SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เน็ต นายกิตติศักดิ์  ปิ่นนาค นักเรียนชั้นม . 6 / 1  โรงเรียนสวีวิทยา   โดย ...
ความรู้เกี่ยวกับไฟร์วอลล์  ( Firewall )  ในยุคที่ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวันของคนทั่วไป นอกจากการสืบเสาะค้นหาข้อมูลข่าวสาร ติดต่อ     สื่อสาร และกระทั่งการใช้เพื่อความบันเทิงแล้ว ปัจจุบันการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการทางอินเตอร์เน็ต หรือที่เรียกอีกอย่างว่า การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เน็ต  ( E - Commerce )
ไฟร์วอลล์มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการปกป้องเครือข่ายและระบบคอมพิวเตอร์สำหรับธุรกิจและผู้ใช้งานตามบ้าน ซึ่งในปัจจุบันไฟร์วอลล์มีอยู่สองรูปแบบที่เด่นชัด คือ ไฟร์วอลล์ที่อยู่บนโฮสต์ซึ่งป้องกันคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง และไฟร์วอลล์ที่อยู่บนเครือข่ายซึ่งวางอยู่ในตำแหน่งจุดเชื่อมต่อที่สำคัญของเครือข่าย โดยองค์กรขนาดใหญ่จะใช้ไฟร์วอลล์ที่อยู่บนเครือข่ายเป็นส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม แม้แต่องค์กรขนาดใหญ่ที่วางระบบรักษาความปลอดภัยไว้อย่างดี ก็ควรจะมีไฟร์วอลล์ที่อยู่บนโฮสต์ด้วย เพื่อเป็นเกราะคุ้มกันชั้นที่สองหากมีเวิร์มหรือทราฟิกที่มุ่งร้ายอื่นๆ หลุดรอดจากไฟร์วอลล์หลักที่อยู่บนเครือข่าย
สิ่งที่ไฟร์วอลล์ช่วยได้ -  บังคับใช้นโยบายด้านความปลอดภัย โดยการ กำหนดกฎให้กับไฟร์วอลล์ว่าจะอนุญาตหรือไม่ให้ใช้เซอร์วิสชนิดใด -  ทำให้การพิจารณาดูแลและการตัดสินใจด้านความปลอดภัยของระบบเป็นไปได้ง่ายขึ้น เนื่องจากการติดต่อทุกชนิดกับเน็ตเวิร์กภายนอกจะต้องผ่านไฟร์วอลล์ การดูแลที่จุดนี้เป็นการดูแลความปลอดภัยในระดับของเน็ตเวิร์ก  ( Network - based Security ) -  บันทึกข้อมูล กิจกรรมต่างๆ ที่ผ่านเข้าออกเน็ตเวิร์กได้อย่างมีประสิทธิภาพ -  ป้องกันเน็ตเวิร์กบางส่วนจากการเข้าถึงของเน็ตเวิร์กภายนอก เช่นถ้าหากเรามีบางส่วนที่ต้องการให้ภายนอกเข้ามาใช้เซอร์วิส  ( เช่น ถ้ามีเว็บเซิร์ฟเวอร์ )  แต่ส่วนที่เหลือไม่ต้องการให้ภายนอกเข้ามากรณีเช่นนี้เราสามารถใช้ไฟร์วอลล์ช่วยได้ -  ไฟร์วอลล์บางชนิดสามารถป้องกันไวรัสได้ โดยจะทำการตรวจไฟล์ที่โอนย้ายผ่านทางโปรโตคอล  HTTP, FTP  และ  SMTP
อะไรที่ไฟร์วอลล์ช่วยไม่ได้ -  อันตรายที่เกิดจากเน็ตเวิร์กภายใน ไม่สามารถป้องกันได้เนื่องจากอยู่ภายในเน็ตเวิร์กเอง ไม่ได้ผ่านไฟร์วอลล์เข้ามา -  อันตรายจากภายนอกที่ไม่ได้ผ่านเข้ามาทางไฟร์วอลล์ เช่นการ  Dial - up  เข้ามายังเน็ตเวิร์กภายในโดยตรงโดยไม่ได้ผ่านไฟร์วอลล์ -  อันตรายจากวิธีใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น ทุกวันนี้มีการพบช่องโหว่ใหม่ๆ เกิดขึ้นทุกวัน เราไม่สามารถไว้ใจไฟร์วอลล์โดยการติดตั้งเพียงครั้งเดียวแล้วก็หวังให้มันปลอดภัยตลอดไป เราต้องมีการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ -  ไวรัส ถึงแม้จะมีไฟร์วอลล์บางชนิดที่สามารถป้องกันไวรัสได้ แต่ก็ยังไม่มีไฟร์วอลล์ชนิดใดที่สามารถตรวจสอบไวรัสได้ในทุกๆ โปรโตคอล
ชนิดของไฟร์วอลล์   แบ่งตามเทคโนโลยีที่ใช้ในการตรวจสอบและควบคุม ได้แก่ 1 .  Packet Filtering  คือเราเตอร์ที่ทำการหาเส้นทางและส่งต่ออย่างมีเงื่อนไข โดยจะพิจารณาจากข้อมูลส่วนที่อยู่ในเฮดเดอร์ของแพ็กเก็ตที่ผ่านเข้ามา เทียบกับกฎที่กำหนดไว้ และตัดสินว่าควรจะทิ้งแพ็กเก็ตนั้นไปหรือว่าจะยอมให้แพ็กเก็ตนั้นผ่านไปได้ 2 .  Proxy  หรือ  Application Gateway  เป็นโปรแกรมที่ทำงานอยู่บนไฟร์วอลล์ที่ตั้งอยู่ระหว่างเน็ตเวิร์ก  2   เน็ตเวิร์ก ทำหน้าที่เพิ่มความปลอดภัยของระบบเน็ตเวิร์ก โดยการควบคุมการเชื่อมต่อระหว่างเน็ตเวิร์กภายในและภายนอก  Proxy  จะช่วยเพิ่มความปลอดภัยได้มาก เนื่องจากมีการตรวจสอบข้อมูลถึงในระดับของแอพพลิเคชันเลเยอร์ 3 .  Stateful Inspection  เป็นเทคโนโลยีที่เพิ่มเข้าไปใน  Packet Filtering  โดยในการพิจารณาว่าจะยอมให้แพ็กเก็ตผ่านไปนั้น แทนที่จะดูข้อมูลจากเฮดเดอร์เพียงอย่างเดียว
จบแร้วคราฟฟ !!!

