SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 1
บทนำ
1.หลักกำรและเหตุผล
การอบรม การสั่งสอน การให้คาแนะนา การเลี้ยงดู การให้ความรักและความอบอุ่น
เป็นสิ่งที่สาคัญที่จะทาทุกคนมีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี โดยเฉพาะกับบุคคลที่มีปัญหา เช่น
ปัญหาใช้ความรุนแรงในครอบครัว ปัญหาการค้ามนุษย์ ปัญหาเด็กและเยาวชน สตรีถูกทารุณกรรม
การตั้งครรภ์โดยไม่พึงประสงค์ ซึ่งบุคคลเหล่านี้เป็นผู้ที่ต้องการคาแนะนาที่ดีและกาลังใจอย่างมาก
ในสังคมไทยจึงมีมูลนิธิที่คอยให้คาปรึกษาให้คาแนะนา ให้ที่พักชั่วคราว เพื่อขัดเกลาจิตใจบุคคลนั้นๆ
ค ณ ะ ผู้ จั ด ท า เ ล็ ง เ ห็ น ถึ ง ค ว า ม ส า คั ญ
และอยากมีส่วนร่วมที่จะช่วยสนับสนุนการทางานของทางมูลนิธิโดยการช่วยบริจาคสิ่งของที่มีความจาเป็น
หรือสิ่งที่ทางมูลนิธิต้องการจะนาไปใช้กับเด็กที่พักอาศัยอยู่ อาทิเช่น หนังสือ เสื้อผ้า นม ขนม
รวมทั้งของใช้ที่ใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น แป้ง สบู่ยาสีฟัน กระดาษชาระ เป็นต้น
2.กำรบูรณำกำรปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง
1.ความพอประมาณ ซื้อของที่ขาดแคลนและจาเป็น
2.ความมีเหตุผล เราเลือกสถานที่ที่ต้องการความช่วยเหลือ
3.การมีภูมิคุ้มกันที่ดี ทาให้เด็กที่บ้านพักมีสิ่งของที่จาเป็นที่เราบริจาคเอาไว้ใช้
เงื่อนไข
1.เงื่อนไขความรู้ ทาให้รับรู้ถึงปัญหาในสังคมที่ส่งผลกระทบกับเด็ก
2.เงื่อนไขคุณธรรม เป็นการส่งมอบความสุขให้กับผู้อื่น
3.วัตถุประสงค์ของโครงกำร
เพื่อบริจาคสิ่งของให้กับบ้านพักเด็กและครอบครัว
4.สถำนที่ดำเนินกำร
เลขที่ 8/8หมู่12ต.ปากแพรก อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 71000
5.วิธีกำรดำเนินงำน
1.ขั้นเตรียมงาน
- ปรึกษาสมาชิกในกลุ่มเกี่ยวกับโครงการ
- แบ่งกันหาข้อมูล
2. ขั้นดาเนินงาน
- ติดต่อสถานที่บ้านพักเด็กและครอบครัวเพื่อที่จะนาของไปบริจาค
-เตรียมสิ่งของที่จะนาไปบริจาค
- เดินทางไปยังสถานที่
- เขียนโครงการ
- สรุปโครงการ
- จัดทาเว็บไซต์เผยแพร่ข้อมูล
6.ระยะเวลำดำเนินงำน
ตั้งแต่เดือน มิถุนายน 2558 – เดือน กันยายน 2558
7.รำยละเอียดงบประมำณของโครงกำร
ค่าเดินทาง 100บาท
ซื้อของบริจาค 600บาท
8.ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
บ้านพักเด็กและครอบครัวมีสิ่งของที่จะนาไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป
บทที่ 2
เอกสำรที่เกี่ยวข้อง
1.เด็กด้อยโอกำส
เด็กด้อยโอกาส หมายถึง เด็กที่อยู่ในสภาวะยากลาบาก เนื่องจากประสบปัญหาต่าง ๆ
มี ชี วิ ต ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ด้ อ ย ก ว่ า เ ด็ ก ป ก ติ ทั่ ว ไ ป
ขาดโอกาสหรือไม่มีโอกาสที่จะเข้ารับบริการทางการศึกษาหรือได้รับพัฒนาทั้งทางร่างกาย สติปัญญา
อารมณ์ สังคม และจิตใจ จาเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือเป็นกรณีพิเศษเพื่อให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
มีพัฒนาการที่ถูกต้องเหมาะสมกับวัยและสามารถบรรลุถึงศักยภาพขั้นสูงสุดได้
2.ประเภทของเด็กด้อยโอกำส
ประเภทกลุ่มเด็กด้อยโอกาสและเด็กนอกระบบการศึกษาอย่างละเอียด จะสามารถจาแนกออกเป็น
11 กลุ่ม โดยพบว่ามีจานวนทั้งสิ้นประมาณ 6,400,000 คน ประกอบด้วย
1 . เ ด็ ก เ ร่ ร่ อ น จ ร จั ด มี จ า น ว น 3 0 , 0 0 0 ค น
ซึ่ ง แห ล่ง ชุมช น แออัดที่ มีจ าน วน เ ด็กเ ร่ร่อน มาก ที่ สุ ด อยู่ใ น เ ข ต กรุ ง เ ทพ มห า น ค ร
บริเวณสะพานพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก ชุมชนคลองเตย ชุมชนรังสิต และชุมชนธัญญบุรี
รวมทั้งตามเมืองขนาดใหญ่ อาทิ ด่านแม่สาย จ.เชียงราย , บริเวณโรงเกลือ จังหวัดสระแก้ว ,
บริเวณชุมชนข้างทางรถไฟ สวนรัก หอนาฬิกา จังหวัดนครราชสีมา และบริเวณพัทยา จังหวัดชลบุรี
ซึ่ ง ส่ ว น ใ ห ญ่ ป ร ะ ส บ ปั ญ ห า ค ร อ บ ค รั ว แ ต ก แ ย ก ถู ก ท า รุ ณ ก ร ร ม
บางส่วนออกมาเร่ร่อนเพื่อหารายได้ช่วยเหลือครอบครัว และหนีตามเพื่อนมาเร่ร่อน
เด็กกลุ่มนี้กาลังเผชิญความเสี่ยงสูงต่อปัญหายาเสพติด การขายบริการทางเพศ และอาชญากรรม
เ นื่ อ ง จ า ก ถู ก ท า ร้ า ย ถู ก ล่ ว ง ล ะ เ มิ ด ท า ง เ พ ศ แ ล ะ ก า ร เ จ็ บ ป่ ว ย
ซึ่ ง ขณะ นี้ มีอง ค์กรของ ภ าครัฐและ อง ค์กรเ อกช น เ ข้าช่วยเ ห ลือได้เ พียง 5,000 คน
ยังมีเด็กเร่ร่อนนอกระบบจานวนมากในหลายพื้นที่ที่รอความช่วยเหลือกว่า 15,000-20,000 คน
สิ่งที่เด็กในกลุ่มนี้ ต้องการคือ การช่วยเหลือต่อเนื่องระยะยาว ซ่อมแซมสภาพพื้นฐานใน ชีวิต
และช่วยเหลือเยียวยาครอบครัว จากนั้นจึงนาเด็กกลับเข้าสู่ระบบการศึกษา
2.เด็กไร้สัญชำติ มีจานวน 200,000-300,000 คน ในจานวนนี้มีอยู่ 100,000 คนที่ยังขาดโอกาสทางการศึกษา
ซึ่งเป็ นเด็กจากชนกลุ่มน้อยที่เข้ามาพักพิงในประเทศไทย มีทั้งที่อยู่มานานเป็ นชั่วอายุคน
แ ล ะ เ พิ่ ง อ พ ย พ เ ข้ า ม า อ ยู่ จึ ง ยั ง ไ ม่ ถู ก รั บ ร อ ง สั ญ ช า ติ
ทาให้เด็กในกลุ่มดังกล่าวไม่ได้รับบริการเท่าเทียมกับเด็กทั่วไป โดยขาดโอกาสทางการศึกษา
ไม่ได้รับสิทธิรับทุนแม้เรียนดี เสี่ยงต่อการถูกล่อลวงไปค้ามนุษย์ ขาดสิทธิ ทางการรักษาพยาบาล
แ ล ะ ไ ม่ ส า ม า ร ถ เ ดิ น ท า ง ไ ก ล ไ ด้
เพราะไม่ได้รับการรับรองสิ ทธิ การเป็ นพ ลเ มือง ความต้องการจาเ ป็ นของเด็กกลุ่มนี้ คือ
การให้สิทธิและโอกาสต่อเด็กไร้สัญชาติ ทั้งทางกฎหมายรับรองและสิทธิการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา
ก า ร ดู แ ล รั ก ษ า พ ย า บ า ล แ ล ะ สิ ท ธิ ก า ร เ ดิ น ท า ง อ อ ก น อ ก พื้ น ที่ ไ ด้
รวมถึงกลไกการติดตามคุ้มครองเด็กไร้สัญชาติที่มีแนวโน้มสูญหายและเสี่ยงต่อขบวนการค้ามนุษย์
3.ลูกของแรงงำนต่ำงด้ำว มีจานวน 250,000 คน ปัญหาสาคัญของเด็กในกลุ่มนี้คือ ขาดโอกาสทางการศึกษา
เนื่องจากต้อง อพ ยพ ตามผู้ปกครองเ ข้ามาทาง าน และเป็ นกลุ่มที่ต้องเ ป็ นแรงงา น เ ด็ก
จึงไม่มีเวลาเรียนในระบบโรงเรียนปกติ ความต้องการของเด็กกลุ่มนี้จึงต้องการการศึกษารูปแบบพิเศษ
บนพื้นฐานของความต้องการให้การศึกษาที่มีคุณภาพเหมาะสมกับวิถีชีวิตรวมถึงการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
และส่งเสริมยอมรับในความหลากหลายทางวัฒนธรรม
4 . เ ด็ ก ติ ด เ ชื้ อ เ อ ด ส์ มี จ า น ว น 5 0 , 0 0 0 ค น ซึ่ ง ติ ด เ ชื้ อ เ อ ด ส์ จ า ก พ่อ แ ม่
จึงมีจานวนไม่น้อยที่เป็ นทั้งเด็กกาพร้าและติดเชื้อเอดส์ จึงต้องเผชิญกับปัญหาทางสุขภาพ
ข า ด ก า ร ย อ ม รั บ จ า ก สั ง ค ม ท า ใ ห้ ผู้ ป่ ว ย เ ข้ า ไ ม่ถึ ง บ ริ ก า ร ด้ า น สุ ข ภ า พ
การส่งต่อของเด็กระหว่างองค์กรไม่เป็นความลับ และเด็กที่ป่วยไม่สามารถอยู่ร่วมกับครอบครัวได้
เด็กในกลุ่มนี้จึงต้องการการดูแลเอาใจใส่จากครอบครัวเครือญาติ การดูแลด้านสุขภาพ การพักฟื้นเยียวยา
และได้รับการรักษาพยาบาลตามสิ ทธิ อย่าง ต่อเนื่ อง ระบบสวัสดิการดูแลเ ด็กติ ด เ ชื้อ
การเข้าใจและยอมรับจากสังคม และโอกาสในการศึกษาเช่นเดียวกับเด็กปกติ
5.เด็กกำพร้ำถูกทอดทิ้ง มีจานวน 88,730 คน ซึ่งถูกทอดทิ้งตามโรงพยาบาล สถานรับเลี้ยงเด็ก
และที่สาธารณะ โดยมีสาเห ตุจากแม่ที่อยู่ใน วัยเ รี ยน และแม่ที่ไม่สามารถเลี้ ยง ลูก ไ ด้
เด็กในกลุ่มนี้ นอกจากต้องการโอกาสทาง การศึกษาเห มือนเ ด็กทั่วไปตั้งแต่ปฐมวัยแล้ว
ยังต้องการความรักความเอาใจใส่เป็นพิเศษ เพื่อให้เด็กสามารถปรับตัวกับสังคมได้
6.เด็กถูกบังคับใช้แรงงำน โดยเฉพาะเด็กอายุต่ากว่า 15 ปีที่ถูกบังคับเป็นแรงงานอย่างผิดกฎหมาย มีจานวน
10,000 คน ซึ่งมีจานวนมากที่ยังไม่เข้าถึงระบบการคุ้มครองของกฎหมายและบริการทาง สัง คม
เนื่องจากสถานประกอบการมีลักษณะซ่อนเร้น เช่น โรงงานขนาดเล็กตามห้องแถวและชานเมือง
ความต้องการของเด็กในกลุ่มนี้คือ ความช่วยเหลือทั้งทางสุขภาพ จิตใจ และโอกาสกลับสู่ระบบการศึกษา
การมีงานทาที่มั่นคงเพื่อหนีความยากจนในอนาคต
7.เด็กถูกบังคับให้ค้ำประเวณี รวมถึงเด็กที่ทางานในสถานบริการ เช่น สนุ๊กเกอร์คลับ ผับ คาเฟ่ ฯลฯ
โดยพบว่ามีเด็กอายุต่ากว่า 18 ปี ที่เข้าสู่การค้าประเวณี ไม่ต่ากว่า 25,000 คน โดยพบว่า
ความต้องการของเด็กกลุ่มนี้ คือ ความช่วยเหลือทั้งทางสุขภาพ จิตใจ โอกาสทางการศึกษา
ร ว ม ถึ ง ก ล ไ ก ท า ง สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น ใ น ก า ร ใ ห้ ก า ลั ง ใ จ เ พื่ อ ฟื้ น ฟู จิ ต ใ จ
ปลูกจิตสานึกให้รักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ การฝึกฝนอาชีพให้มีงานทา
8.เ ด็กติด ย ำ มีจาน วน 10,000 คน โดยกระ จายอยู่ใ น เ ขตกรุ ง เ ทพ ฯและ เ มืองใหญ่
รวมถึงพื้นที่ในจังหวัดชายแดนภาคใต้โดยพบว่า เด็กกลุ่มนี้มีความต้องการฟื้นฟูสภาพร่างกาย สมอง
ก า ร เ ยี ย ว ย า จิ ต ใ จ แ ล ะ คื น ค ว า ม มั่ น ใ จ ใ น ก า ร ก ลั บ สู่ สั ง ค ม / ชุ ม ช น
ตลอดจนความต้องการการศึกษาทั้งสายสามัญและสายอาชีพ
9.เด็กยำกจนพิเศษ หรือเด็กที่ครอบครัวมีรายได้รวมกันไม่เกิน 20,000 บาท/ปี มีจานวน 2,978,770 คน
