SlideShare a Scribd company logo
การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เน็ต จัดทำโดย นายกิตติศักดิ์  ปิ่นนาค นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  6 / 1 โรงเรียนสวีวิทยา จ . ชุมพร
ในยุคที่ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวันของคนทั่วไป นอกจากการสืบเสาะค้นหาข้อมูลข่าวสาร ติดต่อ     สื่อสาร และกระทั่งการใช้เพื่อความบันเทิงแล้ว ปัจจุบันการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการทางอินเตอร์เน็ต หรือที่เรียกอีกอย่างว่า การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เน็ต  ( E - Commerce ) ไฟร์วอลล์มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการปกป้องเครือข่ายและระบบคอมพิวเตอร์สำหรับธุรกิจและผู้ใช้งานตามบ้าน ซึ่งในปัจจุบันไฟร์วอลล์มีอยู่สองรูปแบบที่เด่นชัด คือ ไฟร์วอลล์ที่อยู่บนโฮสต์ซึ่งป้องกันคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง และไฟร์วอลล์ที่อยู่บนเครือข่ายซึ่งวางอยู่ในตำแหน่งจุดเชื่อมต่อที่สำคัญของเครือข่าย โดยองค์กรขนาดใหญ่จะใช้ไฟร์วอลล์ที่อยู่บนเครือข่ายเป็นส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม แม้แต่องค์กรขนาดใหญ่ที่วางระบบรักษาความปลอดภัยไว้อย่างดี ก็ควรจะมีไฟร์วอลล์ที่อยู่บนโฮสต์ด้วย เพื่อเป็นเกราะคุ้มกันชั้นที่สองหากมีเวิร์มหรือทราฟิกที่มุ่งร้ายอื่นๆ หลุดรอดจากไฟร์วอลล์หลักที่อยู่บนเครือข่าย ความรู้เกี่ยวกับไฟร์วอลล์  ( Firewall )
สิ่งที่ไฟร์วอลล์ช่วยได้ -  บังคับใช้นโยบายด้านความปลอดภัย โดยการ กำหนดกฎให้กับไฟร์วอลล์ว่าจะอนุญาตหรือไม่ให้ใช้เซอร์วิสชนิดใด -  ทำให้การพิจารณาดูแลและการตัดสินใจด้านความปลอดภัยของระบบเป็นไปได้ง่ายขึ้น เนื่องจากการติดต่อทุกชนิดกับเน็ตเวิร์กภายนอกจะต้องผ่านไฟร์วอลล์ การดูแลที่จุดนี้เป็นการดูแลความปลอดภัยในระดับของเน็ตเวิร์ก  ( Network - based Security ) -  บันทึกข้อมูล กิจกรรมต่างๆ ที่ผ่านเข้าออกเน็ตเวิร์กได้อย่างมีประสิทธิภาพ -  ป้องกันเน็ตเวิร์กบางส่วนจากการเข้าถึงของเน็ตเวิร์กภายนอก เช่นถ้าหากเรามีบางส่วนที่ต้องการให้ภายนอกเข้ามาใช้เซอร์วิส  ( เช่น ถ้ามีเว็บเซิร์ฟเวอร์ )  แต่ส่วนที่เหลือไม่ต้องการให้ภายนอกเข้ามากรณีเช่นนี้เราสามารถใช้ไฟร์วอลล์ช่วยได้ -  ไฟร์วอลล์บางชนิดสามารถป้องกันไวรัสได้ โดยจะทำการตรวจไฟล์ที่โอนย้ายผ่านทางโปรโตคอล  HTTP, FTP  และ  SMTP
อะไรที่ไฟร์วอลล์ช่วยไม่ได้ -  อันตรายที่เกิดจากเน็ตเวิร์กภายใน ไม่สามารถป้องกันได้เนื่องจากอยู่ภายในเน็ตเวิร์กเอง ไม่ได้ผ่านไฟร์วอลล์เข้ามา -  อันตรายจากภายนอกที่ไม่ได้ผ่านเข้ามาทางไฟร์วอลล์ เช่นการ  Dial - up  เข้ามายังเน็ตเวิร์กภายในโดยตรงโดยไม่ได้ผ่านไฟร์วอลล์ -  อันตรายจากวิธีใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น ทุกวันนี้มีการพบช่องโหว่ใหม่ๆ เกิดขึ้นทุกวัน เราไม่สามารถไว้ใจไฟร์วอลล์โดยการติดตั้งเพียงครั้งเดียวแล้วก็หวังให้มันปลอดภัยตลอดไป เราต้องมีการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ -  ไวรัส ถึงแม้จะมีไฟร์วอลล์บางชนิดที่สามารถป้องกันไวรัสได้ แต่ก็ยังไม่มีไฟร์วอลล์ชนิดใดที่สามารถตรวจสอบไวรัสได้ในทุกๆ โปรโตคอล
ชนิดของไฟร์วอลล์   แบ่งตามเทคโนโลยีที่ใช้ในการตรวจสอบและควบคุม ได้แก่ 1 .  Packet Filtering  คือเราเตอร์ที่ทำการหาเส้นทางและส่งต่ออย่างมีเงื่อนไข โดยจะพิจารณาจากข้อมูลส่วนที่อยู่ในเฮดเดอร์ของแพ็กเก็ตที่ผ่านเข้ามา เทียบกับกฎที่กำหนดไว้ และตัดสินว่าควรจะทิ้งแพ็กเก็ตนั้นไปหรือว่าจะยอมให้แพ็กเก็ตนั้นผ่านไปได้ 2 .  Proxy  หรือ  Application Gateway  เป็นโปรแกรมที่ทำงานอยู่บนไฟร์วอลล์ที่ตั้งอยู่ระหว่างเน็ตเวิร์ก  2   เน็ตเวิร์ก ทำหน้าที่เพิ่มความปลอดภัยของระบบเน็ตเวิร์ก โดยการควบคุมการเชื่อมต่อระหว่างเน็ตเวิร์กภายในและภายนอก  Proxy  จะช่วยเพิ่มความปลอดภัยได้มาก เนื่องจากมีการตรวจสอบข้อมูลถึงในระดับของแอพพลิเคชันเลเยอร์ 3 .  Stateful Inspection  เป็นเทคโนโลยีที่เพิ่มเข้าไปใน  Packet Filtering  โดยในการพิจารณาว่าจะยอมให้แพ็กเก็ตผ่านไปนั้น แทนที่จะดูข้อมูลจากเฮดเดอร์เพียงอย่างเดียว
จบแร้วคราฟฟ

