่อทำำเป็นปะรำำพิธี โดยมีประธำนในพิธีนั่งอยู่ในปะรำำพิธีเพื่อดูกำร
ร่ำยรำำบนเส้นทำงดำำเนิน กรอบประตูห้องมีจำรึกอักษรขอมระบุบปีศักรำชตกอยู่ในสมัย
พระเจ้ำสุรยวรมันที่ 1 ด้ำนหน้ำมนเทียรมีบันไดตรงกับประตูซุ้มทั้ง 3 ประตู และมีชำนต่อ
ไปยังเฉลียงซ้ำยและขวำ ที่สนำมด้ำนหน้ำมีภำพจำำหลักตกหล่นอยู่หลำยชิ้น เช่น รูป
กษัตริย์กำำลังหลั่งนำ้ำทักษิโณฑกแก่พรำหมณ์
7. โคปุระ (ซุ้มประตู) ชั้นที่ 1 สร้ำงเป็นศำลำจตุรมุข รูปทรงกำกบำทไม่มีฝำ
ผนังกั้น มีแต่บันไดและซุ้มประตูทั้ง 4 ทิศ สร้ำงอยู่บนฐำนสี่เหลี่ยม-ย่อมุม บันไดทำงขึ้น
โคปุระ ชั้นที่ 1 ทำงทิศเหนือ เป็นบันไดหินมีลักษณะค่อนข้ำงชัน เนื่องจำกมีควำมเชื่อกัน
ว่ำกำรที่จะเข้ำเฝ้ำเทพนั้น จะไปด้วยอำกำรเคำรพนพนอบในลักษณะหมอบคลำนเข้ำไป
ทำงทิศตะวันออกมีเส้นทำงขึ้นคล้ำยบันไดหน้ำแต่ค่อนข้ำงชัน และชำำรุดหลำยตอนเป็น
เส้นทำงขึ้นลง ไปสู่ประเทศกัมพูชำ เรียกว่ำ "ช่องบันไดหัก"
8. สระสรง จะอยู่ทำงด้ำนทิศตะวันออกของทำงดำำเนินห่ำงออกไป 12.40 เมตร
จะพบสระนำ้ำรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ำ มีขนำดกว้ำง 16.8 เมตร ยำว 37.80 เมตร กรุด้วยท่อน
หินเป็นชั้นๆ มีลักษณะเป็นขั้นบันได เรียกว่ำสระสรงกล่ำวกันว่ำใช้สำำหรับเป็นที่ชำำระ
ร่ำงกำยก่อนที่จะกระ
พิธีทำงศำสนำ
9. เป้ยตำดี เป้ยเป็นภำษำเขมร ซึ่งแปลว่ำ ชะง่อนผำหรือโพงผำ ตำมคำำบอกเล่ำ
ว่ำนำนมำแล้วมีพระภิกษุชรำรูปหนึ่งชื่อ "ดี" จำริกมำปลูกเพิงพำำนักอยู่ที่นี่จนมรณภำพ
ไป ชำวบ้ำนจึงเรียกลำนหินนี้ว่ำ "เป้ยตำดี" ซึ่งบริเวณตรงยอดเป้ยตำดีสูงกว่ำระดับนำ้ำ
ทะเล 657 เมตร ถ้ำวัดจำกพื้นที่เชิงเขำพื้นรำบฝั่งประเทศกัมพูชำสูงประมำณ 447 เมตร
ตรงชะง่อนผำเป้ยตำดี จะมีรอยสักพระหัตย์ของสมเด็จพระเจ้ำน้องยำเธอ กรมหลวง
สรรพสิทธิประสงค์ ว่ำ 118-สรรพสิทธิ แต่ก่อนมีธงไตรรงค์ของไทยอยู่ที่บริเวณผำเป้ย
ตำดี ในปัจจุบันคงเหลือแต่ฐำนไตรรงค์
ปรำสำทเขำพระวิหำรนับได้ว่ำเป็นปรำสำทขอมที่สำำคัญแห่งหนึ่ง ทั้งในแง่
ประวัติศำสตร์กำรก่อสร้ำงเทวสถำนของฮินดู และยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำำคัญทั้งของ
ไทยและกัมพูชำอีกด้วย ซึ่งปัจจุบันอุทยำนแห่งชำติเขำพระวิหำร มีเนื้อที่ 81,250 ไร่
และได้ประกำศให้เป็นอุทยำนแห่งชำติตำม พ.ร.บ.อุทยำนแห่งชำติ พ.ศ. 2504 โดยได้
ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม 115 ตอนที่ 14 ก ลงวันที่ 20 มีนำคม พ.ศ.2541 นับ
เป็นอุทยำนแห่งชำติลำำดับที่ 83 ของภำคตะวันออกเฉียงเหนือ ของไทย
อย่ำงไรก็ตำม เรื่องรำวกำรเสนอให้ปรำสำทเขำพระวิหำรเป็นมรดกโลกของ
กัมพูชำ ก็ยังเป็นข้อกังขำของคนไทยหลำยๆ คน เกิดกำรวิพำกษ์วิจำรณ์ต่ำงๆ นำนำ
กลำยเป็นประเด็นท็อปฮิตในขณะนี้ และล่ำสุดศำลปกครองกลำง ยังได้มีคำำสั่งคุ้มครอง
ชั่วครำว ระงับมติคณะรัฐมนตรี ที่นำยนพดล ปัทมะ รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรต่ำง
ประเทศและคณะรัฐมนตรี ได้ลงนำมในแถลงกำรณ์ร่วมรัฐบำลไทย-กัมพูชำ ในกำรที่
กัมพูชำจะขอขึ้นทะเบียนปรำสำทพระวิหำรเป็นมรดกโลก ไว้ก่อนจนกว่ำศำลจะมีคำำ
พิพำกษำหรือมีคำำสั่งเป็นอย่ำงอื่น ซึ่งบทสรุปเรื่องนี้จะเป็นอย่ำงไรต่อไปนั้นเรำคนไทยคง
ต้องติดตำมกันค่ะ
ข้อมูลจำก
, sisaket.go.th, moohin.com, soccersuck.com, wikipedia
กรณีขึ้นทะเบียน เขำพระวิหำร ลำำดับเหตุกำรณ์ไทย
ตกลงเขมร
หนึ่งในผลงำนรัฐบำลชุดปัจจุบันถูกโจมตีอันดับต้นๆ คือกำรทำำข้อตกลงที่ไทยจะ
สนับสนุนกำรขอขึ้นทะเบียน "ปรำสำทเขำพระวิหำรเป็นมรดกโลก" ของกัมพูชำ
ในเงื่อนไขให้ขึ้นทะเบียน "เฉพำะตัวปรำสำทเขำพระวิหำร" โดยฝ่ำยกัมพูชำจะจัด
ทำำ "แผนที่ฉบับใหม่" แสดงขอบเขตปรำสำทเขำพระวิหำรประกอบคำำขอขึ้นทะเบียน
ฝ่ำยรัฐบำล โดยนำยนพดล ปัทมะ รมว.กำรต่ำงประเทศ ยืนยันพร้อมแสดงแผนผัง
บริเวณปรำสำทที่ฝ่ำยกัมพูชำจะใช้ยื่นต่อยูเนสโกขอขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก ว่ำ กรม
แผนที่ทหำรตรวจสอบบริเวณดังกล่ำวอย่ำงละเอียดแล้ว ไม่มีส่วนใดลำ้ำเข้ำมำในดินแดน
ที่ไทยอ้ำงสิทธิ์
เรื่องรำวพิพำทระหว่ำงประเทศที่กลำยเป็น "ข้อตกลง" กันได้ แต่กลับ
เป็นข้อพิพำทภำยในประเทศ มีลำำดับเหตุกำรณ์ในระยะหลัง ดังนี้
- 12 พ.ค. นายนพดล ปัทมะ รมว.การต่างประเทศแจ้งว่า จะเดินทางไปยังเกาะกง
กัมพูชา ในวันที่ 14 พ.ค. เพื่อร่วมเปิดถนนสายที่ 48 กับนายฮุนเซน นายกรัฐมนตรี
กัมพูชา และวาระนี้จะหารือถึงการทำาบันทึกความเข้าใจ (เอ็มโอยู) ว่าให้มีการบริหาร
และจัดการร่วมกันในพื้นที่ทับซ้อน 4.6 ตารางกิโลเมตร ซึ่งต้องรีบคุยกันเพราะเวลา
เหลือน้อย เนื่องจากเรื่องการขึ้นทะเบียนเขาพระวิหารจะนำาเข้าสู่ที่ประชุมคณะกรรมการ
มรดกโลกในเดือนกรกฎาคม ที่ควิเบก ประเทศแคนาดา
- 14 พ.ค. นายธฤต จรุงวัฒน์ อธิบดีกรมสารนิเทศแถลงว่า การปักปันเขตแดนทาง
บกหรือพื้นที่ทับซ้อนบริเวณปราสาทเขาพระวิหาร และเรื่องพื้นที่ทางทะเลบริเวณ
ไหล่ทวีปที่กัมพูชาและไทยอ้างสิทธิ์ทับซ้อนกัน เป็นการเจรจา 2 กรอบที่แยกออกจากกัน
ทั้งในเรื่องคณะกรรมการที่รับผิดชอบและในสาระของแต่ละเรื่อง นอกจากกระทรวงการ
ต่างประเทศแล้ว ยังมีหน่วยงานราชการอื่นๆ ร่วมในการเจรจาด้วย
- 14 พ.ค. หลังร่วมพิธีเปิดถนนสายที่ 48 ที่เกาะกง นายนพดล หารือกับ นายสก
อาน รองนายกรัฐมนตรีและรมว.ประจำาสำานักนายกรัฐมนตรีกัมพูชา จากนั้นเปิดเผยว่า
กัมพูชามีท่าทีที่อ่อนลงและผ่อนปรนมากขึ้นในเรื่องเขาพระวิหาร หลังจากไทยและ
กัมพูชาเห็นต่างกันมานาน ในคำาวินิจฉัยของศาลโลกเมื่อปี 2505 ที่กรุงเฮก
ประเทศเนเธอร์แลนด์ ที่ตัดสินว่าตัวปราสาทเป็นของกัมพูชา ทางกัมพูชาจึง
ตีความ ว่าเส้นเขตแดนน่าจะเป็นไปตามคณะกรรมการปักปันสยาม-ฝรั่งเศส
แต่ไทยอ้างสิทธิ์ของไทยว่า เส้นเขตแดนนั้น ศาลโลกระบุว่าไม่มีเขตอำานาจ
นายนพดล ยำ้าว่า การแบ่งพื้นที่ทับซ้อนทางบกและการแบ่งพื้นที่ทางทะเลกับเขา
พระวิหารแยกออกจากกันสาระสำาคัญอยู่ที่ไทยไม่เคยคิดจะเอาเขาพระวิหารไปแลก
เปลี่ยนกับก๊าซธรรมชาติและนำ้ามัน และปฏิเสธว่าเรื่องการเปิดถนนสาย 48 ไม่เกี่ยวกับ
การลงทุนในกัมพูชาของพ.ต.ท.ทักษิณ อดีตนายกรัฐมนตรี เพราะเริ่มสร้างมา 3-4 ปี
แล้ว
- 22 พ.ค. นายนพดล กับ นายสก อาน หารือที่สำานักงานใหญ่ยูเนสโก
กรุงปารีส โดยมีผู้แทนระดับสูงของยูเนสโกเข้าร่วมด้วย ทั้งสองฝ่ายตกลงกัน
ดังนี้
1.ไทยจะสนับสนุนการขอขึ้นทะเบียนปราสาทเขาพระวิหารเป็นมรดกโลกซึ่งเสนอ
โดยกัมพูชา
2.กัมพูชาจะขอขึ้นทะเบียนเฉพาะตัวปราสาทเขาพระวิหาร โดยฝ่ายกัมพูชาจะจัด
ทำาแผนที่ฉบับใหม่แสดงขอบเขตปราสาทเขาพระวิหารเพื่อใช้แทนแผนที่ฉบับเดิมที่
กัมพูชาใช้ประกอบคำาขอขึ้นทะเบียน
3.การขึ้นทะเบียนปราสาทเขาพระวิหารเป็นมรดกโลกจะไม่มีผลกระทบต่อสิทธิ์
ของแต่ละฝ่ายในการสำารวจและจัดทำาหลักเขตแดนของคณะกรรมาธิ การเขตแดนร่วม
4.ทั้งสองฝ่ายจะต้องร่วมกันจัดทำาแผนบริหารจัดการในพื้นที่ที่อ้างสิทธิ์ทับซ้อน
โดยสอดคล้องกับมาตรฐานการอนุรักษ์ระดับสากล เพื่อเสนอคณะกรรมการมรดกโลก
พิจารณาภายในวันที่ 1 ก.พ.2553
- 30 พ.ค. กรณีที่ถูกวิจารณ์ว่า แผนที่ที่ทางกัมพูชายื่นให้ฝ่ายไทยรุกลำ้าเข้ามาใน
พื้นที่ของไทยประมาณ 200 เมตร นายนพดล ชี้แจงว่า ไทยถือแผนที่คนละฉบับกับ