เด็กในกลุ่มนี้ต้องการการสนับสนุนโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพตั้งแต่ปฐมวัยจนถึงขั้นสูงสุดตามศักยภา
พ
10.เ ด็กที่อยู่ ใน พื้น ที่ห่ ำง ไ กล ถิ่น ทุรกัน ด ำร มีจาน วน 160,000 คน โดยพ บ ว่า
เด็กกลุ่มนี้ต้องการการสนับสนุนโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพตั้งแต่ปฐมวัยจนถึงชั้นสูงสุดตามศักยภาพเ
ช่นกัน
11.เด็กออทิสติก เด็กที่มีความบกพร่องในการเรียนรู้ (LD) เด็กสมาธิสั้น (ADHD) มีจานวนถึง 2,500,000 คน
ห รื อประ มาณ 1 ใ น 5 ของ เ ด็กใ น วัยเ รี ยน ใ น ระ ดับชั้น อนุ บาลถึง มัธยม ( 3 - 18 ปี )
ซึ่ ง เ ด็ ก ใ น ก ลุ่ม นี้ มี ทั้ ง อ ยู่ใ น ร ะ บ บ ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ น อ ก ร ะ บ บ ก า ร ศึ ก ษ า
ซึ่ ง ข า ด ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ดู แ ล ต า ม พั ฒ น า ก า ร ก า ร เ รี ย น รู้ อ ย่ า ง เ ข้ า ใ จ
เด็กในกลุ่มนี้จึงมีความต้องการเฉพาะทั้งในด้านการเลี้ยงดูในครอบครัวและการให้การศึกษาของโรงเรียนที่
ต้องมีการจัดระบบคัดกรอง วินิจฉัย และดูแลอย่างเหมาะสม
นอกจากนี้ในกลุ่มประชากรวัยแรงงานที่ต้องการเรียนต่อและเพิ่มทักษะในการประกอบอาชีพ
เ นื่ อ ง จ า ก ข า ด ค ว า ม รู้ ทั ก ษ ะ แ ล ะ ค ว า ม ช า น า ญ ใ น ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ
โดยพบว่าปัจจุบันผู้ที่อยู่ในวัยกาลังแรงงาน ถึงร้อยละ 54 มีการศึกษาในระดับประถมศึกษาหรือต่ากว่า
และจากผลการสารวจของสานักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2552 พบว่า ประชากรอายุ 18 -24 ปี
จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือต่ากว่าประมาณ 4,600,000 คน หรือคิดเป็นสัดส่วน 2 ใน 3
ของประชากรอายุ 18-24ปีทั้งหมด จึงนับเป็นอุปสรรคต่อการดารงชีวิตและการประกอบอาชีพในอนาคต
การพัฒนาความรู้ผ่าน การให้การศึกษาต่อและเพิ่มทักษะใน การประ กอบ อาชีพ
จึงถือเป็นการยกระดับรายได้และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นในกลุ่มวัยแรงงาน โดยจากการสารวจประชากรอายุ 15
ปีขึ้นไป พบว่า มีประชากร 8,800,000 คน คิดเป็นร้อยละ 17 ที่มีความต้องการพัฒนาความรู้
และทักษะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานและการประกอบอาชีพ
3.สำเหตุของเด็กด้อยโอกำส
1.โครงสร้ำงประชำกร ข้อมูลประชากรไทยจากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ
เดือนธันวาคม 2552 มีประชากรทั้งสิ้น 63.5 ล้านคน เป็ นเด็กและเยาวชน คือบุคคลที่มีอายุ
ไม่เกินยี่สิบห้าปี บริบูรณ์ จานวน 22.92 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 36.85 ของประชากรทั้งห มด
(กลุ่มเด็กแรกเกิดถึง 2 ปี ประมาณ 2.30 ล้านคน กลุ่มอายุ 3-5 ปี ประมาณ 2.40 ล้านคน กลุ่มอายุ 6-12 ปี
ประมาณ 5.91 ล้านคน กลุ่มอายุ 13-17 ปี ประมาณ 4.85 ล้านคน และกลุ่มอายุ 18-25 ปี ประมาณ 7.46
ล้านคน) นอกจากนี้ ยังมีเด็กบุตรแรงงานต่างด้าวอายุไม่เกิน 15 ปี ที่เกิดในประเทศไทยและจดทะเบียน
(ตามแบบ ท.ร. 38/1) กับคณะกรรมการบริ หารแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง (กบร.)
ของกระทรวงแรงงานอีกประมาณ 2 แสนคน โครงสร้างประชากรเด็กและเยาวชนไทย
คาดว่ามีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง จากการสารวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร ในระยะ 5 ปีย้อนหลัง
(ปี 2544-2548) มีเด็กเกิดใหม่ปีละ 0.75-0.81 ล้านคน เนื่องจากหญิงชายวัยเจริญพันธุ์แต่งงานช้าลง
ก า ร คุ ม ก า เ นิ ด ไ ด้ รั บ ก า ร ย อ ม รั บ แ ล ะ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล
ข ณ ะ ที่ จ า น ว น แ ล ะ สั ด ส่ว น ป ร ะ ช า ก ร วัย แ ร ง ง า น ยัง ค ง มีร ะ ดับ ค่อ น ข้า ง ค ง ที่
แต่จานวนและสัดส่วนประชากรสูงอายุได้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และจะเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 14.7
ของประชากรทั้งหมดในปี 2559 (การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2543-2573, สศช.)
จึ ง เ ป็ น โ อ ก า ส ต่ อ ก า ร ล ง ทุ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ เ ด็ ก
พัฒนาทักษะความรู้ของเด็กและเยาวชนที่จะเป็นกาลังแรงงานใหม่ที่มีคุณภาพสอดคล้องกับความต้องการข
อ ง ต ล า ด แ ร ง ง า น แ ล ะ แ น ว โ น้ ม ข อ ง ก า ลั ง แ ร ง ง า น ที่ จ ะ ล ด ล ง ใ น อ น า ค ต
ข ณ ะ เ ดี ย ว กัน ค น วัย แ ร ง ง า น จ ะ ต้ อ ง รั บ ภ า ร ะ ดู แ ล เ ด็ ก แ ล ะ ผู้ สู ง อ า ยุ เ พิ่ ม ขึ้ น
ส่งผลให้อัตราการพึ่งพิงมีแนวโน้มสูงขึ้น
2.โครงสร้ำงครอบครัวไทยและสภำพแวดล้อมเด็ก ประเทศไทยมีจานวนครัวเรือน 21.14 ล้านครัวเรือน
ขนาดครอบครัวเฉลี่ย 3.0 คนต่อครัวเรือน (ข้อมูลกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ เดือนธันวาคม
2552) สถิติการจดทะเบียนสมรสลดลง ในขณะที่สถิติการหย่าร้างสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยในปี
2 5 5 0 มี อั ต ร า ก า ร ห ย่า ร้ า ง ป ร ะ ม า ณ 1 ใ น 3 ข อ ง ก า ร จ ด ท ะ เ บี ย น ส ม ร ส
ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลของสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิ ดล
ที่พบว่าสถิติการหย่าร้างเพิ่มขึ้น 2 เท่า จากประมาณ 50,000 คู่ในปี 2536 เป็นประมาณ 100,00 คู่ในปี 2550
สั ง ค ม ไ ท ย มีก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง จ า ก สั ง ค ม เ ค รื อ ญ า ติ เ ป็ น สั ง ค ม ปั จ เ จ ก ม า ก ขึ้ น
ส่ ง ผ ล ใ ห้ มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง รู ป แ บ บ ค ร อ บ ค รั ว ไ ท ย เ ช่ น
ครอบครัวเ ลี้ ยง เ ดี่ ย วที่ มีพ่อ ห รื อแ ม่เ ลี้ ยง บุ ตรเ พี ยง ล าพัง ครอบครัวพ่อแ ม่ วัย รุ่น
ครัวเรือนที่อยู่ด้วยกันแบบไม่ใช่ญาติ ครัวเรือนที่มีอายุแบบกระโดด คือ ปู่ย่า/ตายายกับห ลาน
หรือครัวเรือนที่เป็ นเพศเดียวกัน นอกจากนี้ ผลของการสารวจเด็กและเยาวชน ปี 2552
ของสานักงานสถิติแห่งชาติ พบว่า เด็กที่อาศัยอยู่กับพ่อแม่มีร้อยละ 61.8 ไม่ได้อยู่กับพ่อแม่มีร้อยละ 20.1
ที่ เ ห ลื อ อ ยู่ กั บ พ่ อ ห รื อ แ ม่ ค น ใ ด ค น ห นึ่ ง
สาห รับเ ด็กที่ไม่ได้อยู่กับพ่อแม่พ บ ว่าอยู่น อ กเ ขตเ ทศ บาล มากก ว่าใ น เ ขตเ ท ศ บ า ล
ในการดาเนินชีวิตของครอบครัว มีการเปลี่ยนแปลงที่ทั้งพ่อและแม่ต้องแสวงหาราย ได้
ทาให้ไม่สามารถอบรมเลี้ ยงดูบุตรได้เท่าที่ควร ส่งผลให้เด็กไม่ได้รับการดูแลที่เพียง พ อ
จึงถูกดึงดูดจากสิ่งจูงใจภายนอกครอบครัวโดยง่าย เช่น ติดเกม ติดสารเสพติด มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
เป็นต้น
3 . ก ำ ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ท ำ ง เ ท ค โ น โ ล ยี
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้คนอย่างรวดเร็วในรูปแบบที่
ห ลากห ลาย เ ช่น อิน เ ตอร์ เ น็ ตความเ ร็ วสู ง ระ บบโทรศัพ ท์เ คลื่อน ที่ 3 จี เ ป็ น ต้น
ส่งผลให้ผู้คนทุกเชื้อชาติสามารถติดต่อสื่ อสารกัน อย่างไร้พรมแดนและรวดเร็ ว ทัน ใ จ
จึง เ ป็ น โอกาสใน การสร้าง ช่องทางให ม่ ๆ เ พื่อการเ สริ มสร้าง สังคมแห่ง การเรียนรู้
และดึงดูดความสนใจของเด็กและเยาวชนให้เป็นคนใฝ่เรียนรู้ จุดประกายความคิดและจินตนาการใหม่ๆ
ใ น เ ชิ ง ส ร้ า ง ส ร ร ค์
แต่ในขณะเดียวกันก็เป็นภัยคุกคามต่อเด็กและเยาวชนจากกระแสการคลั่งไคล้และเสพติดเทคโนโลยี
รวมทั้งเป็นข้อจากัดต่อผู้มีฐานะยากจนที่ไม่สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีได้อย่างเท่าเทียมคนทั่วไป
4.กำรเปลี่ยนแปลงทำงสังคมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงสังคมไทยจากสังคมเกษตรกรรม
สู่ สั ง ค ม อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ สั ง ค ม ฐ า น ค ว า ม รู้
ส่งผลให้ประเทศไทยรับเอาค่านิยมความเป็นสากลทั้งจากตะวันตกและตะวันออกมาเชื่อมโยงกับวิถีความเป็
นไทย โดยเกิดการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ คือ
4.1การเลียนแบบพฤติกรรมของซีกโลกตะวันตกที่มีความอิสระเสรีในการแสดงออกถึงอัตลักษณ์ความเป็น
ตัวตน และความต้องการของแต่ละบุคคล ทาให้นิยามของความสุขแตกต่างหลากห ลาย
โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนซึ่งมีวุฒิภาวะทางอารมณ์น้อยย่อมได้รับผลกระทบมากและส่งผลต่อเนื่องไปยังคร
อบครัวและสังคม
4.2 การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วผ่านทางโลกเสมือนจริงทาให้ผู้คนมีความรู้มากขึ้น
เกิดเครือข่ายทางสังคมในโลกเสมือน จริงซึ่ง มีอิทธิพลต่อการดารงชีวิตมากขึ้น ทุก ขณะ
อีกทั้งเกิดความคิดสร้างสรรค์ที่หลากหลาย แต่การปฏิสัมพันธ์ในโลกแห่งความเป็นจริงมีน้อยลง
โ ด ย เ ฉ พ า ะ เ ด็ ก แ ล ะ เ ย า ว ช น
จะมีการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีที่ทันสมัยและการสื่อสารได้อย่างสะดวกรวดเร็วทุกที่ทุกเ วลา