More Related Content

What's hot

ไอทีกับแนวโน้มโลก
ไอทีกับแนวโน้มโลกไอทีกับแนวโน้มโลก
ไอทีกับแนวโน้มโลกPrince Of Songkla University
 
เนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศ
เนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศเนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศ
เนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศ
Nattayaporn Dokbua
 
ของเฟริส วิชาคอม
ของเฟริส วิชาคอมของเฟริส วิชาคอม
ของเฟริส วิชาคอม
SK Khongthawonjaronekij
 
Comm
CommComm
Comm (1)
Comm (1)Comm (1)
การแลกเปลี่ยนข้อมูล และ การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การแลกเปลี่ยนข้อมูล และ การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการแลกเปลี่ยนข้อมูล และ การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การแลกเปลี่ยนข้อมูล และ การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตMareeyalosocity
 
ไอทีกับแนวโน้มโลก
ไอทีกับแนวโน้มโลกไอทีกับแนวโน้มโลก
ไอทีกับแนวโน้มโลกPangpond
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต (pdf)
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต (pdf)ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต (pdf)
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต (pdf)
_Inghz
 

What's hot (9)

ไอทีกับแนวโน้มโลก
ไอทีกับแนวโน้มโลกไอทีกับแนวโน้มโลก
ไอทีกับแนวโน้มโลก
 
เนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศ
เนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศเนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศ
เนื้อหาบทเรียนเรื่อง การจัดการสารสนเทศ
 
ของเฟริส วิชาคอม
ของเฟริส วิชาคอมของเฟริส วิชาคอม
ของเฟริส วิชาคอม
 
3
33
3
 
Comm
CommComm
Comm
 
Comm (1)
Comm (1)Comm (1)
Comm (1)
 
