SlideShare a Scribd company logo
เสนองานวิชา มนุษย์กับการสร้างสรรค์ (Man and Creativity) กลุ่มที่   35
รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่   35 นางสาวฐิติพร คงทน 07520404 นางสาวสุวิสา เขตศิริสุข 07520446 นางสาวศรวณีย์ ภู่ภูมิรัตน์ 07520811 นางสาวประภัสราภรณ์ แสงอุทัย 07520415 นางสาวกรวิภา อยู่สุข 07520638 นายทินรัตน์ ปานธรรม 09521537 นายปิยะณัฐ  มณีน่วม 07520774 นายนววิธ  โลกนิยม 09521552 นายสราวุฒิ  ประจวบวัน  09521609 นายณรงค์ฤทธิ์  สีคำวัน 09521528
 
แรงบันดาลใจ เนื่องจากเห็นการเต้นแอโรบิคในทับแก้ว  ที่มีทั้งนักศึกในมหาวิทยาลัยศิลปากรและบุคคลอื่นๆมาเต้นแอโรบิค  จึงอยากจะสำรวจปริมาณนักศึกษาในมหาวิทยาลัยศิลปากรทับแก้วมาเต้นแอโรบิคมากน้อยเพียงใด
ขั้นตอนการทำงาน 1.  แบ่งงานให้เพื่อนๆในกลุ่มไปเก็บข้อมูล 2.  แจกแบบสำรวจให้นักศึกษาในทับแก้วเพื่อนำมาเป็นข้อมูล 3.  รวบรวมข้อมูลที่ได้มาแล้วเลือกข้อมูลที่ดีที่สุดมาทำรายงาน
แอ โรบิค เกิดขึ้นเมื่อ  26  ปี มาแล้ว โดย  DR. Kenneth H.Cooper  ได้เขียนเป็นตำราเรื่อง  AEROBICS  กล่าวไว้ว่า แอโรบิคเป็นการออกกำลังกายชนิดหนึ่งชื่อว่า  AEROBICS EXERCISE  หมายถึง การออกกำลังกายที่เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานให้สัมพันธ์กันระหว่างระบบไหล เวียนโลหิตกับปอดใช้ออกซิเจนอย่างสม่ำเสมอ ทำให้เกิดการเผาผลาญพลังงานอย่างเต็มที่ กระตุ้นให้ร่างกายผลิตเซลล์เม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้นทำหน้าที่เป็นภูมิคุ้มกัน โรคต่างๆได้ ดังนั้นการเต้นแอโรบิค  ( AREOBIC DANCING)  จึงนับเป็นการออกกำลังกายประเภทแอโรบิคอีกชนิดหนึ่ง ประวัติความเป็นมาของแอโรบิค
เบื้องหลังความ สำเร็จของการเต้นแอโรบิคได้รับการกล่าวถึงเป็นหนังสือ ชื่อ  Aerobic Dancing  โดย  Jacki Sorensen  ว่า กีฬาเต้นแอโรบิค ได้รับความนิยมสูงสุดที่ประเทศสหรัฐอเมริกา จัดให้มีการเต้นแอโรบิคภายในสตูดิโอหรือ โรงยิมโดยรับเอาต้นแบบการเต้นแอโรบิคประกอบ ดนตรีแบบอาหรับ จากนั้นกีฬาการเต้นแอโรบิคปรับเปลี่ยนให้ทันสมัยเข้ากับจังหวะดนตรี ในปัจจุบันด้วยวิธีนับจังหวะบีทเพลงจึงทำให้การออกกำลังกายแบบเต้นแอโรบิ คทันสมัยและสนุกสนานอยู่เสมอ
การเต้นแอโรบิค แบ่งออกเป็น  3  ขั้นตอนดังนี้   1. อบอุ่นร่างกาย  ( Warm Up)  2. แอโรบิค ( Aerobic)  3. ผ่อนคลาย  ( Cool Down)  ขั้นตอนการเต้นแอโรบิค