สาหรับคนที่ไม่มีภูมิคุ้มกันและไม่สามารถเลือกสิ่งดี ๆ ได้ด้วยตนเอง จะเป็นกลุ่มที่ตกอยู่ในภาวะเสี่ยง
ป ร ะ ก อ บ กั บ ห า ก พ่ อ แ ม่ ไ ม่เ ข้ า ใ จ แ ล ะ เ ข้ า ไ ม่ ถึ ง โ ล ก เ ส มื อ น จ ริ ง
จะมองกิจกรรมที่เด็กเข้าไปร่วมออน ไลน์ในทางลบเท่านั้น ทาให้เกิดช่องว่างครอบครัว
และเกิดความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงเทคโนโลยี
4.3คนไทยเริ่มหวนคานึงถึงความสงบสุขแบบในอดีต ท่ามกลางสภาพสังคมที่มีความขัดแย้ง สับสนวุ่นวาย
มี วิ ถี ชี วิ ต เ ร่ ง รี บ แ ก่ ง แ ย่ ง แ ข่ ง ขั น
จึงเป็นโอกาสในการสนับสนุนส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตมาเป็นแบบพอเพียงและหันมา
ด า เ นิ น ชี วิ ต อ ย่ า ง ส ง บ สุ ข แ ผ น ป ฏิ รู ป ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ( 2 5 5 4 )
จึ ง ใ ห้ มี ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ส ร้ า ง แ ล ะ พั ฒ น า เ ก ษ ต ร ก ร รุ่ น ใ ห ม่
โ ด ย พั ฒ น า อ า ชี ว ศึ ก ษ า ค ว บ คู่กับ ก า ร ส นั บ ส นุ น ที่ ดิ น ท า กิ น แ ล ะ แ ห ล่ง ทุ น
ส่งเสริมทักษะการประกอบอาชีพในสถานประกอบการ การเป็ นผู้ประกอบการรายย่อย
รวมทั้งพัฒนาชุมชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้
4.4 การเคลื่อนย้ายแรงงานจากภาคสู่ภาค และจากประเทศเพื่อนบ้านเข้าสู่ประเทศไทย
พร้อมกับแรงงานไทยเคลื่อนย้ายออกนอกประเทศ ส่งผลให้เด็กและเยาวชนต้องปรับตัวกับวัฒน ธรรม
ที่หลากหลายและมีความจาเป็นที่จะต้องเข้าใจเพื่อให้อยู่ในสังคมได้อย่างสมานฉันท์
5.กำรรวมกลุ่มภำยใต้กรอบควำมร่วมมือระดับอนุภูมิภำคโดยเฉพาะการเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558
จ ะ มี ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ก า ร พั ฒ น า ท รั พ ย า ก ร ม นุ ษ ย์
เ นื่ อ ง จ า ก จ ะ มีก า ร เ ค ลื่ อ น ย้า ย ป ร ะ ช า ก ร ทั้ ง ด้า น ก า ร ท่อ ง เ ที่ ย ว แ ล ะ บ ริ ก า ร
ร ว ม ถึ ง เ ค ลื่ อ น ย้ า ย แ ร ง ง า น เ ข้ า สู่ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ม า ก ขึ้ น โ ด ย ใ น ปี 2 5 5 8
จะมีการเคลื่อนย้ายแรงงานที่มีทักษะฝีมืออย่างเสรี 7 สาขา ได้แก่วิศวกรรม พยาบาล สถาปัตยกรรม
วิชาชีพสารวจ แพทย์
ทันตแพทย์ และนักบัญชี ดังนั้นการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความพร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงานอย่างมีคุณภาพ
จ ะ ต้ อ ง ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ กับ ก า ร พั ฒ น า ค ว า ม รู้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ เ ฉ พ า ะ ท า ง
การพัฒน าทักษะ การเ รี ยน รู้และ การประ ยุกต์ใ ช้เ ทคโน โล ยีที่ จะ เ ข้ามาใ น อ น า ค ต
ตลอดจน มีความรู้ภ าษาต่าง ประ เ ทศ และ มีความเ ข้าใ จใ น วัฒน ธรรมที่ห ลากห ลาย
เพื่อนาไปสู่การใช้ความรู้และนวัตกรรมในการพัฒนาและการผลิตในอนาคต
4.ผลกระทบจำกปัญหำเด็กด้อยโอกำส
ผลกระทบต่อเด็ก
1.เด็กจะเกิดปัญหาการไม่เห็น คุณค่าของ ตัวเ อง ติดยาเสพติด การติดเชื้อเ อ ด ส์
แ ล ะ พ ฤ ติ ก ร ร ม ท า ง เ พ ศ ที่ ไ ม่เ ห ม า ะ ส ม มี ค ร อ บ ค รั ว ตั้ ง แ ต่ อ า ยุ ยั ง น้ อ ย
ซึ่งยังไม่มีความพร้อมด้านวุฒิภาวะทางอารมณ์ และ ความสามารถในการเลี้ยงดูลูก การทาแท้ง
การทอดทิ้งเด็ก อีกทั้งการใช้ความรุนแรงในครอบครัวตามมา กลายเป็นวงจรของปัญหาที่ไม่สิ้นสุด
2.เ ด็กที่ถูกท อด ทิ้ง เ พื่อช่ว ยแ บ่ง เ บาภ าระ ใ น ค รอ บ ครั ว จึง ต้อง ออ ก ท า ง า น
นามาซึ่งปัญหาการใช้แรงง านเด็กอย่างไม่เ ป็ นธรรมและผิดกฎห มายคุ้มครองแรง ง าน
ถู ก ล ะ เ มิ ด สิ ท ธิ แ ล ะ ท า ท า รุ ณ ก ร ร ม
อีกทั้ง เ กิดกระ บวน การล่อลวงและค้าเ ด็กเพื่อค้าประเวณีที่มีรู ปแบบซับซ้อน มากขึ้น
ห รื อเ ด็กขายบริ การทาง เ พ ศด้วยความส มัครใ จ มีอายุน้อยลง คือ 13 - 15 ปี มากขึ้ น
(ศูนย์การศึกษาเพื่อเด็กด้อยโอกาส คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
3.เด็กไม่สามารถเข้าถึงบริการของรัฐและสิทธิ ที่ ควรจะได้รับ โดยเริ่มตั้งแต่คลอด
เมื่อพ่อแม่ของเด็กพาเด็กมาให้ตายายเลี้ยงดูที่ต่างจังหวัด ปัญหาที่เราพบเสมอคือเด็กไม่มีหลักฐานการเกิด
เ นื่ อ ง จ า ก แ ม่เ ด็ ก ไ ม่ไ ด้ทิ้ ง เ อ ก ส า ร ไ ว้ใ ห้ ห รื อ บ า ง ค น ไ ม่ไ ด้แ จ้ง เ กิด ใ ห้ กับ ลู ก
ทาให้เด็กหลายคนไม่สามารถเข้าถึงบริการของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นการรักษาพยาบาล หรือการศึกษา
4.ปัญหาต่อมาจะเกิดขึ้นกับเด็กในช่วงวัยก่อนเรียน เด็กจานวนมากยังอยู่ในภาวะทุพโภชนาการ
เนื่องจากตายายขาดความรู้ในการเลี้ยงดูเด็กและความยากจนทาให้ไม่มีเงินที่จะซื้อนมใ ห้เ ด็ก
บางครั้งต้องกินน้าข้าวแทนนม เด็กจึงขาดสารอาหาร ทาให้เด็กหลายคนมีพัฒนาการล่าช้ากว่าวัย
เป็นโรคแทรกซ้อนต่างๆ รวมทั้งมีผลต่อระดับสติปัญญาและพิการได้
ผลกระทบต่อสังคม
1 . ส ถิ ติ เ ด็ ก แ ล ะ เ ย า ว ช น ท า ผิ ด สู ง ขึ้ น
จากรายงานคดีเกี่ยวกับเด็กที่ถูกจับเข้าสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน พบว่า ความผิดฐานลักทรัพย์
( ในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ) ทาร้ายร่างกาย ( ในความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย ) ข่มขืนกระทาชาเรา (
ในความผิดเกี่ยวกับเพศ ) ซ่องโจร อั้งยี่ ( ในความผิดเกี่ยวกับความสงบสุข ) และยาเสพติด ( ความผิดอื่น )
เป็นฐานความผิดที่มีสถิติสูงสุด จากที่เด็กเคยตกเป็นเหยื่ออันเนื่องมาจากปัญหาการทอดทิ้งเด็ก
2.ปั ญห าเ ด็กถู กท อ ด ทิ้ง เ ป็ น ปั ญห า ที่ สร้ าง ภ า ระ ใ ห้กับ สัง ค ม ที่ จะ ต้อ ง ดู แ ล
โดยเฉพาะหน่วยที่เข้ามามีบทบาทการรับดูแลเด็กที่ถูกทอดทิ้ง
3. สังคมเกิดความไม่เป็นระเบียบจากปัญหาที่เกิดขึ้นหากไม่มีการดูแลและแก้ไขอย่างต่อเนื่อง
5.แนวทำงแก้ไขปัญหำเด็กด้อยโอกำส
1. จัดการเ รี ยน การสอน โ ดยเ ปิ ด โอ กาสใ ห้นักเ รี ยน ไ ด้แส ดง ค วา มคิ ด เ ห็ น
แ ล ะ ก า ร ก ร ะ ท า ใ น ข อ บ เ ข ต ข อ ง ต น ไ ม่ไ ป ล ะ เ มิ ด สิ ท ธิ ข อ ง ผู้ อื่ น
และคอยสอดส่องดูแลเด็กไม่ให้ไปกระทาในสิ่งที่ผิดกฎหมาย หรือกระทาในสิ่งที่ เป็นผลร้ายต่อตนเอง
และ ผู้อื่น อีกนัยห นึ่ ง ใ ห้โอกาสเ ด็กได้ศึกษาห าความรู้กฎห มายรัฐธรร มนู ญ และ
เรียนรู้สิทธิของเด็กเองเพื่อจะได้ปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
2. ให้โอกาสแก่เด็ก ได้รับการศึกษาอย่างน้อย 12 ปี โรงเรียนควรสอดส่องดูแลเ ด็กที่
ผู้ปกครองขาดความใ ส่ใ จไม่ให้การศึกษาแก่บุตรห ลาน ของ ตนโดยการให้คา แนะนา
ช่วยเหลือเขาให้ส่งบุตรหลานของเขาได้เล่าเรียนตลอด12ปี
3. ห าทาง ป้ อง กัน แก้ไขช่วยเ ห ลือเ ด็กที่ถูกทาร้าย ทุบตี ล่วง ละ เ มิดทาง เ พ ศ
และถูกทอดทิ้งจากครอบครัว โดยการสอดส่องดูแลเด็กที่มีอาการผิดปกติ หรือศึกษาหาข้อมูลต่างๆ
ใ น การช่วยเ ห ลือเ ด็กพ ร้อมทั้ง ใ ห้การศึกษาแก่เ ด็กไม่ใ ห้ ถูกทาร้าย ถูกละ เ มิดสิ ทธิ
ป้องกันตนเองและเมื่อถูกละเมิดสิทธิควรทาอย่างไร
4 .
ให้การช่วยเหลือเด็กได้พัฒนาเต็มศักยภาพของเขาให้รู้จักคิดแก้ปัญหาเมื่อมีภัยมารู้จักป้ องกันตนเองจากภัยท
างสังคม เช่น การติดสารเสพติด โรคเอดส์ อุบัติเหตุ ฯลฯ
5. ให้การศึกษาเกี่ยวกับกฎหมายแรงงานแก่นักเรียนเพื่อป้ องกันคุ้มครองการใช้แรงงานเด็ก
ก า ร ล ะ เ มิ ด ก ฎ ห ม า ย แ ร ง ง า น พ ร้ อ ม ใ ห้ ไ ด้ เ รี ย น รู้ เ กี่ ย ว กับ อ า ชี พ ต่า ง ๆ
เพื่อโอกาสในการประกอบอาชีพที่เหมาะสมต่อไป
6 .
กาหนดเป็นมาตรการเพื่อป้องกันการละเมิดสิทธิเด็กในสถานศึกษาไม่ว่าจะเป็นการละเมิดทางร่างกายทางเพ
ศและจิตใจ
7. ให้โอกาสแก่เด็กที่ด้อยโอกาสทางการศึกษา เด็กพิการ เด็กไร้ที่พึ่ง ให้ได้รับบริการทางการศึกษา
แ ล ะ ไ ด้ รั บ ก า ร ดู แ ล คุ้ ม ค ร อ ง สิ ท ธิ ที่ พึ ง ไ ด้ รั บ
เช่นได้รับเครื่องอุปโภคบริโภคการป้องกันรักษาโรครวมทั้งการได้รับการศึกษา
8. กาหนดแนวทางป้องกัน และ แก้ปัญหามิให้เด็กถูกไล่ออกจากระบบการศึกษาโดยกาหนดวิธีการ
ทากิจกรรมพิเศษ สาหรับนักเรียนที่มีพฤติกรรมผิดปกติ เช่น ขาดความรับผิดชอบขาดระเบียบวินัย
9. กาหนดนโยบายหรือแนวทางที่จะพัฒนาเด็กนักเรียนให้มีคุณภาพทั้งด้าน ร่างกายและจิตใจ
ให้เป็นคนดี คนเก่ง และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
บทที่ 3
ขั้นตอนกำรดำเนินงำน
วัสดุอุปกรณ์
1.หนังสือ
2.เสื้อผ้า
3.นม
4.ขนม
5.ของใช้อื่นๆที่จาเป็น
ขั้นตอนดำเนินงำน
1.ปรึกษากันภายในกลุ่มเกี่ยวกับโครงการที่สนใจ
2.หาข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ที่จะไปดาเนินงาน
3.ติดต่อสอบถามเจ้าหน้าที่ ณ บ้านพักเด็กและครอบครัว
เพื่อจัดหาของบริจาคได้ตรงกับความต้องการ
4.จัดหาของสาหรับบริจาค
5.นาสิ่งของไปบริจาคให้กับบ้านพักเด็กและครอบครัว
6.สรุปโครงการ
7.จัดทาเว็บไซต์เพื่อเผยแพร่โครงการ