More Related Content

What's hot

เรื่อง ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
เรื่อง ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต เรื่อง ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
เรื่อง ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
ppnd18
 
ไอทีกับแนวโน้มโลก
ไอทีกับแนวโน้มโลกไอทีกับแนวโน้มโลก
ไอทีกับแนวโน้มโลก
Pangpond
 

What's hot (9)

เรื่อง ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
เรื่อง ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต เรื่อง ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
เรื่อง ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
เรื่อง ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต-1
เรื่อง ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต-1เรื่อง ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต-1
เรื่อง ลักษณะของการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต-1
 
ไอทีกับแนวโน้มโลก
ไอทีกับแนวโน้มโลกไอทีกับแนวโน้มโลก
ไอทีกับแนวโน้มโลก
 
งาน
งานงาน
งาน
 
การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต
 
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
การเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
 
งาน
งานงาน
งาน
 
ฉลาดรู้เน็ต 1 ตอน internet of things
ฉลาดรู้เน็ต 1 ตอน internet of thingsฉลาดรู้เน็ต 1 ตอน internet of things
ฉลาดรู้เน็ต 1 ตอน internet of things
 

Similar to การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เน็ต

กิตติศักดื
กิตติศักดืกิตติศักดื
กิตติศักดื
Kittisak
 
กิตติศักดื
กิตติศักดืกิตติศักดื
กิตติศักดื
Kittisak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
frankenjay
 