กัมพูชา ไทยใช้แผนที่ แอล 7017 มาโดยตลอดตั้งแต่ศาลโลกมีคำาวินิจฉัยและทุกหน่วย
งานของไทยใช้แผนที่ฉบับดังกล่าวเช่นกัน
- 5 มิ.ย. กระทรวงการต่างประเทศได้รับแผนที่ฉบับใหม่จากฝ่ายกัมพูชาที่จะใช้
แทนแผนที่เดิมที่ยื่นไว้เมื่อปี 2549 และได้ขอความร่วมมือกรมแผนที่ทหาร กอง
บัญชาการกองทัพไทย ตรวจสอบข้อมูลในภูมิประเทศจริงเพื่อความถูกต้องชัดเจน
- 16 มิ.ย. แผนที่ฉบับใหม่ได้รับความเห็นชอบจากสภาความมั่นคงแห่งชาติ
- 17 มิ.ย. แผนที่ฉบับใหม่ได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี โดยมติครม.
มอบอำานาจให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศไปลงนามในร่างแถลงการณ์ร่วม
กับ นายสก อาน รองนายกรัฐมนตรีกัมพูชาเพื่อยืนยันข้อตกลงของทั้งสองฝ่ายตามที่
ตกลงกันไว้ในการหารือที่กรุงปารีสด้วย
- 18 มิ.ย. นายนพดลลงนามในข้อตกลงร่วมกับกัมพูชาเมื่อ 22 พ.ค.2551
จากนั้นเปิดแถลงข่าวแสดงแผนที่ยืนยันว่า ไทยไม่เสียดินแดน
ข้อมูลและภาพประกอบจาก
เหตุผลใดไทย จึงแพ้คดีปราสาทพระวิหาร
บทความโดย ประสิทธิ์ ปิวาวัฒนพานิช คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
...คนไทยไม่ค่อยรู้ความเป็นมาเป็นไปในคดีปราสาทพระวิหารอาจเป็นเพราะว่า
ประเทศไทยแพ้คดีนี้ให้กับประเทศเพื่อนบ้านคือกัมพูชา จนทำาให้สังคมไทยไม่อยาก
กล่าวถึงคดีนี้มากนัก...
ประเด็นเรื่องปราสาทพระวิหารกลายเป็นหัวข้อที่สาธารณชนให้ความสนใจอีก
ครั้ง เมื่อประเทศกัมพูชายื่นเรื่องการขอเสนอให้ปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลกตาม
อนุสัญญา Convention Concerning the Protection of the World Cultural and
Natural Heritage โดยที่ประเทศไทยคัดค้านการยื่นฝ่ายเดียวของกัมพูชา โดยอ้างเรื่อง
ความสมบูรณ์ทางวิชาการด้านโบราณคดีและการที่ทั้งสองประเทศยัง ตกลงกันไม่ได้
เกี่ยวกับเขตแดน
แม้คดีนี้จะผ่านความรับรู้ของคนไทยมายาวนานแล้วก็ตามแต่ปรากฏว่ามีคนไทย
น้อยมากที่รู้ข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายในเรื่องนี้
เหตุผลที่คนไทยไม่ค่อยรู้ความเป็นมาเป็นไปในคดีปราสาทพระวิหารอาจเป็น
เพราะว่าประเทศไทยแพ้คดีนี้ให้กับประเทศเพื่อนบ้านคือกัมพูชา จนทำาให้สังคมไทยไม่
อยากกล่าวถึงคดีนี้มากนัก
และด้วยเหตุที่คนไทยรู้จักกับคดีนี้น้อย จึงอาจมีการบิดเบือนข้อมูลได้ง่าย
เนื่องจากคดีนี้มีสองประเด็นใหญ่ที่ต้องพิจารณาคือ ประเด็นเรื่องการยอมรับเขต
อำานาจศาลและการพิจารณาขั้นเนื้อหา จึงขอแยกอธิบาย ดังนี้
ประเด็นเรื่องเขตอำานาจศาลโลก
ประชาชนคนไทยมักจะสงสัยอยู่เสมอว่า ทำาไมประเทศไทยต้องไปขึ้นต่อสู้คดีต่อ
ศาลโลกที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ทั้งๆ ที่ประเทศไทยมีอธิปไตย มีเอกราช การขึ้น
ต่อสู้คดีของประเทศไทยมิเท่ากับเป็นการเสียเอกราชหรือ
ประเด็นนี้ เป็นประเด็นข้อกฎหมายที่สลับซับซ้อน หากใช้ความรู้สึกชาตินิยมหรือ
สามัญสำานึกย่อมไม่เข้าใจว่าทำาไมประเทศไทยต้อง ขึ้นศาลโลก ผู้เขียนจะขออธิบาย
ช่องทางการยอมรับเขตอำานาจศาลโลกเสียก่อนว่ามีวิธีการใด บ้าง การยอมรับเขต
อำานาจศาลโลกนั้นทำาได้อยู่สามประการคือ
ประการแรก การยอมรับเขตอำานาจการพิจารณาคดีโดยการเข้าเป็นภาคี
อนุสัญญาใดอนุสัญญาหนึ่ง ซึ่งกำาหนดว่า หากมีปัญหาในการตีความสนธิสัญญา ให้
ศาลโลกเป็นผู้พิจารณา
ประการที่สอง ประเทศคู่พิพาทตกลงทำาความตกลงยอมรับเขตอำานาจ
ศาลโลกเป็นเฉพาะกรณีๆ ไป กล่าวคือ เมื่อเกิดข้อพิพาทขึ้นมาแล้ว รัฐคู่พิพาทได้ทำาสนธิ
สัญญายอมรับเขตอำานาจศาลเฉพาะข้อพิพาทนั้น และ
ประการที่สาม รัฐได้ทำาคำาประกาศฝ่ายเดียวยอมรับเขตอำานาจศาล ทั้งนี้
ภายใต้เงื่อนไขที่รัฐกำาหนดไว้
ประเด็นเรื่องการยอมรับเขตอำานาจศาลโลก (ทั้งศาลโลกเก่าและใหม่)
ของประเทศไทยนั้นเป็นประเด็นที่คนไทยไม่ใคร่ได้กล่าวถึง อาจเป็นเพราะว่าเป็น
ประเด็นข้อกฎหมายมากเกินไปประชาชนทั่วไปจึงไม่ค่อยได้ สนใจ
อีกทั้งทางการก็มิได้ชี้แจงประเด็นนี้ต่อสาธารณชน มากนักทั้งๆ ที่ประเด็นนี้มี
ความสำาคัญอย่างมาก และเป็นประเด็นที่หากมีการกล่าวถึงในวงกว้างแล้วก็อาจมีผลกระ
ทบต่อผู้ เกี่ยวข้องได้ แต่เนื่องจากประเด็นนี้สำาคัญ ผู้เขียนจึงมิอาจหลีกเลี่ยงที่จะข้ามไป
ได้จึงขอกล่าวถึง ดังนี้
ประเทศไทยได้ทำาคำาประกาศยอมรับเขตอำานาจของศาลโลก ทั้งหมด 3 ฉบับ
ดังนี้
ฉบับแรกทำาเมื่อวันที่ 20 กันยายน ค.ศ.1929 และเริ่มมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่
7 พฤษภาคม ในปี ค.ศ.1930 โดยคำาประกาศยอมรับเขตอำานาจศาลโลกเก่าซึ่งชื่ออย่าง
เป็นทางการคือ "ศาลประจำายุติธรรมระหว่างประเทศ" (Permanent Court of
International Justice : PCIJ) เป็นเวลา 10 ปี
ฉบับที่สอง รัฐบาลไทยทำาคำาประกาศโดยมิวัตถุประสงค์เพื่อ "ต่ออายุุ"
(renew) เขตอำานาจศาลโลกเก่า โดยคำาประกาศฉบับที่สองนี้ทำาเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม
ค.ศ.1940 โดยคำาประกาศที่สองนี้เริ่มมีผลใช้บังคับวันที่ 9 พฤษภาคม ค.ศ.1940
ฉบับที่สาม รัฐบาลไทยทำาเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ.1950 ซึ่งหลังจากที่
คำาประกาศฉบับที่สอง (ที่ต่ออายุคำาประกาศฉบับแรก) หมดอายุเป็นเวลา 14 วัน
มีข้อสังเกตที่น่าสนใจและเป็นประเด็นข้อกฎหมายที่ฝ่ายไทยนำามาอ้างก็คือ
ศาลโลกเก่านั้นได้สิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 19 เมษายน ค.ศ.1946 และตามธรรมนูญของ
ศาลโลกใหม่ที่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า "ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ"
(International Court of Justice : ICJ) นั้นมาตรา 36 วรรค 5 ได้กำาหนดว่า ให้การ
ยอมรับเขตอำานาจ "ศาลโลกเก่า" โอนถ่ายไปยัง "ศาลโลกใหมุ่" หากว่า คำาประกาศ
นั้นยังมีผลใช้บังคับอยู่หรือกล่าวง่ายๆ คือ ยังไม่ขาดอายุนั่นเอง
ข้อต่อสู้เกี่ยวกับการคัดค้านเขตอำานาจศาลโลกใหม่ที่ทนายความฝ่ายไทยต่อ สู้
ในชั้นของการคัดค้านเขตอำานาจของศาลโลกใหม่นั้นมีว่า คำาประกาศยอมรับเขตอำานาจ
ศาลโลกเก่าได้ยุติลงอันเป็นผลมาจากการสิ้นสุดของศาล โลกเก่า ดังนั้น คำาประกาศต่อ
อายุเขตอำานาจศาลโลกเก่าเมื่อวันที่ 20 เมษายน ค.ศ.1950 จึงไม่มีผลใช้บังคับอีกต่อไป
อีกทั้งคำาประกาศดังกล่าวมิใช่คำาประกาศยอมรับเขตอำานาจศาลโลกใหม่ ดังนั้น
ศาลโลกใหม่จึงไม่มีเขตอำานาจ
แต่ข้อต่อสู้นี้อ่อนมาก ศาลโลกเห็นว่า คำาประกาศยอมรับเขตอำานาจศาลฉบับที่
สามที่รัฐบาลไทยทำาเมื่อวันที่ 20 เมษายน ค.ศ.1950 นั้น ไม่สามารถใช้เป็นเหตุผลใน
การต่ออายุยอมรับเขตอำานาจศาลโลกเก่าได้ เพราะว่า คำาประกาศฉบับที่สามนี้ ทำาหลัง
จากที่คำาประกาศฉบับที่สองหมดอายุแล้วสองอาทิตย์
ศาลโลกเห็นว่า สิ่งที่จะต่ออายุได้นั้น สิ่งนั้นต้องเป็นสิ่งที่ยังมีอยู่ มิใช่เป็นสิ่งที่ไม่มี
อยู่อีกต่อไปแล้ว อีกทั้งรัฐบาลไทยก็รู้ดีว่าขณะที่ทำาคำาประกาศฉบับที่สามนั้นทำาหลังจาก
ที่ศาล โลกเก่าได้สิ้นสุดลงแล้วกว่าสี่ปี (ศาลโลกเก่าสลายตัวเมื่อปี ค.ศ.1946 แต่คำา
ประกาศฉบับที่สามทำาเมื่อปี ค.ศ.1950) ข้ออ้างของประเทศไทยจึงฟังไม่ขึ้น
ประเด็นต่อไปมีว่า ในเมื่อคำาประกาศฉบับที่สามฟังไม่ได้ว่าเป็นคำาประกาศต่ออายุ
ยอมรับเขตอำานาจ ศาลโลกเก่าแล้ว ผลในทางกฎหมายของคำาประกาศฉบับที่สามคือ
อะไร ศาลโลกเห็นว่า คำาประกาศยอมรับเขตอำานาจศาลฉบับที่สามเป็นคำาประกาศใหม่ ที่