More Related Content

Similar to โครงการช่วยเหลือเจือปัน

รายการข่าว
รายการข่าวรายการข่าว
รายการข่าว
Wichuta Junkhaw
 
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนThawankoRn Yenglam
 
สวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุสวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุprimpatcha
 
เด็ก
เด็กเด็ก
เด็กyungpuy
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียน
Kornnicha Wonglai
 
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
Nithimar Or
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdfปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
60919
 
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักวัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
dentyomaraj
 
กลุ่มพัฒนาศักยภาพญาติในการดูแลผู้ป่วย เพื่อลดการกำเริบซ้ำของผู้ป่วยจิตเภท
กลุ่มพัฒนาศักยภาพญาติในการดูแลผู้ป่วย เพื่อลดการกำเริบซ้ำของผู้ป่วยจิตเภทกลุ่มพัฒนาศักยภาพญาติในการดูแลผู้ป่วย เพื่อลดการกำเริบซ้ำของผู้ป่วยจิตเภท
กลุ่มพัฒนาศักยภาพญาติในการดูแลผู้ป่วย เพื่อลดการกำเริบซ้ำของผู้ป่วยจิตเภท
JibPo Po
 
1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3Nok Tiwung
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Albert Sigum
 
Hiv health status questionnaire
Hiv health status questionnaireHiv health status questionnaire
Hiv health status questionnaire
Chucshwal's MK
 
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรSasithon Charoenchai
 
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กบทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
csip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
freelance
 

Similar to โครงการช่วยเหลือเจือปัน (20)

Focus 4-55
Focus 4-55Focus 4-55
Focus 4-55
 
รายการข่าว
รายการข่าวรายการข่าว
รายการข่าว
 
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชน
 
สวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุสวัสดิการผู้สูงอายุ
สวัสดิการผู้สูงอายุ
 