1. สวมเสื้อผ้าให้กระชับ พอดีตัว เพื่อความคล่องตัว   2. อย่าสวมเสื้อผ้าหนาจนเกินไป เพราะจะทำให้อากาศถ่ายเทไม่  ดีพอ อับชื้น เป็นบ่อเกิดให้เป็นเชื้อราทางผิวหนัง หรือสิวตามตัวได้   3. สวมรองเท้าผ้าใบและถุงเท้าทุกครั้ง เพื่อป้องกันการบาดเจ็บของเท้า   4. เตรียมน้ำ  1  ขวด เอาไว้ดื่มแก้กระหายในเวลาพักแต่ละช่วง เพื่อป้องกันอาการขาดน้ำ อาจจะช็อกได้   5. เตรียมผ้าขนหนู  1  ผืนเอาไว้ซับเหงื่อ   การเตรียมตัวเพื่อการเต้นแอโรบิค
6. งดรับประทานอาหารก่อนการเต้นแอโรบิค  1.30-2.00  ชั่วโมง เนื่องจากอาจทำให้จุก เสียด อาเจียน ขณะเต้นแอโรบิคได้   7. ควร ปรึกษาแพทย์เพื่อให้ตรวจสอบความพร้อมของร่างกายและขอคำปรึกษาก่อนเริ่มเต้นฯ ในครั้งแรกๆ เนื่องจากการเต้นแอโรบิคอาจจะเป็นการออกกำลังกายที่ถือว่าหนักเกินไป สำหรับผู้ที่มีโรคประจำตัวบางโรค เช่น โรคหัวใจ หรือท่าบริหารบางท่าอาจจะทำให้ท่านบาดเจ็บได้ เช่นท่ากระโดด เมื่อข้อเข่าของท่านไม่แข็งแรง   8. ก่อนออกกำลังกายควรล้างเครื่องสำอางค์ หรือครีมบำรุงผิวออกให้หมดทุกครั้ง เพื่อเป็นการเปิดผิว เวลาออกกำลังกาย เหงื่อจะได้ระบายออกได้โดยสะดวก สิ่งสกปรกไม่อุดตันรูขุมขน ผิวพรรณจะสดใส
ก่อน เต้นแอโรบิคควรทราบเคล็ดไม่ลับของนักเต้นแอโรบิคที่ใช้อยู่เป็นประจำกันก่อน จะช่วยให้นักเต้นแอามารถเต้นแอโรบิคได้สนุกและต่อเนื่อง เคล็ดลับของการเต้นแอโรบิคมีดังนี้ เวลาที่ใช้ในการเต้นแอโรบิคประมาณ  45 - 50  นาที 1 . ช่วงแรกก่อนเต้นแอโรบิค ควรทำการอบอุ่นร่างกาย โดยการยืด เหยียด กล้ามเนื้อทุกส่วน เป็นเวลา  5-10  นาที 2 . ช่วงที่สองเข้าสู่แอโรบิค การเต้นตามจังหวะเพลงจะเริ่มหนักขึ้น เพื่อออกกระตุ้นกล้ามเนื้อทุกส่วน ใช้เวลา  15 -20  นาที 3 . ช่วงสุดท้ายผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ก่อนสิ้นสุดการเต้นแอโรบิคจะต้องมีท่าผ่อนคลายกล้ามเนื้อที่ล้าเพราะการเต้น โดยการยืด เหยียด กล้ามเนื้อทุกส่วน เป็นเวลา  5-15  นาที เคล็ดลับการเต้นแอโรบิค
การเต้นแอโรบิคเองมีข้อจำกัดเหมือนกับ กีฬาชนิดอื่นๆ โดยเฉพาะท่าที่จะใช้นำมาเต้นออกกำลังกายกับจังหวะเพลงมีมากไม่จำกัดท่า หากเลือกท่าที่ใช้เต้นไม่ถูกต้องแล้วต้องเกิดการบาดเจ็บต่อผู้เต้นแอโรบิคอย่างแน่นอน  นอกจากนั้นยังมีข้อควรระวังอื่นๆ อีก ผู้ที่เต้นแอโรบิคพึงทราบข้อควรระวังดังนี้ - ท่าอันตรายที่ไม่ควรนำมาใช้ 1.  ท่าที่เกี่ยวกับการ ย่อ ยืด กระตุกบริเวณหัวเข่า จะก่อให้เกิดการบาดเจ็บตรงข้อ ทำให้เป็นข้อเสื่อม 2 . ท่าที่เกี่ยวกับกระดูกสันหลัง เช่น การบริหารหน้าอกห้ามแอ่นหลัง มิฉะนั้นจะปวดหลังถาวร การบริหารหน้าอกที่ถูกต้องนั้นแขนควรตั้งขนานกับลำตัวตั้งฉากกับหัวไหล่ 3.  หลีกเลี่ยงการหมุนข้อต่อเชื่อมกับอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย ไม่ว่าจะคอ หรือ ข้อมือ ข้อเท้า ควรใช้วิธีเหยียด พับขึ้น พับลง มากกว่า ข้อควรระวังการเต้นแอโรบิค