การแลกเปลี่ยนข้อมูล และ การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การแลกเปลี่ยนข้อมูล และ การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ตการแลกเปลี่ยนข้อมูล และ การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การแลกเปลี่ยนข้อมูล และ การสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
 
ไอทีกับแนวโน้มโลก
ไอทีกับแนวโน้มโลกไอทีกับแนวโน้มโลก
ไอทีกับแนวโน้มโลก
 
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต (pdf)
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต (pdf)ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต (pdf)
ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต (pdf)
 

Viewers also liked

Skema jawapan peperiksaan percubaan pmr
Skema jawapan peperiksaan percubaan pmrSkema jawapan peperiksaan percubaan pmr
Skema jawapan peperiksaan percubaan pmrpugaib
 
Psion vs win ce
Psion vs  win ce Psion vs  win ce
Psion vs win ce
Surapol Imi
 
ใบความรู้ที่ 4-3 ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล
ใบความรู้ที่ 4-3 ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูลใบความรู้ที่ 4-3 ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล
ใบความรู้ที่ 4-3 ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูลNattapon
 
宜蘭壯志
宜蘭壯志宜蘭壯志
宜蘭壯志
fhm888
 
งานนำเสนอ1พ้อยbbbb
งานนำเสนอ1พ้อยbbbbงานนำเสนอ1พ้อยbbbb
งานนำเสนอ1พ้อยbbbb
Suchada Tasri
 
ข้อสอบโอเน็ตภาษาไทย ปี54
ข้อสอบโอเน็ตภาษาไทย ปี54ข้อสอบโอเน็ตภาษาไทย ปี54
ข้อสอบโอเน็ตภาษาไทย ปี54Soraya Khamfu
 
ใบงานท 6 ตาราง 1
ใบงานท   6 ตาราง 1 ใบงานท   6 ตาราง 1
ใบงานท 6 ตาราง 1
Suchada Tasri
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษาPl'nice Destiny
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Mint Thananya
 
Ekonomi dan bisnis
Ekonomi dan bisnisEkonomi dan bisnis
Ekonomi dan bisnis
Yodi Permana
 
Fram
FramFram
Bitácoras de laboratorio
Bitácoras de laboratorio Bitácoras de laboratorio
Bitácoras de laboratorio
XANTIX
 
Grafica de barras
Grafica de barras Grafica de barras
Grafica de barras
XANTIX
 

Viewers also liked (18)

Skema jawapan peperiksaan percubaan pmr
Skema jawapan peperiksaan percubaan pmrSkema jawapan peperiksaan percubaan pmr
Skema jawapan peperiksaan percubaan pmr
 
2
22
2
 
Psion vs win ce
Psion vs  win ce Psion vs  win ce
Psion vs win ce
 
ใบความรู้ที่ 4-3 ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล
ใบความรู้ที่ 4-3 ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูลใบความรู้ที่ 4-3 ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล
ใบความรู้ที่ 4-3 ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Pat2
Pat2Pat2
Pat2
 
宜蘭壯志
宜蘭壯志宜蘭壯志
宜蘭壯志
 
งานนำเสนอ1พ้อยbbbb
งานนำเสนอ1พ้อยbbbbงานนำเสนอ1พ้อยbbbb
งานนำเสนอ1พ้อยbbbb
 
ข้อสอบโอเน็ตภาษาไทย ปี54
ข้อสอบโอเน็ตภาษาไทย ปี54ข้อสอบโอเน็ตภาษาไทย ปี54
ข้อสอบโอเน็ตภาษาไทย ปี54
 
ข่าว It
ข่าว  Itข่าว  It
ข่าว It
 
ใบงานท 6 ตาราง 1
ใบงานท   6 ตาราง 1 ใบงานท   6 ตาราง 1
ใบงานท 6 ตาราง 1
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษา
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
6
66
6
 
Ekonomi dan bisnis
Ekonomi dan bisnisEkonomi dan bisnis
Ekonomi dan bisnis
 
Fram
FramFram
Fram
 
Bitácoras de laboratorio
Bitácoras de laboratorio Bitácoras de laboratorio
Bitácoras de laboratorio
 
Grafica de barras
Grafica de barras Grafica de barras
Grafica de barras
 

Similar to กิตติศักดื

การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เนต
การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เนตการทำธุรกรรมทางอินเตอร์เนต
การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เนตKittisak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วfrankenjay
 