เด็ก
เด็กเด็ก
เด็ก
 
Focus4
Focus4Focus4
Focus4
 
ปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียนปัญหาท้องในวัยเรียน
ปัญหาท้องในวัยเรียน
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
ผลงานเครือข่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากคนพิการ
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdfปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
 
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลักวัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
วัยซน วัยใส ใส่ใจมื้อหลัก
 
กลุ่มพัฒนาศักยภาพญาติในการดูแลผู้ป่วย เพื่อลดการกำเริบซ้ำของผู้ป่วยจิตเภท
กลุ่มพัฒนาศักยภาพญาติในการดูแลผู้ป่วย เพื่อลดการกำเริบซ้ำของผู้ป่วยจิตเภทกลุ่มพัฒนาศักยภาพญาติในการดูแลผู้ป่วย เพื่อลดการกำเริบซ้ำของผู้ป่วยจิตเภท
กลุ่มพัฒนาศักยภาพญาติในการดูแลผู้ป่วย เพื่อลดการกำเริบซ้ำของผู้ป่วยจิตเภท
 
1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
โครงการ จ ตอาสาพาน องแปรงฟ_น
โครงการ จ ตอาสาพาน องแปรงฟ_นโครงการ จ ตอาสาพาน องแปรงฟ_น
โครงการ จ ตอาสาพาน องแปรงฟ_น
 
Hiv health status questionnaire
Hiv health status questionnaireHiv health status questionnaire
Hiv health status questionnaire
 
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
 
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กบทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
 
บทบาทหน้าที่กรรมการสงเคราะห์และเครือข่าย
บทบาทหน้าที่กรรมการสงเคราะห์และเครือข่ายบทบาทหน้าที่กรรมการสงเคราะห์และเครือข่าย
บทบาทหน้าที่กรรมการสงเคราะห์และเครือข่าย
 