การเต้นแอโรบิคอย่างเพียงพอและฝึกเป็นประจำสม่ำเสมอจะมีผลดีต่อร่างกายดังนี้   1. ระบบกล้ามเนื้อ ทำ ให้กล้ามเนื้อแข็งแรงขึ้น สามารถเกร็งและคลายตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการทำงานที่สมดุลกัน และทำให้รูปร่างสวยงามสมส่วนขึ้น เพราะว่าไขมันที่มาห่อหุ้มร่างกายอยู่ได้ถูกนำไปใช้เผาผลาญเป็นพลังงาน นอกจากนั้นยังจะช่วยทำให้มีการสะสมสารต้นกำเนิดพลังงานและสารที่เกี่ยวข้อง คือไกลโคลเจน เกลือแร่ ฯลฯ อีกด้วย   2. ระบบกระดูก ทำให้ข้อต่อและระบบประสาทสั่งงาน ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ   3. ระบบการไหลเวียนของโลหิต ทำ ให้หัวใจแข็งแรงขึ้น การสูบฉีดโลหิตไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกายได้ดีขึ้น หลอดเลือดต่างๆ มีความยืดหยุ่นดีขึ้น สามารถช่วยเพิ่มประมาณและคุณภาพของเม็ดเลือดแดง นอกจากนี้ยังจะช่วยทำให้ชีพจรและความดันโลหิตกลับเข้าสู่สภาพปกติได้อีกด้วย   ประโยชน์ของการเต้นแอโรบิค
4. ระบบการหายใจ ช่วยให้ทางเดินหายใจ ปอด และ กล้ามเนื้อหัวใจแข็งแรงขึ้น   5. ระบบเผาผลาญอาหารในร่างกาย ช่วย เพิ่มอัตราความเร็วของขบวนการเผาผลาญอาหารให้เป็นพลังงานของร่างกาย ช่วยทำลายเซลเสื่อมสภาพต่าง ๆ เพื่อเร่งให้ร่างกายสร้างเซลใหม่ๆ ขึ้นมาแทนที่ นอกจากนี้ ยังช่วยระบบย่อยอาหารให้ทำงานดีขึ้น นอนหลับสบาย เมื่อตื่นขึ้นจะรู้สึกกระปรี้กระเปร่า ทำงานได้อย่างกระฉับกระเฉง   6. ระบบควบคุม ช่วยทำให้ร่างกายปรับสมดุลของระบบประสาทอัติโนมัติและระบบต่อมไร้ท่อ ทำให้ร่างกายผลิตฮอร์โมนต่างๆ ออกมาอย่างเป็นปกติ   7. การทำงานร่วมกันของกล้ามเนื้อและระบบประสาท ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดของกล้ามเนื้อและเส้นประสาทสำหรับผู้ที่เคร่งเครียดกับการทำงานหนัก
8. บุคลิค การเคลื่อนไหว และการจัดระเบียบร่างกาย ทำ ให้ควบคุมร่างกายได้ดีขึ้น ร่างกายโดยรวมมีความอ่อนตัว และเคลื่อนไหวได้คล่องแคล่วขึ้น ทำให้อารมณ์เบิกบานและจิตใจแจ่มใส มีสง่าราศี   9. ร่างกายจะหลั่งสารเอ็นโดฟีน ซึ่งก่อให้เกิดความสุข เพราะว่าขณะออกกำลังกาย อย่างมีความสุข ไร้การแข่งขัน จึงไม่มีความเครียด ซึ่งต่างกับการออกกำลังกายที่เน้นการแข่งขัน การออกกำลังกายที่เน้นการแข่งขัน ร่างกายจะหลั่งสารคนละตัว มีชื่อว่า อดีนาลีน ซึ่งตัวนี้ จะก่อให้เกิดความเครียด ผลของการออกกำลังกายจะต่างกัน รูปร่างหน้าตาจะสดใสต่างกัน
 