แยกเป็นเอกเทศออกจากคำาประกาศฉบับแรกและฉบับที่สอง
และหากพิจารณาเนื้อหาของคำาประกาศที่สามแล้ว ศาลโลกเห็นว่า เป็นการ
ประกาศยอมรับเขตอำานาจศาลโลกใหม่ โดยอิงเงื่อนไขจากคำาประกาศฉบับแรก
ดังนั้น ศาลโลกจึงมีมติเป็นเอกฉันท์ว่า ศาลโลกมีเขตอำานาจพิจารณาข้อ
พิพาทที่รัฐบาลกัมพูชาฟ้องรัฐบาลไทย ข้อต่อสู้ทางกฎหมายของฝ่ายไทยฟัง
ไม่ขึ้น
ประเด็นเรื่องเนื้อหาของข้อพิพาท
คำาร้องของกัมพูชาที่สำาคัญที่ให้ศาลโลกวินิจฉัยคือประเด็นที่ว่า กัมพูชามีอำานาจ
อธิปไตยเหนือดินแดนอันเป็นที่ตั้งของปราสาทพระวิหาร การนำาเสนอพยานหลักฐาน
ของทั้งสองฝ่ายนั้นมีดังนี้
ฝ่ายไทยเสนอว่า หากพิจารณาตามสนธิสัญญาที่สยามทำากับประเทศฝรั่งเศส
(ขณะนั้นประเทศฝรั่งเศสปกครองกัมพูชา) เมื่อปี ค.ศ.1904 ซึ่งตามสนธิสัญญาจะใช้
"สันปันนำ้า" (watershed) ปราสาทพระวิหารจะอยู่ฝั่งไทย แต่หากพิจารณาตาม
แผนที่ ปราสาทพระวิหารจะอยู่ฝั่งกัมพูชา
ขออธิบายตรงนี้เลยว่าหลังจากที่มีการทำาสนธิสัญญาทวิภาคีในปี ค.ศ.1904 ทั้ง
สองฝ่ายได้ตั้งคณะกรรมการผสมขึ้น และไม่นานนัก คณะกรรมการชุดนี้ก็มิได้ทำางานอีก
ต่อไป ต่อมา ฝ่ายไทยได้ร้องขอให้ประเทศฝรั่งเศสจัดทำาแผนที่ขึ้น ข้อสังเกตเกี่ยวกับ
แผนที่เจ้าปัญหาฉบับนี้ มีดังนี้
ประการแรก แผนที่นี้เป็นการร้องขอจากฝ่ายไทยให้ประเทศฝรั่งเศสทำาขึ้น
แผนที่นี้ทำาขึ้นที่กรุงปารีส การที่ประเทศร้องขอให้ประเทศฝรั่งเศสทำาขึ้นนั้นเป็นเพราะว่า
ในขณะนั้น ประเทศไทยยังขาดผู้เชี่ยวชาญในการทำาแผนที่
ประการที่สอง การปักปันเขตแดนแล้วลงมาตราส่วนลงในแผนที่เป็นการ
กระทำาฝ่ายเดียวของประเทศฝรั่งเศส โดยที่ฝ่ายไทยไม่มีส่วนร่วมเลย
ประการที่สาม การทำาแผนที่นี้ไม่เกี่ยวกับคณะกรรมการผสมแต่อย่างใด
ในประเด็นนี้ผู้พิพากษาฟิสต์มอริสซึ่งเป็นหนึ่งในองค์คณะกล่าวว่า คณะกรรมการผสม
ไม่เคยแม้แต่จะ "เห็น" แผนที่นี้ อย่าว่าแต่ "รับรอง" เลย เป็นการร้องขอฝ่ายเดียวจาก
รัฐบาลไทย
ประการที่สี่ เป็นเรื่องที่สำาคัญที่สุดและเป็นเหตุผลสำาคัญที่ศาลโลกวินิจฉัย
ให้ประเทศไทยแพ้ก็คือ แม้ประเทศไทยจะไม่มีส่วนในการทำาแผนที่ แต่
ประเทศไทยก็ไม่เคยคัดค้านหรือประท้วงเกี่ยวกับความถูกต้องของแผนที่
ทั้งๆ ที่ประเทศไทยมีโอกาสอยู่หลายครั้งที่จะทักท้วงหรือประท้วงถึง
ความคลาด เคลื่อนหรือความผิดพลาดของแผนที่
โอกาสที่จะประท้วงความไม่ถูกต้องของแผนที่ เช่น กรณีการเจรจาทำาสนธิ
สัญญาทางไมตรี พาณิชย์และการเดินเรือกับประเทศฝรั่งเศสที่ทำาขึ้นในปี ค.ศ.1925-
1937 แต่ไทยก็มิได้ทักท้วง
ซึ่งศาลโลกเห็นว่า การนิ่งเฉยของประเทศไทยเป็นเวลานานเท่ากับ
เป็นการยอมรับความถูกต้องของแผนที่แล้ว จะมาปฏิเสธในภายหลังนั้น ไม่
อาจกระทำาได้ เป็นการปิดปากประเทศไทยว่าจะมาปฏิเสธความผิดพลาดของแผนที่ไม่
ได้
ยิ่งไปกว่านั้น ทางการของไทยเองยังได้ทำาแผนที่ใช้ขึ้นเองอีกด้วยในปี
ค.ศ.1937 โดยแผนที่ที่เจ้าหน้าที่ของไทยเป็นผู้จัดทำา ได้แสดงว่าปราสาทพระวิหารตั้ง
อยู่ในดินแดนของกัมพูชา ประเด็นนี้ไทยอ้างว่า แผนที่ที่ไทยทำาขึ้นเองฉบับนี้มี
วัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการทหารเป็นการภายในเท่านั้น แต่ศาลโลกไม่เห็นด้วยกับข้อ
อ้างของไทยในประเด็นนี้
เหตุผลประการหนึ่งที่ศาลโลกเห็นว่า ประเทศไทยยอมรับอำานาจอธิปไตยของ
กัมพูชาเหนือที่ตั้งปราสาทพระวิหารก็คือ การที่กรมพระยาดำารงราชานุภาพได้ไปเยือน
กึ่งเป็นทางการที่ปราสาทพระวิหาร ในครั้งนั้น กองทหารฝรั่งเศสได้ตั้งกองทหาร
เกียรติยศรับการเสด็จอย่างเต็มที่ และยังชักธงชาติของประเทศฝรั่งเศสด้วย
ซึ่งศาลโลกเห็นว่า เท่ากับประเทศไทยยอมรับอำานาจอธิปไตยเหนือ
ปราสาทพระวิหารว่าเป็นของกัมพูชา (ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศส) อย่างไร
ก็ตาม ประเด็นนี้ ผู้พิพากษาศาลโลกท่านหนึ่งคือ ท่านเวลลิงตัน คู ซึ่งเป็นตุลาการเสียง
ข้างน้อยได้ทำาความเห็นแย้งว่า ในเวลานั้นกรมพระยาดำารงราชานุภาพได้ดำารงตำาแหน่ง
เสนาบดีกระทรวงมหาดไทยแล้ว แต่ดำารงตำาแหน่งนายกราชบัณฑิตยสถานแห่ง
ประเทศไทย อีกทั้งพระองค์ยังตรัสว่า การมาเยือนปราสาทพระวิหารนี้ไม่เกี่ยวกับ
การเมือง
นอกจากนี้ สาเหตุอีกประการหนึ่งที่ไทยแพ้คดีอาจเป็นผลมาจากการตั้งรูปคดีที่
ผิดพลาดมา ตั้งแต่ต้น แทนที่ประเทศไทยจะปฏิเสธความผิดพลาดของแผนที่ ควรรับ
ประเด็นเรื่องแผนที่ แล้วยกข้อต่อสู้ว่า ในกรณีที่ข้อความในสนธิสัญญาที่ให้ใช้ "สันปัน
นำ้า" แย้งกับ "แผนที่" ในกรณีนี้ให้ถือว่าข้อความในสนธิสัญญามีค่าบังคับเหนือกว่า
ซึ่งอนุสัญญาแวร์ซายส์ มาตรา 29 ก็มีข้อความทำานองนี้ อีกทั้งก็มีคดีที่ศาลตัดสิน
ให้ความน่าเชื่อถือของสนธิสัญญายิ่งกว่าแผนที่
จริงหรือที่ "การนิ่งเฉย" หรือ "กฎหมายปิดปาก" มิใช่เป็นหลัก
กฎหมาย
หลังจากที่ไทยแพ้คดี นายถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีกระทรวงการต่าง
ประเทศเวลานั้นกล่าวทำานองว่าศาลโลกนำาหลักกฎหมายที่ไม่ชัดเจนมาตัดสินคดี ที่
น่าคิดก็คือ ทำาไมทนายฝ่ายไทยไม่ทราบ หรือว่า "หลักกฎหมายปิดปาก" หรือ "การนิ่ง
เฉย" นั้น ศาลโลกหรืออนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศเคยนำามาใช้หลายคดีแล้ว
อีกทั้งนักกฎหมายระหว่างประเทศก็ยังได้เขียนบทความเรื่อง "หลักกฎหมาย
ปิดปากที่ใช้ในศาลระหว่างประเทศและความสัมพันธ์ของหลักกฎหมาย ดัง
กล่าวกับการนิ่งเฉย" (Estoppel before Internationals and Its Relation to
Acquiescence) เขียนโดยนักกฎหมายระหว่างประเทศชื่อ Bowett ลงในวารสาร
British Yearbook of International Law ปี ค.ศ.1957 และบทความชื่อ "หลัก
กฎหมายปิดปากในกฎหมายระหว่างประเทศ" โดย Mcgibborn ในวารสาร
International and Comparative Law Quarterly ปี 1958 ซึ่งตีพิมพ์ก่อนที่ศาลโลกจะ
ตัดสินประมาณ 3-4 ปี
ไม่อาจคาดการณ์ได้แน่ชัดว่าฝ่ายไทยได้เคยอ่านบทความนี้หรือไม่ แต่ไม่ว่าฝ่าย
ไทยจะได้เคยอ่านบทความนี้หรือไม่ก็ตาม ประเด็นที่น่าคิดก็คือ ทนายความของฝ่ายไทย
น่าจะย่อมรู้ถึงหลักกฎหมายปิดปากเป็นอย่างดี
เพราะหลักว่าด้วย "การถูกการตัดสิทธิ" (Preclusion) หรือ "การนิ่งเฉย"
อาจเทียบได้หรือมีผลเท่ากันกับ "หลักกฎหมายปิดปาก" อันเป็นหลักกฎหมายอังกฤษ
หรือแองโกลแซกซอน
บทส่งท้าย
สรุปเหตุผลที่แท้จริงที่ประเทศไทยเสียปราสาทพระวิหารคือ การยอมรับ
ความคลาดเคลื่อนของแผนที่อันเป็นผลมาจากการทำาแผนที่ฝ่ายเดียวของ
เจ้าหน้าที่ฝรั่งเศส ซึ่งศาลโลกเห็นว่า หลังจากที่ทำาสนธิสัญญาประเทศสยามอยู่ใน
ฐานะที่จะคัดค้านความไม่ถูกต้องของ แผนที่ได้หลายครั้ง แต่ก็มิได้คัดค้าน จึงปิดปาก
ประเทศสยามว่าต่อมาจะปฏิเสธความไม่ถูกต้องของแผนที่ไม่ได้
หากประเทศไทยจะเสียดินแดนอีกครั้งคงไม่ใช่เพราะนำาข้อมูลการต่อสู้ทาง
กฎหมายคดีความเอาไปขายให้กับประเทศเพื่อนบ้านหรือเกิดจากความไม่รักชาติ ไม่
สามัคคีอย่างที่คนไทยหลายคนเข้าใจกัน (ซึ่งรวมถึง พลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน ด้วย) แต่
เกิดจากความไม่รอบคอบ ความประมาท และไม่รู้จักหน้าที่ของตนเองมากกว่า เหมือน
กับสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสามจังหวัดภาคใต้ของเรา
ข้อมูลจาก
ภาพประกอบทางอินเทอร์เน็ต
Edit : thongkrm_virut@yahoo.com