โครงการช่วยเหลือเจือปัน

  • 1. บทที่ 1 บทนำ 1.หลักกำรและเหตุผล การอบรม การสั่งสอน การให้คาแนะนา การเลี้ยงดู การให้ความรักและความอบอุ่น เป็นสิ่งที่สาคัญที่จะทาทุกคนมีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี โดยเฉพาะกับบุคคลที่มีปัญหา เช่น ปัญหาใช้ความรุนแรงในครอบครัว ปัญหาการค้ามนุษย์ ปัญหาเด็กและเยาวชน สตรีถูกทารุณกรรม การตั้งครรภ์โดยไม่พึงประสงค์ ซึ่งบุคคลเหล่านี้เป็นผู้ที่ต้องการคาแนะนาที่ดีและกาลังใจอย่างมาก ในสังคมไทยจึงมีมูลนิธิที่คอยให้คาปรึกษาให้คาแนะนา ให้ที่พักชั่วคราว เพื่อขัดเกลาจิตใจบุคคลนั้นๆ ค ณ ะ ผู้ จั ด ท า เ ล็ ง เ ห็ น ถึ ง ค ว า ม ส า คั ญ และอยากมีส่วนร่วมที่จะช่วยสนับสนุนการทางานของทางมูลนิธิโดยการช่วยบริจาคสิ่งของที่มีความจาเป็น หรือสิ่งที่ทางมูลนิธิต้องการจะนาไปใช้กับเด็กที่พักอาศัยอยู่ อาทิเช่น หนังสือ เสื้อผ้า นม ขนม รวมทั้งของใช้ที่ใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น แป้ง สบู่ยาสีฟัน กระดาษชาระ เป็นต้น 2.กำรบูรณำกำรปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง 1.ความพอประมาณ ซื้อของที่ขาดแคลนและจาเป็น 2.ความมีเหตุผล เราเลือกสถานที่ที่ต้องการความช่วยเหลือ 3.การมีภูมิคุ้มกันที่ดี ทาให้เด็กที่บ้านพักมีสิ่งของที่จาเป็นที่เราบริจาคเอาไว้ใช้ เงื่อนไข 1.เงื่อนไขความรู้ ทาให้รับรู้ถึงปัญหาในสังคมที่ส่งผลกระทบกับเด็ก 2.เงื่อนไขคุณธรรม เป็นการส่งมอบความสุขให้กับผู้อื่น 3.วัตถุประสงค์ของโครงกำร เพื่อบริจาคสิ่งของให้กับบ้านพักเด็กและครอบครัว 4.สถำนที่ดำเนินกำร เลขที่ 8/8หมู่12ต.ปากแพรก อ.เมือง จ.กาญจนบุรี 71000
  • 2. 5.วิธีกำรดำเนินงำน 1.ขั้นเตรียมงาน - ปรึกษาสมาชิกในกลุ่มเกี่ยวกับโครงการ - แบ่งกันหาข้อมูล 2. ขั้นดาเนินงาน - ติดต่อสถานที่บ้านพักเด็กและครอบครัวเพื่อที่จะนาของไปบริจาค -เตรียมสิ่งของที่จะนาไปบริจาค - เดินทางไปยังสถานที่ - เขียนโครงการ - สรุปโครงการ - จัดทาเว็บไซต์เผยแพร่ข้อมูล 6.ระยะเวลำดำเนินงำน ตั้งแต่เดือน มิถุนายน 2558 – เดือน กันยายน 2558 7.รำยละเอียดงบประมำณของโครงกำร ค่าเดินทาง 100บาท ซื้อของบริจาค 600บาท 8.ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ บ้านพักเด็กและครอบครัวมีสิ่งของที่จะนาไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป
  • 3. บทที่ 2 เอกสำรที่เกี่ยวข้อง 1.เด็กด้อยโอกำส เด็กด้อยโอกาส หมายถึง เด็กที่อยู่ในสภาวะยากลาบาก เนื่องจากประสบปัญหาต่าง ๆ มี ชี วิ ต ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ด้ อ ย ก ว่ า เ ด็ ก ป ก ติ ทั่ ว ไ ป ขาดโอกาสหรือไม่มีโอกาสที่จะเข้ารับบริการทางการศึกษาหรือได้รับพัฒนาทั้งทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และจิตใจ จาเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือเป็นกรณีพิเศษเพื่อให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น มีพัฒนาการที่ถูกต้องเหมาะสมกับวัยและสามารถบรรลุถึงศักยภาพขั้นสูงสุดได้ 2.ประเภทของเด็กด้อยโอกำส ประเภทกลุ่มเด็กด้อยโอกาสและเด็กนอกระบบการศึกษาอย่างละเอียด จะสามารถจาแนกออกเป็น 11 กลุ่ม โดยพบว่ามีจานวนทั้งสิ้นประมาณ 6,400,000 คน ประกอบด้วย 1 . เ ด็ ก เ ร่ ร่ อ น จ ร จั ด มี จ า น ว น 3 0 , 0 0 0 ค น ซึ่ ง แห ล่ง ชุมช น แออัดที่ มีจ าน วน เ ด็กเ ร่ร่อน มาก ที่ สุ ด อยู่ใ น เ ข ต กรุ ง เ ทพ มห า น ค ร บริเวณสะพานพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก ชุมชนคลองเตย ชุมชนรังสิต และชุมชนธัญญบุรี รวมทั้งตามเมืองขนาดใหญ่ อาทิ ด่านแม่สาย จ.เชียงราย , บริเวณโรงเกลือ จังหวัดสระแก้ว , บริเวณชุมชนข้างทางรถไฟ สวนรัก หอนาฬิกา จังหวัดนครราชสีมา และบริเวณพัทยา จังหวัดชลบุรี ซึ่ ง ส่ ว น ใ ห ญ่ ป ร ะ ส บ ปั ญ ห า ค ร อ บ ค รั ว แ ต ก แ ย ก ถู ก ท า รุ ณ ก ร ร ม บางส่วนออกมาเร่ร่อนเพื่อหารายได้ช่วยเหลือครอบครัว และหนีตามเพื่อนมาเร่ร่อน เด็กกลุ่มนี้กาลังเผชิญความเสี่ยงสูงต่อปัญหายาเสพติด การขายบริการทางเพศ และอาชญากรรม เ นื่ อ ง จ า ก ถู ก ท า ร้ า ย ถู ก ล่ ว ง ล ะ เ มิ ด ท า ง เ พ ศ แ ล ะ ก า ร เ จ็ บ ป่ ว ย ซึ่ ง ขณะ นี้ มีอง ค์กรของ ภ าครัฐและ อง ค์กรเ อกช น เ ข้าช่วยเ ห ลือได้เ พียง 5,000 คน ยังมีเด็กเร่ร่อนนอกระบบจานวนมากในหลายพื้นที่ที่รอความช่วยเหลือกว่า 15,000-20,000 คน สิ่งที่เด็กในกลุ่มนี้ ต้องการคือ การช่วยเหลือต่อเนื่องระยะยาว ซ่อมแซมสภาพพื้นฐานใน ชีวิต และช่วยเหลือเยียวยาครอบครัว จากนั้นจึงนาเด็กกลับเข้าสู่ระบบการศึกษา 2.เด็กไร้สัญชำติ มีจานวน 200,000-300,000 คน ในจานวนนี้มีอยู่ 100,000 คนที่ยังขาดโอกาสทางการศึกษา ซึ่งเป็ นเด็กจากชนกลุ่มน้อยที่เข้ามาพักพิงในประเทศไทย มีทั้งที่อยู่มานานเป็ นชั่วอายุคน แ ล ะ เ พิ่ ง อ พ ย พ เ ข้ า ม า อ ยู่ จึ ง ยั ง ไ ม่ ถู ก รั บ ร อ ง สั ญ ช า ติ ทาให้เด็กในกลุ่มดังกล่าวไม่ได้รับบริการเท่าเทียมกับเด็กทั่วไป โดยขาดโอกาสทางการศึกษา
  • 4. ไม่ได้รับสิทธิรับทุนแม้เรียนดี เสี่ยงต่อการถูกล่อลวงไปค้ามนุษย์ ขาดสิทธิ ทางการรักษาพยาบาล แ ล ะ ไ ม่ ส า ม า ร ถ เ ดิ น ท า ง ไ ก ล ไ ด้ เพราะไม่ได้รับการรับรองสิ ทธิ การเป็ นพ ลเ มือง ความต้องการจาเ ป็ นของเด็กกลุ่มนี้ คือ การให้สิทธิและโอกาสต่อเด็กไร้สัญชาติ ทั้งทางกฎหมายรับรองและสิทธิการเข้าถึงโอกาสทางการศึกษา ก า ร ดู แ ล รั ก ษ า พ ย า บ า ล แ ล ะ สิ ท ธิ ก า ร เ ดิ น ท า ง อ อ ก น อ ก พื้ น ที่ ไ ด้ รวมถึงกลไกการติดตามคุ้มครองเด็กไร้สัญชาติที่มีแนวโน้มสูญหายและเสี่ยงต่อขบวนการค้ามนุษย์ 3.ลูกของแรงงำนต่ำงด้ำว มีจานวน 250,000 คน ปัญหาสาคัญของเด็กในกลุ่มนี้คือ ขาดโอกาสทางการศึกษา เนื่องจากต้อง อพ ยพ ตามผู้ปกครองเ ข้ามาทาง าน และเป็ นกลุ่มที่ต้องเ ป็ นแรงงา น เ ด็ก จึงไม่มีเวลาเรียนในระบบโรงเรียนปกติ ความต้องการของเด็กกลุ่มนี้จึงต้องการการศึกษารูปแบบพิเศษ บนพื้นฐานของความต้องการให้การศึกษาที่มีคุณภาพเหมาะสมกับวิถีชีวิตรวมถึงการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ และส่งเสริมยอมรับในความหลากหลายทางวัฒนธรรม 4 . เ ด็ ก ติ ด เ ชื้ อ เ อ ด ส์ มี จ า น ว น 5 0 , 0 0 0 ค น ซึ่ ง ติ ด เ ชื้ อ เ อ ด ส์ จ า ก พ่อ แ ม่ จึงมีจานวนไม่น้อยที่เป็ นทั้งเด็กกาพร้าและติดเชื้อเอดส์ จึงต้องเผชิญกับปัญหาทางสุขภาพ ข า ด ก า ร ย อ ม รั บ จ า ก สั ง ค ม ท า ใ ห้ ผู้ ป่ ว ย เ ข้ า ไ ม่ถึ ง บ ริ ก า ร ด้ า น สุ ข ภ า พ การส่งต่อของเด็กระหว่างองค์กรไม่เป็นความลับ และเด็กที่ป่วยไม่สามารถอยู่ร่วมกับครอบครัวได้ เด็กในกลุ่มนี้จึงต้องการการดูแลเอาใจใส่จากครอบครัวเครือญาติ การดูแลด้านสุขภาพ การพักฟื้นเยียวยา และได้รับการรักษาพยาบาลตามสิ ทธิ อย่าง ต่อเนื่ อง ระบบสวัสดิการดูแลเ ด็กติ ด เ ชื้อ การเข้าใจและยอมรับจากสังคม และโอกาสในการศึกษาเช่นเดียวกับเด็กปกติ 5.เด็กกำพร้ำถูกทอดทิ้ง มีจานวน 88,730 คน ซึ่งถูกทอดทิ้งตามโรงพยาบาล สถานรับเลี้ยงเด็ก และที่สาธารณะ โดยมีสาเห ตุจากแม่ที่อยู่ใน วัยเ รี ยน และแม่ที่ไม่สามารถเลี้ ยง ลูก ไ ด้ เด็กในกลุ่มนี้ นอกจากต้องการโอกาสทาง การศึกษาเห มือนเ ด็กทั่วไปตั้งแต่ปฐมวัยแล้ว ยังต้องการความรักความเอาใจใส่เป็นพิเศษ เพื่อให้เด็กสามารถปรับตัวกับสังคมได้ 6.เด็กถูกบังคับใช้แรงงำน โดยเฉพาะเด็กอายุต่ากว่า 15 ปีที่ถูกบังคับเป็นแรงงานอย่างผิดกฎหมาย มีจานวน 10,000 คน ซึ่งมีจานวนมากที่ยังไม่เข้าถึงระบบการคุ้มครองของกฎหมายและบริการทาง สัง คม เนื่องจากสถานประกอบการมีลักษณะซ่อนเร้น เช่น โรงงานขนาดเล็กตามห้องแถวและชานเมือง ความต้องการของเด็กในกลุ่มนี้คือ ความช่วยเหลือทั้งทางสุขภาพ จิตใจ และโอกาสกลับสู่ระบบการศึกษา การมีงานทาที่มั่นคงเพื่อหนีความยากจนในอนาคต