 
 
สรุปแบบสอบถามจากนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร  100  คน จำนวนนักศึกษาที่เคยออกกำลังกายในแต่ละชั้นปี ชั้นปีที่  1  10  % ชั้นปีที่  2  34  % ชั้นปีที่  3  10  % ชั้นปีที่  4  5  % จำนวนนักศึกษาที่ไม่เคยออกกำลังกายในแต่ละชั้นปี ชั้นปีที่  1  8  % ชั้นปีที่  2  26% ชั้นปีที่  3  3  % ชั้นปีที่  4  4  %
 
สรุปแบบสอบถามนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร 100  คน จำนวนนักศึกษาแต่ละคณะที่เคยออกกำลังกายในทับแก้ว คณะอักษรศาสตร์ 5  % คณะศึกษาศาสตร์ 3  % คณะวิทยาศาสตร์ 24% คณะเภสัชศาสตร์ 4  % คณะวิศวกรรมศาสตร์ 23% จำนวนนักศึกษาแต่ละคณะที่ไม่เคยออกกำลังกายในทับแก้ว คณะอักษรศาสตร์ 3  % คณะศึกษาศาสตร์ 0  % คณะวิทยาศาสตร์ 12% คณะเภสัชศาสตร์ 3  % คณะวิศวกรรมศาสตร์ 21%

More Related Content

Similar to แอโรบิกในทับแก้ว

โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2nidkybynew
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2nidkybynew
 
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่guestcfd317
 
Step3 Tutorial by SWU book1
Step3 Tutorial by SWU book1Step3 Tutorial by SWU book1
Step3 Tutorial by SWU book1vora kun
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01Bunsita Baisang
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01Bunsita Baisang
 
การล้างตับ
การล้างตับการล้างตับ
การล้างตับNamaun
 
การออกกำลังสำหรับเด็กอ้วน
การออกกำลังสำหรับเด็กอ้วนการออกกำลังสำหรับเด็กอ้วน
การออกกำลังสำหรับเด็กอ้วน
Sumon Kananit
 
ระบบร่างกาย
ระบบร่างกายระบบร่างกาย
ระบบร่างกายAobinta In
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
Aphisit Aunbusdumberdor
 
83 เรื่องที่คุณยังไม่รู้ ทางวิทยาศาสตร์
83 เรื่องที่คุณยังไม่รู้ทางวิทยาศาสตร์83 เรื่องที่คุณยังไม่รู้ทางวิทยาศาสตร์
83 เรื่องที่คุณยังไม่รู้ ทางวิทยาศาสตร์
Loki Rem
 
พื้นฐานชีวิต 14.pptx
พื้นฐานชีวิต 14.pptxพื้นฐานชีวิต 14.pptx
พื้นฐานชีวิต 14.pptx
SunnyStrong
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4taem
 
พละ สุขะ
พละ สุขะ พละ สุขะ
พละ สุขะ Worawalanyrc
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
Tatsawan Khejonrak
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
Utai Sukviwatsirikul
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยOzone Thanasak
 

Similar to แอโรบิกในทับแก้ว (20)

โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2
 
โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2โยคะเพื่อสุขภาพ2
โยคะเพื่อสุขภาพ2
 
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
สุขภาพที่ดีเริ่มต้นที่
 
Excretory system ม.5
Excretory system ม.5Excretory system ม.5
Excretory system ม.5
 
Step3 Tutorial by SWU book1
Step3 Tutorial by SWU book1Step3 Tutorial by SWU book1
Step3 Tutorial by SWU book1
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01
 
50 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp0150 120929012936-phpapp01
50 120929012936-phpapp01
 
Rr rx
Rr rxRr rx
Rr rx
 
การล้างตับ
การล้างตับการล้างตับ
การล้างตับ
 
การออกกำลังสำหรับเด็กอ้วน
การออกกำลังสำหรับเด็กอ้วนการออกกำลังสำหรับเด็กอ้วน
การออกกำลังสำหรับเด็กอ้วน
 
ระบบร่างกาย
ระบบร่างกายระบบร่างกาย
ระบบร่างกาย
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบปัสสาวะ 2560
 
83 เรื่องที่คุณยังไม่รู้ ทางวิทยาศาสตร์
83 เรื่องที่คุณยังไม่รู้ทางวิทยาศาสตร์83 เรื่องที่คุณยังไม่รู้ทางวิทยาศาสตร์
83 เรื่องที่คุณยังไม่รู้ ทางวิทยาศาสตร์
 
พื้นฐานชีวิต 14.pptx
พื้นฐานชีวิต 14.pptxพื้นฐานชีวิต 14.pptx
พื้นฐานชีวิต 14.pptx
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4
 
พละ สุขะ
พละ สุขะ พละ สุขะ
พละ สุขะ
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วย
 