More Related Content

Viewers also liked

water cycle and crop iland clouds
water cycle and crop iland clouds water cycle and crop iland clouds
water cycle and crop iland clouds millones_nico
 
Columbus water damage emergency
Columbus water damage emergencyColumbus water damage emergency
Columbus water damage emergencyClaudia Orion
 
Summative Assessment Paper-6
Summative Assessment Paper-6Summative Assessment Paper-6
Summative Assessment Paper-6APEX INSTITUTE
 
はじめてのスクリプト・ネコから逃げろ!
はじめてのスクリプト・ネコから逃げろ!はじめてのスクリプト・ネコから逃げろ!
はじめてのスクリプト・ネコから逃げろ!fujit
 
US PROBE INTO TESLA CAR FIRES RAISES PROSPECT OF MODEL RECALL
US PROBE INTO TESLA CAR FIRES RAISES PROSPECT OF MODEL RECALLUS PROBE INTO TESLA CAR FIRES RAISES PROSPECT OF MODEL RECALL
US PROBE INTO TESLA CAR FIRES RAISES PROSPECT OF MODEL RECALLPrajakta Talathi
 
Анализ урока по чтению
Анализ урока по чтениюАнализ урока по чтению
Анализ урока по чтениюYushkovaT1977
 
Online fundraising
Online fundraisingOnline fundraising
Online fundraisingSyed Zaher
 
Accounting Chapter 7 Lecture 05
Accounting Chapter 7 Lecture 05Accounting Chapter 7 Lecture 05
Accounting Chapter 7 Lecture 05Cambriannews
 
UPKAR MANN CV.
UPKAR MANN CV.UPKAR MANN CV.
UPKAR MANN CV.Upkar Mann
 
Benefits and Challenges of OER
Benefits and Challenges of OERBenefits and Challenges of OER
Benefits and Challenges of OERKhumii2
 
Dyslexia: The Disease You Get in School
Dyslexia: The Disease You Get in SchoolDyslexia: The Disease You Get in School
Dyslexia: The Disease You Get in SchoolBill McNally
 

Viewers also liked (14)

water cycle and crop iland clouds
water cycle and crop iland clouds water cycle and crop iland clouds
water cycle and crop iland clouds
 
Columbus water damage emergency
Columbus water damage emergencyColumbus water damage emergency
Columbus water damage emergency
 
Summative Assessment Paper-6
Summative Assessment Paper-6Summative Assessment Paper-6
Summative Assessment Paper-6
 
はじめてのスクリプト・ネコから逃げろ!
はじめてのスクリプト・ネコから逃げろ!はじめてのスクリプト・ネコから逃げろ!
はじめてのスクリプト・ネコから逃げろ!
 
US PROBE INTO TESLA CAR FIRES RAISES PROSPECT OF MODEL RECALL
US PROBE INTO TESLA CAR FIRES RAISES PROSPECT OF MODEL RECALLUS PROBE INTO TESLA CAR FIRES RAISES PROSPECT OF MODEL RECALL
US PROBE INTO TESLA CAR FIRES RAISES PROSPECT OF MODEL RECALL
 
Анализ урока по чтению
Анализ урока по чтениюАнализ урока по чтению
Анализ урока по чтению
 
Online fundraising
Online fundraisingOnline fundraising
Online fundraising
 
Accounting Chapter 7 Lecture 05
Accounting Chapter 7 Lecture 05Accounting Chapter 7 Lecture 05
Accounting Chapter 7 Lecture 05
 
UPKAR MANN CV.
UPKAR MANN CV.UPKAR MANN CV.
UPKAR MANN CV.
 
Benefits and Challenges of OER
Benefits and Challenges of OERBenefits and Challenges of OER
Benefits and Challenges of OER
 
new-Modified
new-Modifiednew-Modified
new-Modified
 
Portfolio_essenza
Portfolio_essenzaPortfolio_essenza
Portfolio_essenza
 
Dyslexia: The Disease You Get in School
Dyslexia: The Disease You Get in SchoolDyslexia: The Disease You Get in School
Dyslexia: The Disease You Get in School
 
Blacks Island
Blacks IslandBlacks Island
Blacks Island
 

Similar to รวบรวมประวัติ และกรณีการขัดแย้งของเขาพระวิหาร จากสือต่างๆ

หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์chakaew4524
 
อะโครโปลิสแห่งเอเธนส์
อะโครโปลิสแห่งเอเธนส์อะโครโปลิสแห่งเอเธนส์
อะโครโปลิสแห่งเอเธนส์SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
อะโครโปลิสแห่งเอเธนส์
อะโครโปลิสแห่งเอเธนส์อะโครโปลิสแห่งเอเธนส์
อะโครโปลิสแห่งเอเธนส์SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 ok
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 okอนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 ok
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 okPatpong Lohapibool
 
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59Looknum
 
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59Looknum
 

Similar to รวบรวมประวัติ และกรณีการขัดแย้งของเขาพระวิหาร จากสือต่างๆ (10)

หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๒  หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๒ หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
โขน
โขนโขน
โขน
 
อะโครโปลิสแห่งเอเธนส์
อะโครโปลิสแห่งเอเธนส์อะโครโปลิสแห่งเอเธนส์
อะโครโปลิสแห่งเอเธนส์
 
อะโครโปลิสแห่งเอเธนส์
อะโครโปลิสแห่งเอเธนส์อะโครโปลิสแห่งเอเธนส์
อะโครโปลิสแห่งเอเธนส์
 
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 ok
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 okอนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 ok
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 ok
 
Sukhothai
SukhothaiSukhothai
Sukhothai
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
 
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร กลุ่มที่ 59
 

More from Thongkum Virut

งานวิจัย
งานวิจัยงานวิจัย
งานวิจัยThongkum Virut
 
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)Thongkum Virut
 
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทยบิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทยThongkum Virut
 
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณการปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณThongkum Virut
 
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...Thongkum Virut
 
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓Thongkum Virut
 
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...Thongkum Virut
 
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริหนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริThongkum Virut
 
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่Thongkum Virut
 
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรThongkum Virut
 
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์Thongkum Virut
 
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการสหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการThongkum Virut
 
ประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวูประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวูThongkum Virut
 
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกเหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกThongkum Virut
 
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...Thongkum Virut
 
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยเรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยThongkum Virut
 
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยคู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยThongkum Virut
 
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาThongkum Virut
 

More from Thongkum Virut (20)

งานวิจัย
งานวิจัยงานวิจัย
งานวิจัย
 
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
ลัทธิชาตินิยม(Nationalism)
 
All10
All10All10
All10
 
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทยบิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
บิดาวิชาเศรษฐศาสตร์ไทย
 
ข้าว
ข้าวข้าว
ข้าว
 
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณการปกครองของไทยในสมัยโบราณ
การปกครองของไทยในสมัยโบราณ
 
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน   อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
หนังสือ ความขัดแย้งของการปฏิวัติ กับ ปัญหาของปัญญาชน อันโตนิโย กรัมชี - สมบ...
 
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
หนังสือ คอลัมน์ ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร เล่ม ๓
 
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
หนังสือ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า ทรงโต้แย้งเค้าโคงเศรษฐกิจ ของ ปรีดี พนมยงค์(ฉบ...
 
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริหนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
หนังสือ ไม้ขีดก้านเดียวทีเปลียนสังคมเกาหลี จรรยา ยิ้มประเสริ
 
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
หนังสือ ดร ซุนยัดเซ็น ประวัติการต่อสู้เพื่อสร้างประชาธิปไตยใหม่ในจีนแผ่นดินใหญ่
 
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทรประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
ประวัติย่อของนายประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
 
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
ยูโทเปีย ของ ทอมัส มอร์
 
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการสหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
สหภาพแรงงานในระบอบเผด็จการ
 
ประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวูประวัติรัฐหวู
ประวัติรัฐหวู
 
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลกเหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
เหล่าบุคคลผู้ทรงอิทธิพลของโลก
 
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
ในประเทศไทยถ้าพูดถึงเรื่องที่ดิน มีเรื่องเดียว คือ การปฏิรูปที่ดินทั่วประเทศ ...
 
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตยเรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
เรื่อง กฎหมายพรรคการเมืองคือเครื่องจองจำประชาธิปไตย
 
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทยคู่ขัดแย้งในสังคมไทย
คู่ขัดแย้งในสังคมไทย
 