  • 5. 7.เด็กถูกบังคับให้ค้ำประเวณี รวมถึงเด็กที่ทางานในสถานบริการ เช่น สนุ๊กเกอร์คลับ ผับ คาเฟ่ ฯลฯ โดยพบว่ามีเด็กอายุต่ากว่า 18 ปี ที่เข้าสู่การค้าประเวณี ไม่ต่ากว่า 25,000 คน โดยพบว่า ความต้องการของเด็กกลุ่มนี้ คือ ความช่วยเหลือทั้งทางสุขภาพ จิตใจ โอกาสทางการศึกษา ร ว ม ถึ ง ก ล ไ ก ท า ง สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น ใ น ก า ร ใ ห้ ก า ลั ง ใ จ เ พื่ อ ฟื้ น ฟู จิ ต ใ จ ปลูกจิตสานึกให้รักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ การฝึกฝนอาชีพให้มีงานทา 8.เ ด็กติด ย ำ มีจาน วน 10,000 คน โดยกระ จายอยู่ใ น เ ขตกรุ ง เ ทพ ฯและ เ มืองใหญ่ รวมถึงพื้นที่ในจังหวัดชายแดนภาคใต้โดยพบว่า เด็กกลุ่มนี้มีความต้องการฟื้นฟูสภาพร่างกาย สมอง ก า ร เ ยี ย ว ย า จิ ต ใ จ แ ล ะ คื น ค ว า ม มั่ น ใ จ ใ น ก า ร ก ลั บ สู่ สั ง ค ม / ชุ ม ช น ตลอดจนความต้องการการศึกษาทั้งสายสามัญและสายอาชีพ 9.เด็กยำกจนพิเศษ หรือเด็กที่ครอบครัวมีรายได้รวมกันไม่เกิน 20,000 บาท/ปี มีจานวน 2,978,770 คน เด็กในกลุ่มนี้ต้องการการสนับสนุนโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพตั้งแต่ปฐมวัยจนถึงขั้นสูงสุดตามศักยภา พ 10.เ ด็กที่อยู่ ใน พื้น ที่ห่ ำง ไ กล ถิ่น ทุรกัน ด ำร มีจาน วน 160,000 คน โดยพ บ ว่า เด็กกลุ่มนี้ต้องการการสนับสนุนโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพตั้งแต่ปฐมวัยจนถึงชั้นสูงสุดตามศักยภาพเ ช่นกัน 11.เด็กออทิสติก เด็กที่มีความบกพร่องในการเรียนรู้ (LD) เด็กสมาธิสั้น (ADHD) มีจานวนถึง 2,500,000 คน ห รื อประ มาณ 1 ใ น 5 ของ เ ด็กใ น วัยเ รี ยน ใ น ระ ดับชั้น อนุ บาลถึง มัธยม ( 3 - 18 ปี ) ซึ่ ง เ ด็ ก ใ น ก ลุ่ม นี้ มี ทั้ ง อ ยู่ใ น ร ะ บ บ ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ น อ ก ร ะ บ บ ก า ร ศึ ก ษ า ซึ่ ง ข า ด ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ดู แ ล ต า ม พั ฒ น า ก า ร ก า ร เ รี ย น รู้ อ ย่ า ง เ ข้ า ใ จ เด็กในกลุ่มนี้จึงมีความต้องการเฉพาะทั้งในด้านการเลี้ยงดูในครอบครัวและการให้การศึกษาของโรงเรียนที่ ต้องมีการจัดระบบคัดกรอง วินิจฉัย และดูแลอย่างเหมาะสม นอกจากนี้ในกลุ่มประชากรวัยแรงงานที่ต้องการเรียนต่อและเพิ่มทักษะในการประกอบอาชีพ เ นื่ อ ง จ า ก ข า ด ค ว า ม รู้ ทั ก ษ ะ แ ล ะ ค ว า ม ช า น า ญ ใ น ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ โดยพบว่าปัจจุบันผู้ที่อยู่ในวัยกาลังแรงงาน ถึงร้อยละ 54 มีการศึกษาในระดับประถมศึกษาหรือต่ากว่า และจากผลการสารวจของสานักงานสถิติแห่งชาติ พ.ศ. 2552 พบว่า ประชากรอายุ 18 -24 ปี จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือต่ากว่าประมาณ 4,600,000 คน หรือคิดเป็นสัดส่วน 2 ใน 3 ของประชากรอายุ 18-24ปีทั้งหมด จึงนับเป็นอุปสรรคต่อการดารงชีวิตและการประกอบอาชีพในอนาคต
  • 6. การพัฒนาความรู้ผ่าน การให้การศึกษาต่อและเพิ่มทักษะใน การประ กอบ อาชีพ จึงถือเป็นการยกระดับรายได้และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นในกลุ่มวัยแรงงาน โดยจากการสารวจประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป พบว่า มีประชากร 8,800,000 คน คิดเป็นร้อยละ 17 ที่มีความต้องการพัฒนาความรู้ และทักษะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานและการประกอบอาชีพ 3.สำเหตุของเด็กด้อยโอกำส 1.โครงสร้ำงประชำกร ข้อมูลประชากรไทยจากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ เดือนธันวาคม 2552 มีประชากรทั้งสิ้น 63.5 ล้านคน เป็ นเด็กและเยาวชน คือบุคคลที่มีอายุ ไม่เกินยี่สิบห้าปี บริบูรณ์ จานวน 22.92 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 36.85 ของประชากรทั้งห มด (กลุ่มเด็กแรกเกิดถึง 2 ปี ประมาณ 2.30 ล้านคน กลุ่มอายุ 3-5 ปี ประมาณ 2.40 ล้านคน กลุ่มอายุ 6-12 ปี ประมาณ 5.91 ล้านคน กลุ่มอายุ 13-17 ปี ประมาณ 4.85 ล้านคน และกลุ่มอายุ 18-25 ปี ประมาณ 7.46 ล้านคน) นอกจากนี้ ยังมีเด็กบุตรแรงงานต่างด้าวอายุไม่เกิน 15 ปี ที่เกิดในประเทศไทยและจดทะเบียน (ตามแบบ ท.ร. 38/1) กับคณะกรรมการบริ หารแรงงานต่างด้าวหลบหนีเข้าเมือง (กบร.) ของกระทรวงแรงงานอีกประมาณ 2 แสนคน โครงสร้างประชากรเด็กและเยาวชนไทย คาดว่ามีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง จากการสารวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร ในระยะ 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2544-2548) มีเด็กเกิดใหม่ปีละ 0.75-0.81 ล้านคน เนื่องจากหญิงชายวัยเจริญพันธุ์แต่งงานช้าลง ก า ร คุ ม ก า เ นิ ด ไ ด้ รั บ ก า ร ย อ ม รั บ แ ล ะ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ผ ล ข ณ ะ ที่ จ า น ว น แ ล ะ สั ด ส่ว น ป ร ะ ช า ก ร วัย แ ร ง ง า น ยัง ค ง มีร ะ ดับ ค่อ น ข้า ง ค ง ที่ แต่จานวนและสัดส่วนประชากรสูงอายุได้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และจะเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 14.7 ของประชากรทั้งหมดในปี 2559 (การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2543-2573, สศช.) จึ ง เ ป็ น โ อ ก า ส ต่ อ ก า ร ล ง ทุ น พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ เ ด็ ก พัฒนาทักษะความรู้ของเด็กและเยาวชนที่จะเป็นกาลังแรงงานใหม่ที่มีคุณภาพสอดคล้องกับความต้องการข อ ง ต ล า ด แ ร ง ง า น แ ล ะ แ น ว โ น้ ม ข อ ง ก า ลั ง แ ร ง ง า น ที่ จ ะ ล ด ล ง ใ น อ น า ค ต ข ณ ะ เ ดี ย ว กัน ค น วัย แ ร ง ง า น จ ะ ต้ อ ง รั บ ภ า ร ะ ดู แ ล เ ด็ ก แ ล ะ ผู้ สู ง อ า ยุ เ พิ่ ม ขึ้ น ส่งผลให้อัตราการพึ่งพิงมีแนวโน้มสูงขึ้น 2.โครงสร้ำงครอบครัวไทยและสภำพแวดล้อมเด็ก ประเทศไทยมีจานวนครัวเรือน 21.14 ล้านครัวเรือน ขนาดครอบครัวเฉลี่ย 3.0 คนต่อครัวเรือน (ข้อมูลกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ เดือนธันวาคม 2552) สถิติการจดทะเบียนสมรสลดลง ในขณะที่สถิติการหย่าร้างสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยในปี 2 5 5 0 มี อั ต ร า ก า ร ห ย่า ร้ า ง ป ร ะ ม า ณ 1 ใ น 3 ข อ ง ก า ร จ ด ท ะ เ บี ย น ส ม ร ส ซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลของสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มหาวิทยาลัยมหิ ดล ที่พบว่าสถิติการหย่าร้างเพิ่มขึ้น 2 เท่า จากประมาณ 50,000 คู่ในปี 2536 เป็นประมาณ 100,00 คู่ในปี 2550
  • 7. สั ง ค ม ไ ท ย มีก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง จ า ก สั ง ค ม เ ค รื อ ญ า ติ เ ป็ น สั ง ค ม ปั จ เ จ ก ม า ก ขึ้ น ส่ ง ผ ล ใ ห้ มี ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง รู ป แ บ บ ค ร อ บ ค รั ว ไ ท ย เ ช่ น ครอบครัวเ ลี้ ยง เ ดี่ ย วที่ มีพ่อ ห รื อแ ม่เ ลี้ ยง บุ ตรเ พี ยง ล าพัง ครอบครัวพ่อแ ม่ วัย รุ่น ครัวเรือนที่อยู่ด้วยกันแบบไม่ใช่ญาติ ครัวเรือนที่มีอายุแบบกระโดด คือ ปู่ย่า/ตายายกับห ลาน หรือครัวเรือนที่เป็ นเพศเดียวกัน นอกจากนี้ ผลของการสารวจเด็กและเยาวชน ปี 2552 ของสานักงานสถิติแห่งชาติ พบว่า เด็กที่อาศัยอยู่กับพ่อแม่มีร้อยละ 61.8 ไม่ได้อยู่กับพ่อแม่มีร้อยละ 20.1 ที่ เ ห ลื อ อ ยู่ กั บ พ่ อ ห รื อ แ ม่ ค น ใ ด ค น ห นึ่ ง สาห รับเ ด็กที่ไม่ได้อยู่กับพ่อแม่พ บ ว่าอยู่น อ กเ ขตเ ทศ บาล มากก ว่าใ น เ ขตเ ท ศ บ า ล ในการดาเนินชีวิตของครอบครัว มีการเปลี่ยนแปลงที่ทั้งพ่อและแม่ต้องแสวงหาราย ได้ ทาให้ไม่สามารถอบรมเลี้ ยงดูบุตรได้เท่าที่ควร ส่งผลให้เด็กไม่ได้รับการดูแลที่เพียง พ อ จึงถูกดึงดูดจากสิ่งจูงใจภายนอกครอบครัวโดยง่าย เช่น ติดเกม ติดสารเสพติด มีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร เป็นต้น 3 . ก ำ ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ท ำ ง เ ท ค โ น โ ล ยี ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้คนอย่างรวดเร็วในรูปแบบที่ ห ลากห ลาย เ ช่น อิน เ ตอร์ เ น็ ตความเ ร็ วสู ง ระ บบโทรศัพ ท์เ คลื่อน ที่ 3 จี เ ป็ น ต้น ส่งผลให้ผู้คนทุกเชื้อชาติสามารถติดต่อสื่ อสารกัน อย่างไร้พรมแดนและรวดเร็ ว ทัน ใ จ จึง เ ป็ น โอกาสใน การสร้าง ช่องทางให ม่ ๆ เ พื่อการเ สริ มสร้าง สังคมแห่ง การเรียนรู้ และดึงดูดความสนใจของเด็กและเยาวชนให้เป็นคนใฝ่เรียนรู้ จุดประกายความคิดและจินตนาการใหม่ๆ ใ น เ ชิ ง ส ร้ า ง ส ร ร ค์ แต่ในขณะเดียวกันก็เป็นภัยคุกคามต่อเด็กและเยาวชนจากกระแสการคลั่งไคล้และเสพติดเทคโนโลยี รวมทั้งเป็นข้อจากัดต่อผู้มีฐานะยากจนที่ไม่สามารถเข้าถึงเทคโนโลยีได้อย่างเท่าเทียมคนทั่วไป 4.กำรเปลี่ยนแปลงทำงสังคมและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงสังคมไทยจากสังคมเกษตรกรรม สู่ สั ง ค ม อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ สั ง ค ม ฐ า น ค ว า ม รู้ ส่งผลให้ประเทศไทยรับเอาค่านิยมความเป็นสากลทั้งจากตะวันตกและตะวันออกมาเชื่อมโยงกับวิถีความเป็ นไทย โดยเกิดการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญ คือ 4.1การเลียนแบบพฤติกรรมของซีกโลกตะวันตกที่มีความอิสระเสรีในการแสดงออกถึงอัตลักษณ์ความเป็น ตัวตน และความต้องการของแต่ละบุคคล ทาให้นิยามของความสุขแตกต่างหลากห ลาย