แอโรบิกในทับแก้ว

  • 2. รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่ 35 นางสาวฐิติพร คงทน 07520404 นางสาวสุวิสา เขตศิริสุข 07520446 นางสาวศรวณีย์ ภู่ภูมิรัตน์ 07520811 นางสาวประภัสราภรณ์ แสงอุทัย 07520415 นางสาวกรวิภา อยู่สุข 07520638 นายทินรัตน์ ปานธรรม 09521537 นายปิยะณัฐ มณีน่วม 07520774 นายนววิธ โลกนิยม 09521552 นายสราวุฒิ ประจวบวัน 09521609 นายณรงค์ฤทธิ์ สีคำวัน 09521528
  • 3.  
  • 4. แรงบันดาลใจ เนื่องจากเห็นการเต้นแอโรบิคในทับแก้ว ที่มีทั้งนักศึกในมหาวิทยาลัยศิลปากรและบุคคลอื่นๆมาเต้นแอโรบิค จึงอยากจะสำรวจปริมาณนักศึกษาในมหาวิทยาลัยศิลปากรทับแก้วมาเต้นแอโรบิคมากน้อยเพียงใด
  • 5. ขั้นตอนการทำงาน 1. แบ่งงานให้เพื่อนๆในกลุ่มไปเก็บข้อมูล 2. แจกแบบสำรวจให้นักศึกษาในทับแก้วเพื่อนำมาเป็นข้อมูล 3. รวบรวมข้อมูลที่ได้มาแล้วเลือกข้อมูลที่ดีที่สุดมาทำรายงาน
  • 6. แอ โรบิค เกิดขึ้นเมื่อ 26 ปี มาแล้ว โดย DR. Kenneth H.Cooper ได้เขียนเป็นตำราเรื่อง AEROBICS กล่าวไว้ว่า แอโรบิคเป็นการออกกำลังกายชนิดหนึ่งชื่อว่า AEROBICS EXERCISE หมายถึง การออกกำลังกายที่เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานให้สัมพันธ์กันระหว่างระบบไหล เวียนโลหิตกับปอดใช้ออกซิเจนอย่างสม่ำเสมอ ทำให้เกิดการเผาผลาญพลังงานอย่างเต็มที่ กระตุ้นให้ร่างกายผลิตเซลล์เม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้นทำหน้าที่เป็นภูมิคุ้มกัน โรคต่างๆได้ ดังนั้นการเต้นแอโรบิค ( AREOBIC DANCING) จึงนับเป็นการออกกำลังกายประเภทแอโรบิคอีกชนิดหนึ่ง ประวัติความเป็นมาของแอโรบิค
  • 7. เบื้องหลังความ สำเร็จของการเต้นแอโรบิคได้รับการกล่าวถึงเป็นหนังสือ ชื่อ Aerobic Dancing โดย Jacki Sorensen ว่า กีฬาเต้นแอโรบิค ได้รับความนิยมสูงสุดที่ประเทศสหรัฐอเมริกา จัดให้มีการเต้นแอโรบิคภายในสตูดิโอหรือ โรงยิมโดยรับเอาต้นแบบการเต้นแอโรบิคประกอบ ดนตรีแบบอาหรับ จากนั้นกีฬาการเต้นแอโรบิคปรับเปลี่ยนให้ทันสมัยเข้ากับจังหวะดนตรี ในปัจจุบันด้วยวิธีนับจังหวะบีทเพลงจึงทำให้การออกกำลังกายแบบเต้นแอโรบิ คทันสมัยและสนุกสนานอยู่เสมอ
  • 8. การเต้นแอโรบิค แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอนดังนี้ 1. อบอุ่นร่างกาย ( Warm Up) 2. แอโรบิค ( Aerobic) 3. ผ่อนคลาย ( Cool Down) ขั้นตอนการเต้นแอโรบิค
  • 9. 1. สวมเสื้อผ้าให้กระชับ พอดีตัว เพื่อความคล่องตัว 2. อย่าสวมเสื้อผ้าหนาจนเกินไป เพราะจะทำให้อากาศถ่ายเทไม่ ดีพอ อับชื้น เป็นบ่อเกิดให้เป็นเชื้อราทางผิวหนัง หรือสิวตามตัวได้ 3. สวมรองเท้าผ้าใบและถุงเท้าทุกครั้ง เพื่อป้องกันการบาดเจ็บของเท้า 4. เตรียมน้ำ 1 ขวด เอาไว้ดื่มแก้กระหายในเวลาพักแต่ละช่วง เพื่อป้องกันอาการขาดน้ำ อาจจะช็อกได้ 5. เตรียมผ้าขนหนู 1 ผืนเอาไว้ซับเหงื่อ การเตรียมตัวเพื่อการเต้นแอโรบิค