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
 

รวบรวมประวัติ และกรณีการขัดแย้งของเขาพระวิหาร จากสือต่างๆ

  • 1. รวบรวมประวัติ และกรณีการขัดแย้ง ของ เขาพระวิหาร จากสือต่างๆ
  • 2.
  • 3.
  • 4. กลายเป็นประเด็นทอล์กออฟเดอะทาวน์ให้พูดถึงไม่รู้จบจริงๆ สำาหรับ "เขาพระ วิหาร" หรือ "ปราสาทเขาพระวิหาร" จนทำาให้หลายๆ คนอยากรู้ประวัติ ว่า "เขา พระวิหาร" แห่งนี้มีความเป็นมาอย่างไร และกำาลังกลายเป็นว่าที่มรดกโลกได้อย่างไร…? แล้วไทยกับกัมพูชามีส่วนเกี่ยวข้องอย่างไรกับประวัติศาสตร์เขาพระวิหารแห่งนี้…วันนี้ เรามีคำาตอบมาเฉลยค่ะ และจะพาย้อนตำานานไปศึกษาประวัติเขาพระวิหารกัน ... อย่ารอ ช้ารีบตามเข้ามาเลยค่ะ เขาพระวิหาร หรือที่หลายๆ คนรู้จักในนาม "ปราสาทเขาพระวิหาร"
  • 5. (Prasat Preah Vihear) และที่ประเทศกัมพูชาเรียกขานว่า "เปรี๊ยะวิเฮียร์" เป็น ปราสาทหินตั้งอยู่บริเวณเทือกเขาพนมดงรัก ในพื้นที่ทับซ้อนชายแดนไทย-กัมพูชา ระ หว่างบ้านสรายจร็อม อำาเภอจอมกระสานต์ จังหวัดพระวิหาร ของประเทศกัมพูชา และ บ้านภูมิซรอล ตำาบลเสาธงชัย อำาเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ ใกล้ๆ กับอุทยานแห่ง ชาติเขาพระวิหาร เขาพระวิหาร เป็นบริเวณสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของคนพื้นเมืองสมัยก่อน ในกษัตริย์ ชัยวรมันที่ 2 ได้กำาหนดเขตบริเวณนี้และเรียกชื่อว่า "ภวาลัย" ภายหลังปรากฏชื่อใน จารึกภาษาสันสกฤตว่า "ศรีศิขรีศวร" หมายความว่า "ผู้เป็นใหญ่แห่งภูเขาอัน ประเสริฐ" ตั้งอยู่บนยอดเขาในเทือกเขาพนมดงรัก ตามแนวเส้นกั้นเขตแดนระหว่าง ประเทศไทยกับกัมพูชา จากหลักฐานต่างๆ คาดว่าสร้างในปี พ.ศ.1432-1443 ในสมัย พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 เพื่อใช้เป็นสถานที่สักการะตามความเชื่อทางศาสนาพราหมณ์ โดยสมมติให้เปรียบเสมือน "เขาพระสุเมรุ" (ศูนย์กลางของจักรวาล) โดยการสร้างนั้นก็มี เหตุผลในการรวบรวมอำานาจและความเชื่อของคนในละแวกนั้นเข้าด้วยกัน เพราะใน อดีตแถบนั้นมีผู้คนหลากหลายเชื้อชาติอาศัยอยู่รวมกัน พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 จึงโปรด ให้สร้างเขาพระวิหารขึ้น เพื่อเป็นจุดยึดเหนี่ยวและศูนย์รวมจิตใจของ ชาวบ้านซึ่งจะ ทำาให้การปกครองง่ายขึ้นด้วย ปราสาทเขาพระวิหาร "ปราสาทเขาพระวิหาร" หรือ "ปราสาทพระวิหาร" เป็นโบราณสถานที่มีความ งดงาม โดดเด่นอยู่เหนือเทือกเขาพนมดงรัก ซึ่งกั้นพรมแดน ระหว่างประเทศไทยกับ ประเทศกัมพูชามีความสูงจากระดับนำ้าทะเลปานกลาง 657 เมตร ปราสาทเขาพระ วิหารเป็นเสมือนเทพสถิตย์บนขุนเขาหรือ "ศรีศิขเรศร" เป็น "เพชรยอด มงกุฎ" ขององค์ศิวะเทพ (พระอิศวร) ตั้งโดดเด่นอยู่บนยอดเทือกเขาพนมดงรัก มี ความยาว 800 เมตร ตามแนวเหนือใต้ ส่วนใหญ่เป็นทางเข้ายาวและบันไดสูงถึงยอดเขา จนถึงส่วนปราสาทประธาน ซึ่งอยู่ที่ยอดเขาทางใต้สุดของปราสาท (สูง 120 เมตรจาก ปลายตอนเหนือสุดของปราสาท, 525 เมตรจากพื้นราบของกัมพูชา และ 657 เมตรจาก ระดับ) ปราสาทเขาพระวิหารประกอบด้วยหมู่เทวาลัยและปราสาทหินจำานวนมาก ทั้งหมดสร้างขึ้นเพื่อถวายแด่พระศิวะ ซึ่งเทวาลัยหรือปราสาทหินแห่งแรกสร้างขึ้น เมื่อ ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 9 ซากปรักหักพังของเทวาลัยที่เหลืออยู่ มีอายุตั้งแต่สมัยเกาะแกร์ ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ 10 ครั้น และปราสาทเขาพระวิหารเป็นสถาปัตยกรรมอันน่าทึ่ง เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของบรรพชนของ "ขะแมร์กัมพูชา" (ขอม) แต่โบราณ ที่ อาศัยอยู่ทั้งในกัมพูชาปัจจุบัน และในภาคอีสานของเรา ขะแมร์กัมพูชา เป็นชนชาติที่มี ความสามารถยิ่งในการสร้าง "ปราสาท" ด้วยหินทรายและศิลาแลง ซึ่งขะแมร์กัมพูชา ก่อสร้างปราสาทบนเขาพระวิหารติดต่อกันมายาวหลายรัชสมัย กว่า 300 ปี ตั้งแต่ กษัตริย์ "ยโสวรมันที่ 1" ถึง "สุริยวรมันที่ 1" เรื่อยมาจน "ชัยวรมันที่ 5-6" จนกระทั่งท้าย สุด "สุริยวรมันที่ 2" และ "ชัยวรมันที่ 7" จากปลายคริสต์ศตวรรษที่ 9 จนถึงกลางคริสต์ ศตวรรษที่ 12 (หรือจากพุทธศตวรรษที่ 15 ถึง 18 หรือก่อนสมัยสุโขทัย 300 ปีนั่นเอง) ทางเข้าสู่ปราสาทประธานนั้น มีโคปุระ (ซุ้มประตู) คั่นอยู่ 5 ชั้น (โคปุระชั้นที่ 5 จึงเป็นส่วนที่ผู้เข้าชมจะพบเป็นส่วนแรก) โคปุระแต่ละชั้นก่อนถึงลานด้านหน้าจะผ่าน บันไดหลายขั้น โคปุระแต่ละชั้นจึงเปลี่ยนระดับความสูงทีละช่วง นอกจากนี้โคปะรุยังบัง มิให้ผู้ชมเห็นส่วนถัดไปของปราสาท จนกว่าจะผ่านทะลุแต่ละช่วงไปแล้ว ทำาให้ไม่ สามารถแลเห็นโครงสร้างปราสาททั้งหมดจากมุมใดมุมหนึ่งได้ เดิมทีปราสาทเขาพระวิหารอยู่ในเขตการปกครองของประเทศไทย ขึ้นอยู่กับบ้าน
  • 6. ภูมิซรอล ตำำบลเสำธงชัย อำำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ (ค.ศ.1899, ร.ศ.-118) และ เมื่อ พ.ศ. 2442 พระเจ้ำบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ำชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิ ประสงค์ ได้เสด็จไปยังปรำสำทแห่งนี้ และทรงขนำนนำมว่ำ "ปรำสำทพรหมวิหำร" ซึ่ง ต่อมำเรียกกันทั่วไปว่ำ "ปรำสำทพระวิหำร" ซึ่งพระองค์ได้จำรึก ร.ศ. และพระนำมไว้ที่ บริเวณชะง่อนผำเป้ยตำดีว่ำ 118 สรรพสิทธิ ต่อมำเมื่อปี 2450 จักรวรรดินิยมฝรั่งเศส (ปกครองเขมรขณะนั้น) อำศัย แสนยำนุภำพทำงทหำรบีบให้รัฐบำลสยำม (ไทย) ยอมเขียนแผนที่กำำหนดให้เขำพระ วิหำรอยู่ในดินแดนของกัมพูชำ ในกำรทำำสนธิสัญญำเพิ่มเติม รัฐบำลสยำมก็ยอมรับ แผนที่ที่ฝรั่งเศษสร้ำงขึ้นมำแต่โดยดีโดยมิได้ทักท้วง (ซึ่งแต่เดิมถ้ำแบ่งตำมสันปันนำ้ำ เทือกเขำพนมดงรัก เขำพระวิหำรจะอยู่ในฝั่งไทยแต่พอแบ่งตำมแผนที่ใหม่ของปี 1907 จะอยู่ในฝั่งกัมพูชำ) อำจจะเป็นเพรำะฝรั่งเศสเป็นมหำอำำนำจอยู่ในขณะนั้น และคนไทย ก็ยังสำมำรถเข้ำไปยังปรำสำทเขำพระวิหำรได้โดยง่ำย ทั้งๆ ที่ไม่ว่ำจะตำมสนธิสัญญำเดิม พ.ศ.2447 หรือตำมสภำพภูมิศำสตร์ กำำหนด ให้อยู่ในดินแดนของไทยอย่ำงชัดเจน จนวันที่ 6 ตุลำคม 2502 รัฐบำลเจ้ำนโรดมสีหนุ แห่งกัมพูชำ ภำยใต้กำรหนุนหลังของฝรั่งเศส ได้ยื่นฟ้องต่อศำลโลก ขอให้ไทยถอนกอง กำำลังทหำรออกจำกเขำพระวิหำร และขอให้ศำลชี้ขำดว่ำอธิปไตยเหนือปรำสำทเขำพระ วิหำรคืน (ยื่นฟ้องทั้งหมด 73 ครั้ง) ต่อมำเมื่อวันที่ 15 มิถุนำยน 2505 ศำลโลกได้ตัดสิน ให้อธิปไตยเหนือปรำสำทเขำพระวิหำรเป็นของประเทศกัมพูชำ ด้วยคะแนน 9 ต่อ 3 เสียง โดยบริเวณดังกล่ำวมีเนื้อที่ประมำณ 150 ไร่ ลักษณะสำำคัญของปรำสำทเขำพระวิหำรจะประกอบด้วย... 1. บันไดดินด้ำนหน้ำของปรำสำท ซึ่งบันไดดินด้ำนหน้ำเป็นทำงเดินขึ้นลง ขนำดใหญ่ อยู่ทำงทิศเหนือของตัวปรำสำท ลำดตำมไหล่เขำ บำงชั้นสกัดหินลงไปใน ภูเขำ มีขนำดกว้ำง 8 เมตร ยำว 75.50 เมตร มีจำำนวน 162 ขั้น สองข้ำงบันไดมีฐำน สี่เหลี่ยมตั้งเป็นกระพัก (กระพักแปลว่ำ ไหล่เขำเป็นชั้นพอพักได้) ขนำดใหญ่เรียงรำย ขึ้นไป ใช้สำำหรับตั้งรูปสิงห์ทวำร-บำล (ทะ-วำ-ละ-บำน) เพื่อเฝ้ำดูแลรักษำเส้นทำง 2. สะพำนนำครำช หรือ ลำนนำครำช อยู่ทำงทิศใต้ของบันไดหินด้ำนหน้ำ ปู ด้วยแผ่นหินเรียบ มีขนำดกว้ำง 7 เมตร ยำว 31.80 เมตร สองข้ำงสะพำนนำครำชสร้ำง เป็นฐำนเตี้ยๆ บนฐำนมีนำครำช 7 เศียร จำำนวน 2 ตัว แผ่พังพำนหันหน้ำไปทำงทิศ เหนือ ลำำตัวอยู่บนฐำนทั้งสอง ทอดไปทำงทิศใต้ ส่วนหำงของนำครำชชูขึ้นเล็กน้อย นำครำชทั้งสองตัวเป็นนำครำชที่ยังไม่มีรัศมีเข้ำมำ ประกอบมีลักษณะคล้ำยๆ งูตำม ธรรมชำติ เป็นลักษณะของนำครำชในศิลปะขอม แบบปำปวน