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ตคุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ต
ohhomm
 
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัยMeaw Sukee
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
kanokwan8941
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sendai' Toktak
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
Jenchoke Tachagomain
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
Jenchoke Tachagomain
 
Lanlana chunstikul
Lanlana chunstikulLanlana chunstikul
Lanlana chunstikul
Lanlana Chunsantikul
 
โครงงานคอมพิวเตอร์กะเปอร์วิทยา
โครงงานคอมพิวเตอร์กะเปอร์วิทยาโครงงานคอมพิวเตอร์กะเปอร์วิทยา
โครงงานคอมพิวเตอร์กะเปอร์วิทยา
Natthapong Kaewprapan
 
Computer for CIO
Computer for CIOComputer for CIO
Computer for CIO
Boonlert Aroonpiboon
 
Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure
Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure
Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure
Thanakitt Kayangarnnavy
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 
งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2sawitri555
 
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตบริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
burin rujjanapan
 

Similar to กิตติศักดื (20)

การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เนต
การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เนตการทำธุรกรรมทางอินเตอร์เนต
การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เนต
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
3
33
3
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
 
Technology1
Technology1Technology1
Technology1
 
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ตคุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ต
 
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
Lanlana chunstikul
Lanlana chunstikulLanlana chunstikul
Lanlana chunstikul
 
โครงงานคอมพิวเตอร์กะเปอร์วิทยา
โครงงานคอมพิวเตอร์กะเปอร์วิทยาโครงงานคอมพิวเตอร์กะเปอร์วิทยา
โครงงานคอมพิวเตอร์กะเปอร์วิทยา
 
Computer for CIO
Computer for CIOComputer for CIO
Computer for CIO
 
Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure
Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure
Digital Thailand magazine vol.2 : Infrastructure
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2
 
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตบริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
 