  • 10. 6. งดรับประทานอาหารก่อนการเต้นแอโรบิค 1.30-2.00 ชั่วโมง เนื่องจากอาจทำให้จุก เสียด อาเจียน ขณะเต้นแอโรบิคได้ 7. ควร ปรึกษาแพทย์เพื่อให้ตรวจสอบความพร้อมของร่างกายและขอคำปรึกษาก่อนเริ่มเต้นฯ ในครั้งแรกๆ เนื่องจากการเต้นแอโรบิคอาจจะเป็นการออกกำลังกายที่ถือว่าหนักเกินไป สำหรับผู้ที่มีโรคประจำตัวบางโรค เช่น โรคหัวใจ หรือท่าบริหารบางท่าอาจจะทำให้ท่านบาดเจ็บได้ เช่นท่ากระโดด เมื่อข้อเข่าของท่านไม่แข็งแรง 8. ก่อนออกกำลังกายควรล้างเครื่องสำอางค์ หรือครีมบำรุงผิวออกให้หมดทุกครั้ง เพื่อเป็นการเปิดผิว เวลาออกกำลังกาย เหงื่อจะได้ระบายออกได้โดยสะดวก สิ่งสกปรกไม่อุดตันรูขุมขน ผิวพรรณจะสดใส
  • 11. ก่อน เต้นแอโรบิคควรทราบเคล็ดไม่ลับของนักเต้นแอโรบิคที่ใช้อยู่เป็นประจำกันก่อน จะช่วยให้นักเต้นแอามารถเต้นแอโรบิคได้สนุกและต่อเนื่อง เคล็ดลับของการเต้นแอโรบิคมีดังนี้ เวลาที่ใช้ในการเต้นแอโรบิคประมาณ 45 - 50 นาที 1 . ช่วงแรกก่อนเต้นแอโรบิค ควรทำการอบอุ่นร่างกาย โดยการยืด เหยียด กล้ามเนื้อทุกส่วน เป็นเวลา 5-10 นาที 2 . ช่วงที่สองเข้าสู่แอโรบิค การเต้นตามจังหวะเพลงจะเริ่มหนักขึ้น เพื่อออกกระตุ้นกล้ามเนื้อทุกส่วน ใช้เวลา 15 -20 นาที 3 . ช่วงสุดท้ายผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ก่อนสิ้นสุดการเต้นแอโรบิคจะต้องมีท่าผ่อนคลายกล้ามเนื้อที่ล้าเพราะการเต้น โดยการยืด เหยียด กล้ามเนื้อทุกส่วน เป็นเวลา 5-15 นาที เคล็ดลับการเต้นแอโรบิค
  • 12. การเต้นแอโรบิคเองมีข้อจำกัดเหมือนกับ กีฬาชนิดอื่นๆ โดยเฉพาะท่าที่จะใช้นำมาเต้นออกกำลังกายกับจังหวะเพลงมีมากไม่จำกัดท่า หากเลือกท่าที่ใช้เต้นไม่ถูกต้องแล้วต้องเกิดการบาดเจ็บต่อผู้เต้นแอโรบิคอย่างแน่นอน นอกจากนั้นยังมีข้อควรระวังอื่นๆ อีก ผู้ที่เต้นแอโรบิคพึงทราบข้อควรระวังดังนี้ - ท่าอันตรายที่ไม่ควรนำมาใช้ 1. ท่าที่เกี่ยวกับการ ย่อ ยืด กระตุกบริเวณหัวเข่า จะก่อให้เกิดการบาดเจ็บตรงข้อ ทำให้เป็นข้อเสื่อม 2 . ท่าที่เกี่ยวกับกระดูกสันหลัง เช่น การบริหารหน้าอกห้ามแอ่นหลัง มิฉะนั้นจะปวดหลังถาวร การบริหารหน้าอกที่ถูกต้องนั้นแขนควรตั้งขนานกับลำตัวตั้งฉากกับหัวไหล่ 3. หลีกเลี่ยงการหมุนข้อต่อเชื่อมกับอวัยวะทุกส่วนของร่างกาย ไม่ว่าจะคอ หรือ ข้อมือ ข้อเท้า ควรใช้วิธีเหยียด พับขึ้น พับลง มากกว่า ข้อควรระวังการเต้นแอโรบิค
  • 13. การเต้นแอโรบิคอย่างเพียงพอและฝึกเป็นประจำสม่ำเสมอจะมีผลดีต่อร่างกายดังนี้ 1. ระบบกล้ามเนื้อ ทำ ให้กล้ามเนื้อแข็งแรงขึ้น สามารถเกร็งและคลายตัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการทำงานที่สมดุลกัน และทำให้รูปร่างสวยงามสมส่วนขึ้น เพราะว่าไขมันที่มาห่อหุ้มร่างกายอยู่ได้ถูกนำไปใช้เผาผลาญเป็นพลังงาน นอกจากนั้นยังจะช่วยทำให้มีการสะสมสารต้นกำเนิดพลังงานและสารที่เกี่ยวข้อง