  • 7. 3. โคปุระ (ซุ้มประตู)ชั้นที่ 5 จะมีภำพวำดโดยปำมังติเอร์อยู่ สร้ำงเป็นศำลำ จตุรมุข รูปทรงกำกบำทไม่มีฝำผนังกั้น มีแต่บันไดและซุ้มประตูทั้ง 4 ทิศ สร้ำงอยู่บนฐำน บัวสี่เหลี่ยมย่อมุม ฐำนสูง 1.8 เมตร บันไดหน้ำประตูซุ้มทั้ง 4 ทิศตั้งรูปสิงห์นั่ง เสำโคปุระ สูง 3.5 เมตร เป็นศิลปะแบบเกำะแกร์ ยังมีร่องรอยสีแดงที่เคยประดับตกแต่งตัวปรำสำท เอำไว้ แต่ส่วนหลังคำกระเบื้องนั้นหำยไปหมดแล้ว บันไดทำงขึ้นโคปุระ ชั้นที่ 5 อยู่ทำง ทิศเหนือ เป็นบันไดหินมีลักษณะค่อนข้ำงชัน ทำงทิศตะวันออกของโคปุระชั้นที่ 5 มีเส้น ทำงขึ้นคล้ำยบันไดหน้ำแต่ค่อนข้ำงชัน และชำำรุดหลำยตอน ยำว 340 เมตรถึงไหล่เขำ 4. โคปุระ (ซุ้มประตู)ชั้นที่ 4(ปรำสำทหลังที่ 2) จะภำพของกำรกวนเกษียณ สมุทร ณ เขำพระวิหำร ถือเป็น "หนึ่งในผลงำนชิ้นเอกอุของปรำสำทเขำพระวิหำร" ทับ หลังเป็นภำพของพระนำรำยณ์บรรทมสินธุ์อยู่เหนืออนันตนำครำช ซึ่งทำงดำำเนินจำกโค ปุระ ชั้นที่ 5 มำเป็นลำนหินกว้ำงประมำณ 7 เมตร สองข้ำงจะมีเสำนำงเรียงตั้งอยู่ทั้งสอง ด้ำน แต่ก็มีปรักหักพังไปมำก โคปุระชั้นที่ 4 สร้ำงเป็นศำลำจตุรมุข มีกำำแพงด้ำนทิศใต้ เพียงด้ำนเดียว ยำว 39 เมตรจำกตะวันออกไปตะวันตก กว้ำง 29.5 เมตร จำกเหนือไป ใต้ เป็นศิลปะสมัยหลังโคปุระ ชั้นที่ 5 คือ แคลง/บำปวน ด้ำนนอกตั้งรูปสิงห์ หน้ำบันเป็น ภำพของกำรกวนเกษียณสมุทร 5. โคปุระ (ซุ้มประตู) ชั้นที่ 3 (ปรำสำทหลังที่ 1) เป็นโคปุระหลังที่ใหญ่โต มโหฬำรที่ยังสมบูรณ์ที่สุด ลักษณะกำรสร้ำงคล้ำยกับ โคปุระ ชั้นที่ 1 และ 2 แต่ผิดตรงที่ มีฝำผนังกั้นล้อมรอบควำมใหญ่โตมำกกว่ำ และขนำบด้วยห้องสองห้อง ตัวปรำสำท ประธำนนั้นสำมำรถผ่ำนเข้ำไปทำงลำนด้ำนหน้ำ บันไดกว้ำง 3.6 เมตร สูง 6 เมตร สอง ข้ำงมีฐำนตั้งรูปสิงห์นั่ง 5 กระพัก มุขเหนือหน้ำบันเป็นรูปพระกฤษณะยกภูเขำโควรรธนะ ทับหลังเป็นรูปพระนำรำยณ์ 4 กรทรงครุฑ และจำกโคปุระชั้นที่ 3 มีบันได 7 ขั้นขึ้นไปสู่ ถนนที่ยำว 34 เมตร มีเสำนำงเรียงปักรำยข้ำงถนน ข้ำงละ 9 ต้น ถัดจำกเสำนำงเรียงไป เป็นสะพำนนำค 7 เศียร 6. โคปุระ (ซุ้มประตู) ชั้นที่ 2 สร้ำงเป็นศำลำจตุรมุข มีกำำแพงด้ำนทิศใต้เพียง ด้ำนเดียวอยู่บนไหล่เขำทำงทิศเหนือของโคปุระชั้นที่ 2 บริเวณพื้นรำบของเส้นทำง ดำำเนินและสองข้ำงทำงขึ้นลงของบันได จะพบรอยสกัดลงในพื้นศิลำมีลักษณะเป็นหลุม กลมๆ สำำหรับใส่เสำเพื่อทำำเป็นปะรำำพิธี โดยมีประธำนในพิธีนั่งอยู่ในปะรำำพิธีเพื่อดูกำร ร่ำยรำำบนเส้นทำงดำำเนิน กรอบประตูห้องมีจำรึกอักษรขอมระบุบปีศักรำชตกอยู่ในสมัย พระเจ้ำสุรยวรมันที่ 1 ด้ำนหน้ำมนเทียรมีบันไดตรงกับประตูซุ้มทั้ง 3 ประตู และมีชำนต่อ ไปยังเฉลียงซ้ำยและขวำ ที่สนำมด้ำนหน้ำมีภำพจำำหลักตกหล่นอยู่หลำยชิ้น เช่น รูป กษัตริย์กำำลังหลั่งนำ้ำทักษิโณฑกแก่พรำหมณ์
  • 8. 7. โคปุระ (ซุ้มประตู) ชั้นที่ 1 สร้ำงเป็นศำลำจตุรมุข รูปทรงกำกบำทไม่มีฝำ ผนังกั้น มีแต่บันไดและซุ้มประตูทั้ง 4 ทิศ สร้ำงอยู่บนฐำนสี่เหลี่ยม-ย่อมุม บันไดทำงขึ้น โคปุระ ชั้นที่ 1 ทำงทิศเหนือ เป็นบันไดหินมีลักษณะค่อนข้ำงชัน เนื่องจำกมีควำมเชื่อกัน ว่ำกำรที่จะเข้ำเฝ้ำเทพนั้น จะไปด้วยอำกำรเคำรพนพนอบในลักษณะหมอบคลำนเข้ำไป ทำงทิศตะวันออกมีเส้นทำงขึ้นคล้ำยบันไดหน้ำแต่ค่อนข้ำงชัน และชำำรุดหลำยตอนเป็น เส้นทำงขึ้นลง ไปสู่ประเทศกัมพูชำ เรียกว่ำ "ช่องบันไดหัก" 8. สระสรง จะอยู่ทำงด้ำนทิศตะวันออกของทำงดำำเนินห่ำงออกไป 12.40 เมตร จะพบสระนำ้ำรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ำ มีขนำดกว้ำง 16.8 เมตร ยำว 37.80 เมตร กรุด้วยท่อน หินเป็นชั้นๆ มีลักษณะเป็นขั้นบันได เรียกว่ำสระสรงกล่ำวกันว่ำใช้สำำหรับเป็นที่ชำำระ ร่ำงกำยก่อนที่จะกระ พิธีทำงศำสนำ 9. เป้ยตำดี เป้ยเป็นภำษำเขมร ซึ่งแปลว่ำ ชะง่อนผำหรือโพงผำ ตำมคำำบอกเล่ำ ว่ำนำนมำแล้วมีพระภิกษุชรำรูปหนึ่งชื่อ "ดี" จำริกมำปลูกเพิงพำำนักอยู่ที่นี่จนมรณภำพ ไป ชำวบ้ำนจึงเรียกลำนหินนี้ว่ำ "เป้ยตำดี" ซึ่งบริเวณตรงยอดเป้ยตำดีสูงกว่ำระดับนำ้ำ ทะเล 657 เมตร ถ้ำวัดจำกพื้นที่เชิงเขำพื้นรำบฝั่งประเทศกัมพูชำสูงประมำณ 447 เมตร ตรงชะง่อนผำเป้ยตำดี จะมีรอยสักพระหัตย์ของสมเด็จพระเจ้ำน้องยำเธอ กรมหลวง สรรพสิทธิประสงค์ ว่ำ 118-สรรพสิทธิ แต่ก่อนมีธงไตรรงค์ของไทยอยู่ที่บริเวณผำเป้ย ตำดี ในปัจจุบันคงเหลือแต่ฐำนไตรรงค์ ปรำสำทเขำพระวิหำรนับได้ว่ำเป็นปรำสำทขอมที่สำำคัญแห่งหนึ่ง ทั้งในแง่ ประวัติศำสตร์กำรก่อสร้ำงเทวสถำนของฮินดู และยังเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำำคัญทั้งของ ไทยและกัมพูชำอีกด้วย ซึ่งปัจจุบันอุทยำนแห่งชำติเขำพระวิหำร มีเนื้อที่ 81,250 ไร่ และได้ประกำศให้เป็นอุทยำนแห่งชำติตำม พ.ร.บ.อุทยำนแห่งชำติ พ.ศ. 2504 โดยได้ ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม 115 ตอนที่ 14 ก ลงวันที่ 20 มีนำคม พ.ศ.2541 นับ เป็นอุทยำนแห่งชำติลำำดับที่ 83 ของภำคตะวันออกเฉียงเหนือ ของไทย อย่ำงไรก็ตำม เรื่องรำวกำรเสนอให้ปรำสำทเขำพระวิหำรเป็นมรดกโลกของ กัมพูชำ ก็ยังเป็นข้อกังขำของคนไทยหลำยๆ คน เกิดกำรวิพำกษ์วิจำรณ์ต่ำงๆ นำนำ กลำยเป็นประเด็นท็อปฮิตในขณะนี้ และล่ำสุดศำลปกครองกลำง ยังได้มีคำำสั่งคุ้มครอง ชั่วครำว ระงับมติคณะรัฐมนตรี ที่นำยนพดล ปัทมะ รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรต่ำง
  • 9. ประเทศและคณะรัฐมนตรี ได้ลงนำมในแถลงกำรณ์ร่วมรัฐบำลไทย-กัมพูชำ ในกำรที่ กัมพูชำจะขอขึ้นทะเบียนปรำสำทพระวิหำรเป็นมรดกโลก ไว้ก่อนจนกว่ำศำลจะมีคำำ พิพำกษำหรือมีคำำสั่งเป็นอย่ำงอื่น ซึ่งบทสรุปเรื่องนี้จะเป็นอย่ำงไรต่อไปนั้นเรำคนไทยคง ต้องติดตำมกันค่ะ ข้อมูลจำก , sisaket.go.th, moohin.com, soccersuck.com, wikipedia กรณีขึ้นทะเบียน เขำพระวิหำร ลำำดับเหตุกำรณ์ไทย ตกลงเขมร
  • 10. หนึ่งในผลงำนรัฐบำลชุดปัจจุบันถูกโจมตีอันดับต้นๆ คือกำรทำำข้อตกลงที่ไทยจะ สนับสนุนกำรขอขึ้นทะเบียน "ปรำสำทเขำพระวิหำรเป็นมรดกโลก" ของกัมพูชำ ในเงื่อนไขให้ขึ้นทะเบียน "เฉพำะตัวปรำสำทเขำพระวิหำร" โดยฝ่ำยกัมพูชำจะจัด ทำำ "แผนที่ฉบับใหม่" แสดงขอบเขตปรำสำทเขำพระวิหำรประกอบคำำขอขึ้นทะเบียน ฝ่ำยรัฐบำล โดยนำยนพดล ปัทมะ รมว.กำรต่ำงประเทศ ยืนยันพร้อมแสดงแผนผัง บริเวณปรำสำทที่ฝ่ำยกัมพูชำจะใช้ยื่นต่อยูเนสโกขอขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก ว่ำ กรม แผนที่ทหำรตรวจสอบบริเวณดังกล่ำวอย่ำงละเอียดแล้ว ไม่มีส่วนใดลำ้ำเข้ำมำในดินแดน ที่ไทยอ้ำงสิทธิ์ เรื่องรำวพิพำทระหว่ำงประเทศที่กลำยเป็น "ข้อตกลง" กันได้ แต่กลับ เป็นข้อพิพำทภำยในประเทศ มีลำำดับเหตุกำรณ์ในระยะหลัง ดังนี้
  • 11. - 12 พ.ค. นายนพดล ปัทมะ รมว.การต่างประเทศแจ้งว่า จะเดินทางไปยังเกาะกง กัมพูชา ในวันที่ 14 พ.ค. เพื่อร่วมเปิดถนนสายที่ 48 กับนายฮุนเซน นายกรัฐมนตรี กัมพูชา และวาระนี้จะหารือถึงการทำาบันทึกความเข้าใจ (เอ็มโอยู) ว่าให้มีการบริหาร และจัดการร่วมกันในพื้นที่ทับซ้อน 4.6 ตารางกิโลเมตร ซึ่งต้องรีบคุยกันเพราะเวลา เหลือน้อย เนื่องจากเรื่องการขึ้นทะเบียนเขาพระวิหารจะนำาเข้าสู่ที่ประชุมคณะกรรมการ มรดกโลกในเดือนกรกฎาคม ที่ควิเบก ประเทศแคนาดา - 14 พ.ค. นายธฤต จรุงวัฒน์ อธิบดีกรมสารนิเทศแถลงว่า การปักปันเขตแดนทาง บกหรือพื้นที่ทับซ้อนบริเวณปราสาทเขาพระวิหาร และเรื่องพื้นที่ทางทะเลบริเวณ ไหล่ทวีปที่กัมพูชาและไทยอ้างสิทธิ์ทับซ้อนกัน เป็นการเจรจา 2 กรอบที่แยกออกจากกัน ทั้งในเรื่องคณะกรรมการที่รับผิดชอบและในสาระของแต่ละเรื่อง นอกจากกระทรวงการ ต่างประเทศแล้ว ยังมีหน่วยงานราชการอื่นๆ ร่วมในการเจรจาด้วย - 14 พ.ค. หลังร่วมพิธีเปิดถนนสายที่ 48 ที่เกาะกง นายนพดล หารือกับ นายสก อาน รองนายกรัฐมนตรีและรมว.ประจำาสำานักนายกรัฐมนตรีกัมพูชา จากนั้นเปิดเผยว่า กัมพูชามีท่าทีที่อ่อนลงและผ่อนปรนมากขึ้นในเรื่องเขาพระวิหาร หลังจากไทยและ กัมพูชาเห็นต่างกันมานาน ในคำาวินิจฉัยของศาลโลกเมื่อปี 2505 ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ที่ตัดสินว่าตัวปราสาทเป็นของกัมพูชา ทางกัมพูชาจึง ตีความ ว่าเส้นเขตแดนน่าจะเป็นไปตามคณะกรรมการปักปันสยาม-ฝรั่งเศส แต่ไทยอ้างสิทธิ์ของไทยว่า เส้นเขตแดนนั้น ศาลโลกระบุว่าไม่มีเขตอำานาจ นายนพดล ยำ้าว่า การแบ่งพื้นที่ทับซ้อนทางบกและการแบ่งพื้นที่ทางทะเลกับเขา พระวิหารแยกออกจากกันสาระสำาคัญอยู่ที่ไทยไม่เคยคิดจะเอาเขาพระวิหารไปแลก เปลี่ยนกับก๊าซธรรมชาติและนำ้ามัน และปฏิเสธว่าเรื่องการเปิดถนนสาย 48 ไม่เกี่ยวกับ การลงทุนในกัมพูชาของพ.