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
Meaw Sukee
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
เขมิกา กุลาศรี
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
Beam Iemsumang
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
Beam Iemsumang
 

Similar to การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เน็ต (20)

กิตติศักดื
กิตติศักดืกิตติศักดื
กิตติศักดื
 
กิตติศักดื
กิตติศักดืกิตติศักดื
กิตติศักดื
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
3
33
3
 
3
33
3
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
 
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตบริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
 
Ch02
Ch02Ch02
Ch02
 
ฉลาดรู้เน็ต 1 ตอน Internet of Things (IoT)
ฉลาดรู้เน็ต 1 ตอน Internet of Things (IoT)ฉลาดรู้เน็ต 1 ตอน Internet of Things (IoT)
ฉลาดรู้เน็ต 1 ตอน Internet of Things (IoT)
 
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
3.3 การใช้อินเทอร์เน็ตให้ปลอดภัย
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
โครงงานคอมพิวเตอร์กะเปอร์วิทยา
โครงงานคอมพิวเตอร์กะเปอร์วิทยาโครงงานคอมพิวเตอร์กะเปอร์วิทยา
โครงงานคอมพิวเตอร์กะเปอร์วิทยา
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
 
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
 
ความปลอดภัยบน Wi fi
ความปลอดภัยบน Wi fiความปลอดภัยบน Wi fi
ความปลอดภัยบน Wi fi
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 

การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เน็ต

  • 1. การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เน็ต นายกิตติศักดิ์ ปิ่นนาค นักเรียนชั้นม . 6 / 1 โรงเรียนสวีวิทยา โดย ...
  • 2. ความรู้เกี่ยวกับไฟร์วอลล์ ( Firewall ) ในยุคที่ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวันของคนทั่วไป นอกจากการสืบเสาะค้นหาข้อมูลข่าวสาร ติดต่อ    สื่อสาร และกระทั่งการใช้เพื่อความบันเทิงแล้ว ปัจจุบันการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการทางอินเตอร์เน็ต หรือที่เรียกอีกอย่างว่า การทำธุรกรรมทางอินเตอร์เน็ต ( E - Commerce )
  • 3. ไฟร์วอลล์มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการปกป้องเครือข่ายและระบบคอมพิวเตอร์สำหรับธุรกิจและผู้ใช้งานตามบ้าน ซึ่งในปัจจุบันไฟร์วอลล์มีอยู่สองรูปแบบที่เด่นชัด คือ ไฟร์วอลล์ที่อยู่บนโฮสต์ซึ่งป้องกันคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง และไฟร์วอลล์ที่อยู่บนเครือข่ายซึ่งวางอยู่ในตำแหน่งจุดเชื่อมต่อที่สำคัญของเครือข่าย โดยองค์กรขนาดใหญ่จะใช้ไฟร์วอลล์ที่อยู่บนเครือข่ายเป็นส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม แม้แต่องค์กรขนาดใหญ่ที่วางระบบรักษาความปลอดภัยไว้อย่างดี ก็ควรจะมีไฟร์วอลล์ที่อยู่บนโฮสต์ด้วย เพื่อเป็นเกราะคุ้มกันชั้นที่สองหากมีเวิร์มหรือทราฟิกที่มุ่งร้ายอื่นๆ หลุดรอดจากไฟร์วอลล์หลักที่อยู่บนเครือข่าย
  • 4. สิ่งที่ไฟร์วอลล์ช่วยได้ - บังคับใช้นโยบายด้านความปลอดภัย โดยการ กำหนดกฎให้กับไฟร์วอลล์ว่าจะอนุญาตหรือไม่ให้ใช้เซอร์วิสชนิดใด - ทำให้การพิจารณาดูแลและการตัดสินใจด้านความปลอดภัยของระบบเป็นไปได้ง่ายขึ้น เนื่องจากการติดต่อทุกชนิดกับเน็ตเวิร์กภายนอกจะต้องผ่านไฟร์วอลล์ การดูแลที่จุดนี้เป็นการดูแลความปลอดภัยในระดับของเน็ตเวิร์ก ( Network - based Security ) - บันทึกข้อมูล กิจกรรมต่างๆ ที่ผ่านเข้าออกเน็ตเวิร์กได้อย่างมีประสิทธิภาพ - ป้องกันเน็ตเวิร์กบางส่วนจากการเข้าถึงของเน็ตเวิร์กภายนอก เช่นถ้าหากเรามีบางส่วนที่ต้องการให้ภายนอกเข้ามาใช้เซอร์วิส ( เช่น ถ้ามีเว็บเซิร์ฟเวอร์ ) แต่ส่วนที่เหลือไม่ต้องการให้ภายนอกเข้ามากรณีเช่นนี้เราสามารถใช้ไฟร์วอลล์ช่วยได้ - ไฟร์วอลล์บางชนิดสามารถป้องกันไวรัสได้ โดยจะทำการตรวจไฟล์ที่โอนย้ายผ่านทางโปรโตคอล HTTP, FTP และ SMTP
  • 5. อะไรที่ไฟร์วอลล์ช่วยไม่ได้ - อันตรายที่เกิดจากเน็ตเวิร์กภายใน ไม่สามารถป้องกันได้เนื่องจากอยู่ภายในเน็ตเวิร์กเอง ไม่ได้ผ่านไฟร์วอลล์เข้ามา - อันตรายจากภายนอกที่ไม่ได้ผ่านเข้ามาทางไฟร์วอลล์ เช่นการ Dial - up เข้ามายังเน็ตเวิร์กภายในโดยตรงโดยไม่ได้ผ่านไฟร์วอลล์ - อันตรายจากวิธีใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น ทุกวันนี้มีการพบช่องโหว่ใหม่ๆ เกิดขึ้นทุกวัน เราไม่สามารถไว้ใจไฟร์วอลล์โดยการติดตั้งเพียงครั้งเดียวแล้วก็หวังให้มันปลอดภัยตลอดไป เราต้องมีการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ - ไวรัส ถึงแม้จะมีไฟร์วอลล์บางชนิดที่สามารถป้องกันไวรัสได้ แต่ก็ยังไม่มีไฟร์วอลล์ชนิดใดที่สามารถตรวจสอบไวรัสได้ในทุกๆ โปรโตคอล
  • 6. ชนิดของไฟร์วอลล์ แบ่งตามเทคโนโลยีที่ใช้ในการตรวจสอบและควบคุม ได้แก่ 1 . Packet Filtering คือเราเตอร์ที่ทำการหาเส้นทางและส่งต่ออย่างมีเงื่อนไข โดยจะพิจารณาจากข้อมูลส่วนที่อยู่ในเฮดเดอร์ของแพ็กเก็ตที่ผ่านเข้ามา เทียบกับกฎที่กำหนดไว้ และตัดสินว่าควรจะทิ้งแพ็กเก็ตนั้นไปหรือว่าจะยอมให้แพ็กเก็ตนั้นผ่านไปได้ 2 . Proxy หรือ Application Gateway เป็นโปรแกรมที่ทำงานอยู่บนไฟร์วอลล์ที่ตั้งอยู่ระหว่างเน็ตเวิร์ก 2 เน็ตเวิร์ก ทำหน้าที่เพิ่มความปลอดภัยของระบบเน็ตเวิร์ก โดยการควบคุมการเชื่อมต่อระหว่างเน็ตเวิร์กภายในและภายนอก Proxy จะช่วยเพิ่มความปลอดภัยได้มาก เนื่องจากมีการตรวจสอบข้อมูลถึงในระดับของแอพพลิเคชันเลเยอร์ 3 . Stateful Inspection เป็นเทคโนโลยีที่เพิ่มเข้าไปใน Packet Filtering โดยในการพิจารณาว่าจะยอมให้แพ็กเก็ตผ่านไปนั้น แทนที่จะดูข้อมูลจากเฮดเดอร์เพียงอย่างเดียว