คือไกลโคลเจน เกลือแร่ ฯลฯ อีกด้วย 2. ระบบกระดูก ทำให้ข้อต่อและระบบประสาทสั่งงาน ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ระบบการไหลเวียนของโลหิต ทำ ให้หัวใจแข็งแรงขึ้น การสูบฉีดโลหิตไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกายได้ดีขึ้น หลอดเลือดต่างๆ มีความยืดหยุ่นดีขึ้น สามารถช่วยเพิ่มประมาณและคุณภาพของเม็ดเลือดแดง นอกจากนี้ยังจะช่วยทำให้ชีพจรและความดันโลหิตกลับเข้าสู่สภาพปกติได้อีกด้วย ประโยชน์ของการเต้นแอโรบิค
  • 14. 4. ระบบการหายใจ ช่วยให้ทางเดินหายใจ ปอด และ กล้ามเนื้อหัวใจแข็งแรงขึ้น 5. ระบบเผาผลาญอาหารในร่างกาย ช่วย เพิ่มอัตราความเร็วของขบวนการเผาผลาญอาหารให้เป็นพลังงานของร่างกาย ช่วยทำลายเซลเสื่อมสภาพต่าง ๆ เพื่อเร่งให้ร่างกายสร้างเซลใหม่ๆ ขึ้นมาแทนที่ นอกจากนี้ ยังช่วยระบบย่อยอาหารให้ทำงานดีขึ้น นอนหลับสบาย เมื่อตื่นขึ้นจะรู้สึกกระปรี้กระเปร่า ทำงานได้อย่างกระฉับกระเฉง 6. ระบบควบคุม ช่วยทำให้ร่างกายปรับสมดุลของระบบประสาทอัติโนมัติและระบบต่อมไร้ท่อ ทำให้ร่างกายผลิตฮอร์โมนต่างๆ ออกมาอย่างเป็นปกติ 7. การทำงานร่วมกันของกล้ามเนื้อและระบบประสาท ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดของกล้ามเนื้อและเส้นประสาทสำหรับผู้ที่เคร่งเครียดกับการทำงานหนัก
  • 15. 8. บุคลิค การเคลื่อนไหว และการจัดระเบียบร่างกาย ทำ ให้ควบคุมร่างกายได้ดีขึ้น ร่างกายโดยรวมมีความอ่อนตัว และเคลื่อนไหวได้คล่องแคล่วขึ้น ทำให้อารมณ์เบิกบานและจิตใจแจ่มใส มีสง่าราศี 9. ร่างกายจะหลั่งสารเอ็นโดฟีน ซึ่งก่อให้เกิดความสุข เพราะว่าขณะออกกำลังกาย อย่างมีความสุข ไร้การแข่งขัน จึงไม่มีความเครียด ซึ่งต่างกับการออกกำลังกายที่เน้นการแข่งขัน การออกกำลังกายที่เน้นการแข่งขัน ร่างกายจะหลั่งสารคนละตัว มีชื่อว่า อดีนาลีน ซึ่งตัวนี้ จะก่อให้เกิดความเครียด ผลของการออกกำลังกายจะต่างกัน รูปร่างหน้าตาจะสดใสต่างกัน
  • 16.  
  • 17.  
  • 18.  
  • 19. สรุปแบบสอบถามจากนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร 100 คน จำนวนนักศึกษาที่เคยออกกำลังกายในแต่ละชั้นปี ชั้นปีที่ 1 10 % ชั้นปีที่ 2 34 % ชั้นปีที่ 3 10 % ชั้นปีที่ 4 5 % จำนวนนักศึกษาที่ไม่เคยออกกำลังกายในแต่ละชั้นปี ชั้นปีที่ 1 8 % ชั้นปีที่ 2 26% ชั้นปีที่ 3 3 % ชั้นปีที่ 4 4 %
  • 20.  
  • 21. สรุปแบบสอบถามนักศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร 100 คน จำนวนนักศึกษาแต่ละคณะที่เคยออกกำลังกายในทับแก้ว คณะอักษรศาสตร์ 5 % คณะศึกษาศาสตร์ 3 % คณะวิทยาศาสตร์ 24% คณะเภสัชศาสตร์ 4 % คณะวิศวกรรมศาสตร์ 23% จำนวนนักศึกษาแต่ละคณะที่ไม่เคยออกกำลังกายในทับแก้ว คณะอักษรศาสตร์ 3 % คณะศึกษาศาสตร์ 0 % คณะวิทยาศาสตร์ 12% คณะเภสัชศาสตร์ 3 % คณะวิศวกรรมศาสตร์ 21%