กิตติศักดื

  • 1. การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เน็ต จัดทำโดย นายกิตติศักดิ์ ปิ่นนาค นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 / 1 โรงเรียนสวีวิทยา จ . ชุมพร
  • 2. ในยุคที่ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวันของคนทั่วไป นอกจากการสืบเสาะค้นหาข้อมูลข่าวสาร ติดต่อ    สื่อสาร และกระทั่งการใช้เพื่อความบันเทิงแล้ว ปัจจุบันการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการทางอินเตอร์เน็ต หรือที่เรียกอีกอย่างว่า การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เน็ต ( E - Commerce ) ไฟร์วอลล์มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการปกป้องเครือข่ายและระบบคอมพิวเตอร์สำหรับธุรกิจและผู้ใช้งานตามบ้าน ซึ่งในปัจจุบันไฟร์วอลล์มีอยู่สองรูปแบบที่เด่นชัด คือ ไฟร์วอลล์ที่อยู่บนโฮสต์ซึ่งป้องกันคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง และไฟร์วอลล์ที่อยู่บนเครือข่ายซึ่งวางอยู่ในตำแหน่งจุดเชื่อมต่อที่สำคัญของเครือข่าย โดยองค์กรขนาดใหญ่จะใช้ไฟร์วอลล์ที่อยู่บนเครือข่ายเป็นส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม แม้แต่องค์กรขนาดใหญ่ที่วางระบบรักษาความปลอดภัยไว้อย่างดี ก็ควรจะมีไฟร์วอลล์ที่อยู่บนโฮสต์ด้วย เพื่อเป็นเกราะคุ้มกันชั้นที่สองหากมีเวิร์มหรือทราฟิกที่มุ่งร้ายอื่นๆ หลุดรอดจากไฟร์วอลล์หลักที่อยู่บนเครือข่าย ความรู้เกี่ยวกับไฟร์วอลล์ ( Firewall )
  • 3. สิ่งที่ไฟร์วอลล์ช่วยได้ - บังคับใช้นโยบายด้านความปลอดภัย โดยการ กำหนดกฎให้กับไฟร์วอลล์ว่าจะอนุญาตหรือไม่ให้ใช้เซอร์วิสชนิดใด - ทำให้การพิจารณาดูแลและการตัดสินใจด้านความปลอดภัยของระบบเป็นไปได้ง่ายขึ้น เนื่องจากการติดต่อทุกชนิดกับเน็ตเวิร์กภายนอกจะต้องผ่านไฟร์วอลล์ การดูแลที่จุดนี้เป็นการดูแลความปลอดภัยในระดับของเน็ตเวิร์ก ( Network - based Security ) - บันทึกข้อมูล กิจกรรมต่างๆ ที่ผ่านเข้าออกเน็ตเวิร์กได้อย่างมีประสิทธิภาพ - ป้องกันเน็ตเวิร์กบางส่วนจากการเข้าถึงของเน็ตเวิร์กภายนอก เช่นถ้าหากเรามีบางส่วนที่ต้องการให้ภายนอกเข้ามาใช้เซอร์วิส ( เช่น ถ้ามีเว็บเซิร์ฟเวอร์ ) แต่ส่วนที่เหลือไม่ต้องการให้ภายนอกเข้ามากรณีเช่นนี้เราสามารถใช้ไฟร์วอลล์ช่วยได้ - ไฟร์วอลล์บางชนิดสามารถป้องกันไวรัสได้ โดยจะทำการตรวจไฟล์ที่โอนย้ายผ่านทางโปรโตคอล HTTP, FTP และ SMTP
  • 4. อะไรที่ไฟร์วอลล์ช่วยไม่ได้ - อันตรายที่เกิดจากเน็ตเวิร์กภายใน ไม่สามารถป้องกันได้เนื่องจากอยู่ภายในเน็ตเวิร์กเอง ไม่ได้ผ่านไฟร์วอลล์เข้ามา - อันตรายจากภายนอกที่ไม่ได้ผ่านเข้ามาทางไฟร์วอลล์ เช่นการ Dial - up เข้ามายังเน็ตเวิร์กภายในโดยตรงโดยไม่ได้ผ่านไฟร์วอลล์ - อันตรายจากวิธีใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น ทุกวันนี้มีการพบช่องโหว่ใหม่ๆ เกิดขึ้นทุกวัน เราไม่สามารถไว้ใจไฟร์วอลล์โดยการติดตั้งเพียงครั้งเดียวแล้วก็หวังให้มันปลอดภัยตลอดไป เราต้องมีการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ - ไวรัส ถึงแม้จะมีไฟร์วอลล์บางชนิดที่สามารถป้องกันไวรัสได้ แต่ก็ยังไม่มีไฟร์วอลล์ชนิดใดที่สามารถตรวจสอบไวรัสได้ในทุกๆ โปรโตคอล
  • 5. ชนิดของไฟร์วอลล์ แบ่งตามเทคโนโลยีที่ใช้ในการตรวจสอบและควบคุม ได้แก่ 1 . Packet Filtering คือเราเตอร์ที่ทำการหาเส้นทางและส่งต่ออย่างมีเงื่อนไข โดยจะพิจารณาจากข้อมูลส่วนที่อยู่ในเฮดเดอร์ของแพ็กเก็ตที่ผ่านเข้ามา เทียบกับกฎที่กำหนดไว้ และตัดสินว่าควรจะทิ้งแพ็กเก็ตนั้นไปหรือว่าจะยอมให้แพ็กเก็ตนั้นผ่านไปได้ 2 . Proxy หรือ Application Gateway เป็นโปรแกรมที่ทำงานอยู่บนไฟร์วอลล์ที่ตั้งอยู่ระหว่างเน็ตเวิร์ก 2 เน็ตเวิร์ก ทำหน้าที่เพิ่มความปลอดภัยของระบบเน็ตเวิร์ก โดยการควบคุมการเชื่อมต่อระหว่างเน็ตเวิร์กภายในและภายนอก Proxy จะช่วยเพิ่มความปลอดภัยได้มาก เนื่องจากมีการตรวจสอบข้อมูลถึงในระดับของแอพพลิเคชันเลเยอร์ 3 . Stateful Inspection เป็นเทคโนโลยีที่เพิ่มเข้าไปใน Packet Filtering โดยในการพิจารณาว่าจะยอมให้แพ็กเก็ตผ่านไปนั้น แทนที่จะดูข้อมูลจากเฮดเดอร์เพียงอย่างเดียว