ต.ท.ทักษิณ อดีตนายกรัฐมนตรี เพราะเริ่มสร้างมา 3-4 ปี แล้ว - 22 พ.ค. นายนพดล กับ นายสก อาน หารือที่สำานักงานใหญ่ยูเนสโก กรุงปารีส โดยมีผู้แทนระดับสูงของยูเนสโกเข้าร่วมด้วย ทั้งสองฝ่ายตกลงกัน ดังนี้ 1.ไทยจะสนับสนุนการขอขึ้นทะเบียนปราสาทเขาพระวิหารเป็นมรดกโลกซึ่งเสนอ โดยกัมพูชา 2.กัมพูชาจะขอขึ้นทะเบียนเฉพาะตัวปราสาทเขาพระวิหาร โดยฝ่ายกัมพูชาจะจัด ทำาแผนที่ฉบับใหม่แสดงขอบเขตปราสาทเขาพระวิหารเพื่อใช้แทนแผนที่ฉบับเดิมที่ กัมพูชาใช้ประกอบคำาขอขึ้นทะเบียน 3.การขึ้นทะเบียนปราสาทเขาพระวิหารเป็นมรดกโลกจะไม่มีผลกระทบต่อสิทธิ์ ของแต่ละฝ่ายในการสำารวจและจัดทำาหลักเขตแดนของคณะกรรมาธิ การเขตแดนร่วม 4.ทั้งสองฝ่ายจะต้องร่วมกันจัดทำาแผนบริหารจัดการในพื้นที่ที่อ้างสิทธิ์ทับซ้อน โดยสอดคล้องกับมาตรฐานการอนุรักษ์ระดับสากล เพื่อเสนอคณะกรรมการมรดกโลก พิจารณาภายในวันที่ 1 ก.พ.2553 - 30 พ.ค. กรณีที่ถูกวิจารณ์ว่า แผนที่ที่ทางกัมพูชายื่นให้ฝ่ายไทยรุกลำ้าเข้ามาใน พื้นที่ของไทยประมาณ 200 เมตร นายนพดล ชี้แจงว่า ไทยถือแผนที่คนละฉบับกับ กัมพูชา ไทยใช้แผนที่ แอล 7017 มาโดยตลอดตั้งแต่ศาลโลกมีคำาวินิจฉัยและทุกหน่วย งานของไทยใช้แผนที่ฉบับดังกล่าวเช่นกัน
  • 12. - 5 มิ.ย. กระทรวงการต่างประเทศได้รับแผนที่ฉบับใหม่จากฝ่ายกัมพูชาที่จะใช้ แทนแผนที่เดิมที่ยื่นไว้เมื่อปี 2549 และได้ขอความร่วมมือกรมแผนที่ทหาร กอง บัญชาการกองทัพไทย ตรวจสอบข้อมูลในภูมิประเทศจริงเพื่อความถูกต้องชัดเจน - 16 มิ.ย. แผนที่ฉบับใหม่ได้รับความเห็นชอบจากสภาความมั่นคงแห่งชาติ - 17 มิ.ย. แผนที่ฉบับใหม่ได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี โดยมติครม. มอบอำานาจให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศไปลงนามในร่างแถลงการณ์ร่วม กับ นายสก อาน รองนายกรัฐมนตรีกัมพูชาเพื่อยืนยันข้อตกลงของทั้งสองฝ่ายตามที่ ตกลงกันไว้ในการหารือที่กรุงปารีสด้วย - 18 มิ.ย. นายนพดลลงนามในข้อตกลงร่วมกับกัมพูชาเมื่อ 22 พ.ค.2551 จากนั้นเปิดแถลงข่าวแสดงแผนที่ยืนยันว่า ไทยไม่เสียดินแดน ข้อมูลและภาพประกอบจาก เหตุผลใดไทย จึงแพ้คดีปราสาทพระวิหาร บทความโดย ประสิทธิ์ ปิวาวัฒนพานิช คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 13. ...คนไทยไม่ค่อยรู้ความเป็นมาเป็นไปในคดีปราสาทพระวิหารอาจเป็นเพราะว่า ประเทศไทยแพ้คดีนี้ให้กับประเทศเพื่อนบ้านคือกัมพูชา จนทำาให้สังคมไทยไม่อยาก กล่าวถึงคดีนี้มากนัก... ประเด็นเรื่องปราสาทพระวิหารกลายเป็นหัวข้อที่สาธารณชนให้ความสนใจอีก ครั้ง เมื่อประเทศกัมพูชายื่นเรื่องการขอเสนอให้ปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลกตาม อนุสัญญา Convention Concerning the Protection of the World Cultural and Natural Heritage โดยที่ประเทศไทยคัดค้านการยื่นฝ่ายเดียวของกัมพูชา โดยอ้างเรื่อง ความสมบูรณ์ทางวิชาการด้านโบราณคดีและการที่ทั้งสองประเทศยัง ตกลงกันไม่ได้ เกี่ยวกับเขตแดน แม้คดีนี้จะผ่านความรับรู้ของคนไทยมายาวนานแล้วก็ตามแต่ปรากฏว่ามีคนไทย น้อยมากที่รู้ข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายในเรื่องนี้ เหตุผลที่คนไทยไม่ค่อยรู้ความเป็นมาเป็นไปในคดีปราสาทพระวิหารอาจเป็น เพราะว่าประเทศไทยแพ้คดีนี้ให้กับประเทศเพื่อนบ้านคือกัมพูชา จนทำาให้สังคมไทยไม่ อยากกล่าวถึงคดีนี้มากนัก และด้วยเหตุที่คนไทยรู้จักกับคดีนี้น้อย จึงอาจมีการบิดเบือนข้อมูลได้ง่าย เนื่องจากคดีนี้มีสองประเด็นใหญ่ที่ต้องพิจารณาคือ ประเด็นเรื่องการยอมรับเขต อำานาจศาลและการพิจารณาขั้นเนื้อหา จึงขอแยกอธิบาย ดังนี้ ประเด็นเรื่องเขตอำานาจศาลโลก ประชาชนคนไทยมักจะสงสัยอยู่เสมอว่า ทำาไมประเทศไทยต้องไปขึ้นต่อสู้คดีต่อ ศาลโลกที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ทั้งๆ ที่ประเทศไทยมีอธิปไตย มีเอกราช การขึ้น ต่อสู้คดีของประเทศไทยมิเท่ากับเป็นการเสียเอกราชหรือ ประเด็นนี้ เป็นประเด็นข้อกฎหมายที่สลับซับซ้อน หากใช้ความรู้สึกชาตินิยมหรือ สามัญสำานึกย่อมไม่เข้าใจว่าทำาไมประเทศไทยต้อง ขึ้นศาลโลก ผู้เขียนจะขออธิบาย ช่องทางการยอมรับเขตอำานาจศาลโลกเสียก่อนว่ามีวิธีการใด บ้าง การยอมรับเขต อำานาจศาลโลกนั้นทำาได้อยู่สามประการคือ ประการแรก การยอมรับเขตอำานาจการพิจารณาคดีโดยการเข้าเป็นภาคี อนุสัญญาใดอนุสัญญาหนึ่ง ซึ่งกำาหนดว่า หากมีปัญหาในการตีความสนธิสัญญา ให้ ศาลโลกเป็นผู้พิจารณา ประการที่สอง ประเทศคู่พิพาทตกลงทำาความตกลงยอมรับเขตอำานาจ ศาลโลกเป็นเฉพาะกรณีๆ ไป กล่าวคือ เมื่อเกิดข้อพิพาทขึ้นมาแล้ว รัฐคู่พิพาทได้ทำาสนธิ สัญญายอมรับเขตอำานาจศาลเฉพาะข้อพิพาทนั้น และ ประการที่สาม รัฐได้ทำาคำาประกาศฝ่ายเดียวยอมรับเขตอำานาจศาล ทั้งนี้ ภายใต้เงื่อนไขที่รัฐกำาหนดไว้ ประเด็นเรื่องการยอมรับเขตอำานาจศาลโลก (ทั้งศาลโลกเก่าและใหม่) ของประเทศไทยนั้นเป็นประเด็นที่คนไทยไม่ใคร่ได้กล่าวถึง อาจเป็นเพราะว่าเป็น ประเด็นข้อกฎหมายมากเกินไปประชาชนทั่วไปจึงไม่ค่อยได้ สนใจ อีกทั้งทางการก็มิได้ชี้แจงประเด็นนี้ต่อสาธารณชน มากนักทั้งๆ ที่ประเด็นนี้มี ความสำาคัญอย่างมาก และเป็นประเด็นที่หากมีการกล่าวถึงในวงกว้างแล้วก็อาจมีผลกระ
  • 14. ทบต่อผู้ เกี่ยวข้องได้ แต่เนื่องจากประเด็นนี้สำาคัญ ผู้เขียนจึงมิอาจหลีกเลี่ยงที่จะข้ามไป ได้จึงขอกล่าวถึง ดังนี้ ประเทศไทยได้ทำาคำาประกาศยอมรับเขตอำานาจของศาลโลก ทั้งหมด 3 ฉบับ ดังนี้ ฉบับแรกทำาเมื่อวันที่ 20 กันยายน ค.ศ.1929 และเริ่มมีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม ในปี ค.ศ.1930 โดยคำาประกาศยอมรับเขตอำานาจศาลโลกเก่าซึ่งชื่ออย่าง เป็นทางการคือ "ศาลประจำายุติธรรมระหว่างประเทศ" (Permanent Court of International Justice : PCIJ) เป็นเวลา 10 ปี ฉบับที่สอง รัฐบาลไทยทำาคำาประกาศโดยมิวัตถุประสงค์เพื่อ "ต่ออายุุ" (renew) เขตอำานาจศาลโลกเก่า โดยคำาประกาศฉบับที่สองนี้ทำาเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม ค.ศ.1940 โดยคำาประกาศที่สองนี้เริ่มมีผลใช้บังคับวันที่ 9 พฤษภาคม ค.ศ.1940 ฉบับที่สาม รัฐบาลไทยทำาเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ.1950 ซึ่งหลังจากที่ คำาประกาศฉบับที่สอง (ที่ต่ออายุคำาประกาศฉบับแรก) หมดอายุเป็นเวลา 14 วัน มีข้อสังเกตที่น่าสนใจและเป็นประเด็นข้อกฎหมายที่ฝ่ายไทยนำามาอ้างก็คือ ศาลโลกเก่านั้นได้สิ้นสุดลงเมื่อวันที่ 19 เมษายน ค.ศ.1946 และตามธรรมนูญของ ศาลโลกใหม่ที่มีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า "ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ" (International Court of Justice : ICJ) นั้นมาตรา 36 วรรค 5 ได้กำาหนดว่า ให้การ ยอมรับเขตอำานาจ "ศาลโลกเก่า" โอนถ่ายไปยัง "ศาลโลกใหมุ่" หากว่า คำาประกาศ นั้นยังมีผลใช้บังคับอยู่หรือกล่าวง่ายๆ คือ ยังไม่ขาดอายุนั่นเอง ข้อต่อสู้เกี่ยวกับการคัดค้านเขตอำานาจศาลโลกใหม่ที่ทนายความฝ่ายไทยต่อ สู้ ในชั้นของการคัดค้านเขตอำานาจของศาลโลกใหม่นั้นมีว่า คำาประกาศยอมรับเขตอำานาจ ศาลโลกเก่าได้ยุติลงอันเป็นผลมาจากการสิ้นสุดของศาล โลกเก่า ดังนั้น คำาประกาศต่อ อายุเขตอำานาจศาลโลกเก่าเมื่อวันที่ 20 เมษายน ค.ศ.1950 จึงไม่มีผลใช้บังคับอีกต่อไป อีกทั้งคำาประกาศดังกล่าวมิใช่คำาประกาศยอมรับเขตอำานาจศาลโลกใหม่ ดังนั้น ศาลโลกใหม่จึงไม่มีเขตอำานาจ แต่ข้อต่อสู้นี้อ่อนมาก ศาลโลกเห็นว่า คำาประกาศยอมรับเขตอำานาจศาลฉบับที่ สามที่รัฐบาลไทยทำาเมื่อวันที่ 20 เมษายน ค.ศ.1950 นั้น ไม่สามารถใช้เป็นเหตุผลใน การต่ออายุยอมรับเขตอำานาจศาลโลกเก่าได้ เพราะว่า คำาประกาศฉบับที่สามนี้ ทำาหลัง จากที่คำาประกาศฉบับที่สองหมดอายุแล้วสองอาทิตย์ ศาลโลกเห็นว่า สิ่งที่จะต่ออายุได้นั้น สิ่งนั้นต้องเป็นสิ่งที่ยังมีอยู่ มิใช่เป็นสิ่งที่ไม่มี อยู่อีกต่อไปแล้ว อีกทั้งรัฐบาลไทยก็รู้ดีว่าขณะที่ทำาคำาประกาศฉบับที่สามนั้นทำาหลังจาก ที่ศาล โลกเก่าได้สิ้นสุดลงแล้วกว่าสี่ปี (ศาลโลกเก่าสลายตัวเมื่อปี ค.ศ.1946 แต่คำา ประกาศฉบับที่สามทำาเมื่อปี ค.ศ.1950) ข้ออ้างของประเทศไทยจึงฟังไม่ขึ้น ประเด็นต่อไปมีว่า ในเมื่อคำาประกาศฉบับที่สามฟังไม่ได้ว่าเป็นคำาประกาศต่ออายุ ยอมรับเขตอำานาจ ศาลโลกเก่าแล้ว ผลในทางกฎหมายของคำาประกาศฉบับที่สามคือ อะไร ศาลโลกเห็นว่า คำาประกาศยอมรับเขตอำานาจศาลฉบับที่สามเป็นคำาประกาศใหม่ ที่ แยกเป็นเอกเทศออกจากคำาประกาศฉบับแรกและฉบับที่สอง และหากพิจารณาเนื้อหาของคำาประกาศที่สามแล้ว ศาลโลกเห็นว่า เป็นการ ประกาศยอมรับเขตอำานาจศาลโลกใหม่ โดยอิงเงื่อนไขจากคำาประกาศฉบับแรก