  • 8. โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนซึ่งมีวุฒิภาวะทางอารมณ์น้อยย่อมได้รับผลกระทบมากและส่งผลต่อเนื่องไปยังคร อบครัวและสังคม 4.2 การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วผ่านทางโลกเสมือนจริงทาให้ผู้คนมีความรู้มากขึ้น เกิดเครือข่ายทางสังคมในโลกเสมือน จริงซึ่ง มีอิทธิพลต่อการดารงชีวิตมากขึ้น ทุก ขณะ อีกทั้งเกิดความคิดสร้างสรรค์ที่หลากหลาย แต่การปฏิสัมพันธ์ในโลกแห่งความเป็นจริงมีน้อยลง โ ด ย เ ฉ พ า ะ เ ด็ ก แ ล ะ เ ย า ว ช น จะมีการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีที่ทันสมัยและการสื่อสารได้อย่างสะดวกรวดเร็วทุกที่ทุกเ วลา สาหรับคนที่ไม่มีภูมิคุ้มกันและไม่สามารถเลือกสิ่งดี ๆ ได้ด้วยตนเอง จะเป็นกลุ่มที่ตกอยู่ในภาวะเสี่ยง ป ร ะ ก อ บ กั บ ห า ก พ่ อ แ ม่ ไ ม่เ ข้ า ใ จ แ ล ะ เ ข้ า ไ ม่ ถึ ง โ ล ก เ ส มื อ น จ ริ ง จะมองกิจกรรมที่เด็กเข้าไปร่วมออน ไลน์ในทางลบเท่านั้น ทาให้เกิดช่องว่างครอบครัว และเกิดความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงเทคโนโลยี 4.3คนไทยเริ่มหวนคานึงถึงความสงบสุขแบบในอดีต ท่ามกลางสภาพสังคมที่มีความขัดแย้ง สับสนวุ่นวาย มี วิ ถี ชี วิ ต เ ร่ ง รี บ แ ก่ ง แ ย่ ง แ ข่ ง ขั น จึงเป็นโอกาสในการสนับสนุนส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตมาเป็นแบบพอเพียงและหันมา ด า เ นิ น ชี วิ ต อ ย่ า ง ส ง บ สุ ข แ ผ น ป ฏิ รู ป ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ( 2 5 5 4 ) จึ ง ใ ห้ มี ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ส ร้ า ง แ ล ะ พั ฒ น า เ ก ษ ต ร ก ร รุ่ น ใ ห ม่ โ ด ย พั ฒ น า อ า ชี ว ศึ ก ษ า ค ว บ คู่กับ ก า ร ส นั บ ส นุ น ที่ ดิ น ท า กิ น แ ล ะ แ ห ล่ง ทุ น ส่งเสริมทักษะการประกอบอาชีพในสถานประกอบการ การเป็ นผู้ประกอบการรายย่อย รวมทั้งพัฒนาชุมชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ 4.4 การเคลื่อนย้ายแรงงานจากภาคสู่ภาค และจากประเทศเพื่อนบ้านเข้าสู่ประเทศไทย พร้อมกับแรงงานไทยเคลื่อนย้ายออกนอกประเทศ ส่งผลให้เด็กและเยาวชนต้องปรับตัวกับวัฒน ธรรม ที่หลากหลายและมีความจาเป็นที่จะต้องเข้าใจเพื่อให้อยู่ในสังคมได้อย่างสมานฉันท์ 5.กำรรวมกลุ่มภำยใต้กรอบควำมร่วมมือระดับอนุภูมิภำคโดยเฉพาะการเป็นประชาคมอาเซียนในปี 2558 จ ะ มี ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ ก า ร พั ฒ น า ท รั พ ย า ก ร ม นุ ษ ย์ เ นื่ อ ง จ า ก จ ะ มีก า ร เ ค ลื่ อ น ย้า ย ป ร ะ ช า ก ร ทั้ ง ด้า น ก า ร ท่อ ง เ ที่ ย ว แ ล ะ บ ริ ก า ร ร ว ม ถึ ง เ ค ลื่ อ น ย้ า ย แ ร ง ง า น เ ข้ า สู่ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ม า ก ขึ้ น โ ด ย ใ น ปี 2 5 5 8 จะมีการเคลื่อนย้ายแรงงานที่มีทักษะฝีมืออย่างเสรี 7 สาขา ได้แก่วิศวกรรม พยาบาล สถาปัตยกรรม วิชาชีพสารวจ แพทย์ ทันตแพทย์ และนักบัญชี ดังนั้นการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความพร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงานอย่างมีคุณภาพ จ ะ ต้ อ ง ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ กับ ก า ร พั ฒ น า ค ว า ม รู้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ เ ฉ พ า ะ ท า ง การพัฒน าทักษะ การเ รี ยน รู้และ การประ ยุกต์ใ ช้เ ทคโน โล ยีที่ จะ เ ข้ามาใ น อ น า ค ต
  • 9. ตลอดจน มีความรู้ภ าษาต่าง ประ เ ทศ และ มีความเ ข้าใ จใ น วัฒน ธรรมที่ห ลากห ลาย เพื่อนาไปสู่การใช้ความรู้และนวัตกรรมในการพัฒนาและการผลิตในอนาคต 4.ผลกระทบจำกปัญหำเด็กด้อยโอกำส ผลกระทบต่อเด็ก 1.เด็กจะเกิดปัญหาการไม่เห็น คุณค่าของ ตัวเ อง ติดยาเสพติด การติดเชื้อเ อ ด ส์ แ ล ะ พ ฤ ติ ก ร ร ม ท า ง เ พ ศ ที่ ไ ม่เ ห ม า ะ ส ม มี ค ร อ บ ค รั ว ตั้ ง แ ต่ อ า ยุ ยั ง น้ อ ย ซึ่งยังไม่มีความพร้อมด้านวุฒิภาวะทางอารมณ์ และ ความสามารถในการเลี้ยงดูลูก การทาแท้ง การทอดทิ้งเด็ก อีกทั้งการใช้ความรุนแรงในครอบครัวตามมา กลายเป็นวงจรของปัญหาที่ไม่สิ้นสุด 2.เ ด็กที่ถูกท อด ทิ้ง เ พื่อช่ว ยแ บ่ง เ บาภ าระ ใ น ค รอ บ ครั ว จึง ต้อง ออ ก ท า ง า น นามาซึ่งปัญหาการใช้แรงง านเด็กอย่างไม่เ ป็ นธรรมและผิดกฎห มายคุ้มครองแรง ง าน ถู ก ล ะ เ มิ ด สิ ท ธิ แ ล ะ ท า ท า รุ ณ ก ร ร ม อีกทั้ง เ กิดกระ บวน การล่อลวงและค้าเ ด็กเพื่อค้าประเวณีที่มีรู ปแบบซับซ้อน มากขึ้น ห รื อเ ด็กขายบริ การทาง เ พ ศด้วยความส มัครใ จ มีอายุน้อยลง คือ 13 - 15 ปี มากขึ้ น (ศูนย์การศึกษาเพื่อเด็กด้อยโอกาส คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) 3.เด็กไม่สามารถเข้าถึงบริการของรัฐและสิทธิ ที่ ควรจะได้รับ โดยเริ่มตั้งแต่คลอด เมื่อพ่อแม่ของเด็กพาเด็กมาให้ตายายเลี้ยงดูที่ต่างจังหวัด ปัญหาที่เราพบเสมอคือเด็กไม่มีหลักฐานการเกิด เ นื่ อ ง จ า ก แ ม่เ ด็ ก ไ ม่ไ ด้ทิ้ ง เ อ ก ส า ร ไ ว้ใ ห้ ห รื อ บ า ง ค น ไ ม่ไ ด้แ จ้ง เ กิด ใ ห้ กับ ลู ก ทาให้เด็กหลายคนไม่สามารถเข้าถึงบริการของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นการรักษาพยาบาล หรือการศึกษา 4.ปัญหาต่อมาจะเกิดขึ้นกับเด็กในช่วงวัยก่อนเรียน เด็กจานวนมากยังอยู่ในภาวะทุพโภชนาการ เนื่องจากตายายขาดความรู้ในการเลี้ยงดูเด็กและความยากจนทาให้ไม่มีเงินที่จะซื้อนมใ ห้เ ด็ก บางครั้งต้องกินน้าข้าวแทนนม เด็กจึงขาดสารอาหาร ทาให้เด็กหลายคนมีพัฒนาการล่าช้ากว่าวัย เป็นโรคแทรกซ้อนต่างๆ รวมทั้งมีผลต่อระดับสติปัญญาและพิการได้ ผลกระทบต่อสังคม 1 . ส ถิ ติ เ ด็ ก แ ล ะ เ ย า ว ช น ท า ผิ ด สู ง ขึ้ น จากรายงานคดีเกี่ยวกับเด็กที่ถูกจับเข้าสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน พบว่า ความผิดฐานลักทรัพย์ ( ในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ) ทาร้ายร่างกาย ( ในความผิดเกี่ยวกับชีวิตและร่างกาย ) ข่มขืนกระทาชาเรา (
  • 10. ในความผิดเกี่ยวกับเพศ ) ซ่องโจร อั้งยี่ ( ในความผิดเกี่ยวกับความสงบสุข ) และยาเสพติด ( ความผิดอื่น ) เป็นฐานความผิดที่มีสถิติสูงสุด จากที่เด็กเคยตกเป็นเหยื่ออันเนื่องมาจากปัญหาการทอดทิ้งเด็ก 2.ปั ญห าเ ด็กถู กท อ ด ทิ้ง เ ป็ น ปั ญห า ที่ สร้ าง ภ า ระ ใ ห้กับ สัง ค ม ที่ จะ ต้อ ง ดู แ ล โดยเฉพาะหน่วยที่เข้ามามีบทบาทการรับดูแลเด็กที่ถูกทอดทิ้ง 3. สังคมเกิดความไม่เป็นระเบียบจากปัญหาที่เกิดขึ้นหากไม่มีการดูแลและแก้ไขอย่างต่อเนื่อง 5.แนวทำงแก้ไขปัญหำเด็กด้อยโอกำส 1. จัดการเ รี ยน การสอน โ ดยเ ปิ ด โอ กาสใ ห้นักเ รี ยน ไ ด้แส ดง ค วา มคิ ด เ ห็ น แ ล ะ ก า ร ก ร ะ ท า ใ น ข อ บ เ ข ต ข อ ง ต น ไ ม่ไ ป ล ะ เ มิ ด สิ ท ธิ ข อ ง ผู้ อื่ น และคอยสอดส่องดูแลเด็กไม่ให้ไปกระทาในสิ่งที่ผิดกฎหมาย หรือกระทาในสิ่งที่ เป็นผลร้ายต่อตนเอง และ ผู้อื่น อีกนัยห นึ่ ง ใ ห้โอกาสเ ด็กได้ศึกษาห าความรู้กฎห มายรัฐธรร มนู ญ และ เรียนรู้สิทธิของเด็กเองเพื่อจะได้ปฏิบัติตนได้ถูกต้อง 2. ให้โอกาสแก่เด็ก ได้รับการศึกษาอย่างน้อย 12 ปี โรงเรียนควรสอดส่องดูแลเ ด็กที่ ผู้ปกครองขาดความใ ส่ใ จไม่ให้การศึกษาแก่บุตรห ลาน ของ ตนโดยการให้คา แนะนา ช่วยเหลือเขาให้ส่งบุตรหลานของเขาได้เล่าเรียนตลอด12ปี 3. ห าทาง ป้ อง กัน แก้ไขช่วยเ ห ลือเ ด็กที่ถูกทาร้าย ทุบตี ล่วง ละ เ มิดทาง เ พ ศ และถูกทอดทิ้งจากครอบครัว โดยการสอดส่องดูแลเด็กที่มีอาการผิดปกติ หรือศึกษาหาข้อมูลต่างๆ ใ น การช่วยเ ห ลือเ ด็กพ ร้อมทั้ง ใ ห้การศึกษาแก่เ ด็กไม่ใ ห้ ถูกทาร้าย ถูกละ เ มิดสิ ทธิ ป้องกันตนเองและเมื่อถูกละเมิดสิทธิควรทาอย่างไร 4 . ให้การช่วยเหลือเด็กได้พัฒนาเต็มศักยภาพของเขาให้รู้จักคิดแก้ปัญหาเมื่อมีภัยมารู้จักป้ องกันตนเองจากภัยท างสังคม เช่น การติดสารเสพติด โรคเอดส์ อุบัติเหตุ ฯลฯ 5. ให้การศึกษาเกี่ยวกับกฎหมายแรงงานแก่นักเรียนเพื่อป้ องกันคุ้มครองการใช้แรงงานเด็ก ก า ร ล ะ เ มิ ด ก ฎ ห ม า ย แ ร ง ง า น พ ร้ อ ม ใ ห้ ไ ด้ เ รี ย น รู้ เ กี่ ย ว กับ อ า ชี พ ต่า ง ๆ เพื่อโอกาสในการประกอบอาชีพที่เหมาะสมต่อไป 6 . กาหนดเป็นมาตรการเพื่อป้องกันการละเมิดสิทธิเด็กในสถานศึกษาไม่ว่าจะเป็นการละเมิดทางร่างกายทางเพ ศและจิตใจ
  • 11. 7. ให้โอกาสแก่เด็กที่ด้อยโอกาสทางการศึกษา เด็กพิการ เด็กไร้ที่พึ่ง ให้ได้รับบริการทางการศึกษา แ ล ะ ไ ด้ รั บ ก า ร ดู แ ล คุ้ ม ค ร อ ง สิ ท ธิ ที่ พึ ง ไ ด้ รั บ เช่นได้รับเครื่องอุปโภคบริโภคการป้องกันรักษาโรครวมทั้งการได้รับการศึกษา 8. กาหนดแนวทางป้องกัน และ แก้ปัญหามิให้เด็กถูกไล่ออกจากระบบการศึกษาโดยกาหนดวิธีการ ทากิจกรรมพิเศษ สาหรับนักเรียนที่มีพฤติกรรมผิดปกติ เช่น ขาดความรับผิดชอบขาดระเบียบวินัย 9. กาหนดนโยบายหรือแนวทางที่จะพัฒนาเด็กนักเรียนให้มีคุณภาพทั้งด้าน ร่างกายและจิตใจ ให้เป็นคนดี คนเก่ง และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
  • 12. บทที่ 3 ขั้นตอนกำรดำเนินงำน วัสดุอุปกรณ์ 1.หนังสือ 2.เสื้อผ้า 3.นม 4.ขนม 5.ของใช้อื่นๆที่จาเป็น ขั้นตอนดำเนินงำน 1.ปรึกษากันภายในกลุ่มเกี่ยวกับโครงการที่สนใจ 2.หาข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ที่จะไปดาเนินงาน 3.ติดต่อสอบถามเจ้าหน้าที่ ณ บ้านพักเด็กและครอบครัว เพื่อจัดหาของบริจาคได้ตรงกับความต้องการ 4.จัดหาของสาหรับบริจาค 5.นาสิ่งของไปบริจาคให้กับบ้านพักเด็กและครอบครัว 6.สรุปโครงการ 7.จัดทาเว็บไซต์เพื่อเผยแพร่โครงการ