  • 15. ดังนั้น ศาลโลกจึงมีมติเป็นเอกฉันท์ว่า ศาลโลกมีเขตอำานาจพิจารณาข้อ พิพาทที่รัฐบาลกัมพูชาฟ้องรัฐบาลไทย ข้อต่อสู้ทางกฎหมายของฝ่ายไทยฟัง ไม่ขึ้น ประเด็นเรื่องเนื้อหาของข้อพิพาท คำาร้องของกัมพูชาที่สำาคัญที่ให้ศาลโลกวินิจฉัยคือประเด็นที่ว่า กัมพูชามีอำานาจ อธิปไตยเหนือดินแดนอันเป็นที่ตั้งของปราสาทพระวิหาร การนำาเสนอพยานหลักฐาน ของทั้งสองฝ่ายนั้นมีดังนี้ ฝ่ายไทยเสนอว่า หากพิจารณาตามสนธิสัญญาที่สยามทำากับประเทศฝรั่งเศส (ขณะนั้นประเทศฝรั่งเศสปกครองกัมพูชา) เมื่อปี ค.ศ.1904 ซึ่งตามสนธิสัญญาจะใช้ "สันปันนำ้า" (watershed) ปราสาทพระวิหารจะอยู่ฝั่งไทย แต่หากพิจารณาตาม แผนที่ ปราสาทพระวิหารจะอยู่ฝั่งกัมพูชา ขออธิบายตรงนี้เลยว่าหลังจากที่มีการทำาสนธิสัญญาทวิภาคีในปี ค.ศ.1904 ทั้ง สองฝ่ายได้ตั้งคณะกรรมการผสมขึ้น และไม่นานนัก คณะกรรมการชุดนี้ก็มิได้ทำางานอีก ต่อไป ต่อมา ฝ่ายไทยได้ร้องขอให้ประเทศฝรั่งเศสจัดทำาแผนที่ขึ้น ข้อสังเกตเกี่ยวกับ แผนที่เจ้าปัญหาฉบับนี้ มีดังนี้ ประการแรก แผนที่นี้เป็นการร้องขอจากฝ่ายไทยให้ประเทศฝรั่งเศสทำาขึ้น แผนที่นี้ทำาขึ้นที่กรุงปารีส การที่ประเทศร้องขอให้ประเทศฝรั่งเศสทำาขึ้นนั้นเป็นเพราะว่า ในขณะนั้น ประเทศไทยยังขาดผู้เชี่ยวชาญในการทำาแผนที่ ประการที่สอง การปักปันเขตแดนแล้วลงมาตราส่วนลงในแผนที่เป็นการ กระทำาฝ่ายเดียวของประเทศฝรั่งเศส โดยที่ฝ่ายไทยไม่มีส่วนร่วมเลย ประการที่สาม การทำาแผนที่นี้ไม่เกี่ยวกับคณะกรรมการผสมแต่อย่างใด ในประเด็นนี้ผู้พิพากษาฟิสต์มอริสซึ่งเป็นหนึ่งในองค์คณะกล่าวว่า คณะกรรมการผสม ไม่เคยแม้แต่จะ "เห็น" แผนที่นี้ อย่าว่าแต่ "รับรอง" เลย เป็นการร้องขอฝ่ายเดียวจาก
  • 16. รัฐบาลไทย ประการที่สี่ เป็นเรื่องที่สำาคัญที่สุดและเป็นเหตุผลสำาคัญที่ศาลโลกวินิจฉัย ให้ประเทศไทยแพ้ก็คือ แม้ประเทศไทยจะไม่มีส่วนในการทำาแผนที่ แต่ ประเทศไทยก็ไม่เคยคัดค้านหรือประท้วงเกี่ยวกับความถูกต้องของแผนที่ ทั้งๆ ที่ประเทศไทยมีโอกาสอยู่หลายครั้งที่จะทักท้วงหรือประท้วงถึง ความคลาด เคลื่อนหรือความผิดพลาดของแผนที่ โอกาสที่จะประท้วงความไม่ถูกต้องของแผนที่ เช่น กรณีการเจรจาทำาสนธิ สัญญาทางไมตรี พาณิชย์และการเดินเรือกับประเทศฝรั่งเศสที่ทำาขึ้นในปี ค.ศ.1925- 1937 แต่ไทยก็มิได้ทักท้วง ซึ่งศาลโลกเห็นว่า การนิ่งเฉยของประเทศไทยเป็นเวลานานเท่ากับ เป็นการยอมรับความถูกต้องของแผนที่แล้ว จะมาปฏิเสธในภายหลังนั้น ไม่ อาจกระทำาได้ เป็นการปิดปากประเทศไทยว่าจะมาปฏิเสธความผิดพลาดของแผนที่ไม่ ได้ ยิ่งไปกว่านั้น ทางการของไทยเองยังได้ทำาแผนที่ใช้ขึ้นเองอีกด้วยในปี ค.ศ.1937 โดยแผนที่ที่เจ้าหน้าที่ของไทยเป็นผู้จัดทำา ได้แสดงว่าปราสาทพระวิหารตั้ง อยู่ในดินแดนของกัมพูชา ประเด็นนี้ไทยอ้างว่า แผนที่ที่ไทยทำาขึ้นเองฉบับนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการทหารเป็นการภายในเท่านั้น แต่ศาลโลกไม่เห็นด้วยกับข้อ อ้างของไทยในประเด็นนี้ เหตุผลประการหนึ่งที่ศาลโลกเห็นว่า ประเทศไทยยอมรับอำานาจอธิปไตยของ กัมพูชาเหนือที่ตั้งปราสาทพระวิหารก็คือ การที่กรมพระยาดำารงราชานุภาพได้ไปเยือน กึ่งเป็นทางการที่ปราสาทพระวิหาร ในครั้งนั้น กองทหารฝรั่งเศสได้ตั้งกองทหาร เกียรติยศรับการเสด็จอย่างเต็มที่ และยังชักธงชาติของประเทศฝรั่งเศสด้วย ซึ่งศาลโลกเห็นว่า เท่ากับประเทศไทยยอมรับอำานาจอธิปไตยเหนือ ปราสาทพระวิหารว่าเป็นของกัมพูชา (ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศส) อย่างไร ก็ตาม ประเด็นนี้ ผู้พิพากษาศาลโลกท่านหนึ่งคือ ท่านเวลลิงตัน คู ซึ่งเป็นตุลาการเสียง ข้างน้อยได้ทำาความเห็นแย้งว่า ในเวลานั้นกรมพระยาดำารงราชานุภาพได้ดำารงตำาแหน่ง เสนาบดีกระทรวงมหาดไทยแล้ว แต่ดำารงตำาแหน่งนายกราชบัณฑิตยสถานแห่ง ประเทศไทย อีกทั้งพระองค์ยังตรัสว่า การมาเยือนปราสาทพระวิหารนี้ไม่เกี่ยวกับ การเมือง นอกจากนี้ สาเหตุอีกประการหนึ่งที่ไทยแพ้คดีอาจเป็นผลมาจากการตั้งรูปคดีที่ ผิดพลาดมา ตั้งแต่ต้น แทนที่ประเทศไทยจะปฏิเสธความผิดพลาดของแผนที่ ควรรับ ประเด็นเรื่องแผนที่ แล้วยกข้อต่อสู้ว่า ในกรณีที่ข้อความในสนธิสัญญาที่ให้ใช้ "สันปัน นำ้า" แย้งกับ "แผนที่" ในกรณีนี้ให้ถือว่าข้อความในสนธิสัญญามีค่าบังคับเหนือกว่า ซึ่งอนุสัญญาแวร์ซายส์ มาตรา 29 ก็มีข้อความทำานองนี้ อีกทั้งก็มีคดีที่ศาลตัดสิน ให้ความน่าเชื่อถือของสนธิสัญญายิ่งกว่าแผนที่ จริงหรือที่ "การนิ่งเฉย" หรือ "กฎหมายปิดปาก" มิใช่เป็นหลัก กฎหมาย หลังจากที่ไทยแพ้คดี นายถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีกระทรวงการต่าง ประเทศเวลานั้นกล่าวทำานองว่าศาลโลกนำาหลักกฎหมายที่ไม่ชัดเจนมาตัดสินคดี ที่ น่าคิดก็คือ ทำาไมทนายฝ่ายไทยไม่ทราบ หรือว่า "หลักกฎหมายปิดปาก" หรือ "การนิ่ง
  • 17. เฉย" นั้น ศาลโลกหรืออนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศเคยนำามาใช้หลายคดีแล้ว อีกทั้งนักกฎหมายระหว่างประเทศก็ยังได้เขียนบทความเรื่อง "หลักกฎหมาย ปิดปากที่ใช้ในศาลระหว่างประเทศและความสัมพันธ์ของหลักกฎหมาย ดัง กล่าวกับการนิ่งเฉย" (Estoppel before Internationals and Its Relation to Acquiescence) เขียนโดยนักกฎหมายระหว่างประเทศชื่อ Bowett ลงในวารสาร British Yearbook of International Law ปี ค.ศ.1957 และบทความชื่อ "หลัก กฎหมายปิดปากในกฎหมายระหว่างประเทศ" โดย Mcgibborn ในวารสาร International and Comparative Law Quarterly ปี 1958 ซึ่งตีพิมพ์ก่อนที่ศาลโลกจะ ตัดสินประมาณ 3-4 ปี ไม่อาจคาดการณ์ได้แน่ชัดว่าฝ่ายไทยได้เคยอ่านบทความนี้หรือไม่ แต่ไม่ว่าฝ่าย ไทยจะได้เคยอ่านบทความนี้หรือไม่ก็ตาม ประเด็นที่น่าคิดก็คือ ทนายความของฝ่ายไทย น่าจะย่อมรู้ถึงหลักกฎหมายปิดปากเป็นอย่างดี เพราะหลักว่าด้วย "การถูกการตัดสิทธิ" (Preclusion) หรือ "การนิ่งเฉย" อาจเทียบได้หรือมีผลเท่ากันกับ "หลักกฎหมายปิดปาก" อันเป็นหลักกฎหมายอังกฤษ หรือแองโกลแซกซอน บทส่งท้าย สรุปเหตุผลที่แท้จริงที่ประเทศไทยเสียปราสาทพระวิหารคือ การยอมรับ ความคลาดเคลื่อนของแผนที่อันเป็นผลมาจากการทำาแผนที่ฝ่ายเดียวของ เจ้าหน้าที่ฝรั่งเศส ซึ่งศาลโลกเห็นว่า หลังจากที่ทำาสนธิสัญญาประเทศสยามอยู่ใน ฐานะที่จะคัดค้านความไม่ถูกต้องของ แผนที่ได้หลายครั้ง แต่ก็มิได้คัดค้าน จึงปิดปาก ประเทศสยามว่าต่อมาจะปฏิเสธความไม่ถูกต้องของแผนที่ไม่ได้ หากประเทศไทยจะเสียดินแดนอีกครั้งคงไม่ใช่เพราะนำาข้อมูลการต่อสู้ทาง กฎหมายคดีความเอาไปขายให้กับประเทศเพื่อนบ้านหรือเกิดจากความไม่รักชาติ ไม่ สามัคคีอย่างที่คนไทยหลายคนเข้าใจกัน (ซึ่งรวมถึง พลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน ด้วย) แต่ เกิดจากความไม่รอบคอบ ความประมาท และไม่รู้จักหน้าที่ของตนเองมากกว่า เหมือน กับสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสามจังหวัดภาคใต้ของเรา ข้อมูลจาก ภาพประกอบทางอินเทอร์เน็ต Edit : thongkrm_virut@yahoo.com