SlideShare a Scribd company logo
จังหวัดเชียงใหม่
จังหวัดเชียงใหม่เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ
ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ และมีประชากร
1,655,642 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจานวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง
960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของพม่า
จังหวัดเชียงใหม่แบ่งการปกครองออกเป็น 25 อาเภอ
โดยมีอาเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552
มีการจัดตั้งอาเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอาเภอลาดับที่ 25ของจังหวัด และลาดับที่ 878 ของประเทศ
ซึ่งเป็นอาเภอล่าสุดของไทย อนึ่ง ราวปลายเดือนตุลาคม พ.ศ. 2555
สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ มีมติให้เสนอโครงการจัดตั้งอำเภอนันทบุรีเฉลิมพระเกียรติ
ต่อกระทรวงมหาดไทย
จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี
"คาเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม
และมีแหล่งท่องเที่ยวจานวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์
และกาลังพิจารณาสมัครเข้าเป็นนครสร้างสรรค์ของ HYPERLINK
"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%AA%
E0%B9%82%E0%B8%81" o "ยูเนสโก" ยูเนสโก้
ประวัติศาสตร์
พระบรมราชานุสาวรีย์สามกษัตริย์ คือ พญามังราย พญาร่วง (พ่อขุนรามคาแหง) และพญางาเมือง
เมืองเชียงใหม่มีชื่อปรากฏในตานานว่า "นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่" สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 1839
โดยพญามังรายเป็นผู้ทรงสร้าง มีอายุครบ 700 ปี ในปี พ.ศ. 2539
ในอดีตเชียงใหม่มีฐานะเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรนครรัฐอิสระ ชื่อว่า อาณาจักรล้านนา
ซึ่งปกครองโดยกษัตริย์ราชวงศ์มังราย ประมาณ 261 ปี (ระหว่าง พ.ศ. 1839-2101) กระทั่งในปี พ.ศ. 2101
เชียงใหม่ได้เสียเมืองให้แก่พระเจ้าบุเรงนองแห่งพม่า
และได้อยู่ภายใต้การปกครองของพม่ามานานกว่าสองร้อยปี จนถึงสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี
จึงได้มีการทาสงครามเพื่อขับไล่พม่าออกจากเมืองเชียงใหม่และเชียงแสนได้สาเร็จ
โดยการนาของเจ้ากาวิละและพระยาจ่าบ้าน
หลังจากนั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
สถาปนาเจ้ากาวิละขึ้นเป็นพระบรมราชาธิบดี ปกครองนครเชียงใหม่และเป็นประมุขแห่งราชวงศ์ทิพย์จักร
(ราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน) และต่อมา เจ้านายซึ่งเป็นเชื้อสายของพระเจ้ากาวิละ
ก็ได้ปกครองเมืองเชียงใหม่และหัวเมืองต่างๆ สืบต่อมา
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการปฏิรูปการปกครองหัวเมืองประเทศราช
โดยมีการจัดตั้งการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาล เรียกว่า "มณฑลพายัพ"
ต่อมาเชียงใหม่ได้มีการปรับปรุงการปกครองและยกฐานะขึ้นเป็น "จังหวัด" ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2476
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว จนถึงปัจจุบัน
ภูมิศาสตร์
ที่ตั้ง
จังหวัดเชียงใหม่ตั้งอยู่ ณ ละติจูด 16องศาเหนือ ลองติจูด 99 องศาตะวันออก
สูงจากระดับน้าทะเลประมาณ 310 เมตร ส่วนกว้างจากทิศตะวันตกจรดทิศตะวันออกประมาณ 138
กิโลเมตร ส่วนยาวจากทิศเหนือจรดทิศใต้ประมาณ 428กิโลเมตร ห่างจากกรุงเทพมหานคร 696 กิโลเมตร
อาณาเขตติดต่อ
 ทิศเหนือ ติดต่อกับรัฐฉานของประเทศพม่า โดยมีดอยผีปันน้าของดอยคา ดอยปกกลา ดอยหลักแต่ง
ดอยถ้าป่อง ดอยถ้วย ดอยผาวอก และดอยอ่างขางอันเป็นส่วนหนึ่งของทิวเขาแดนลาว
เป็นเส้นกั้นอาณาเขต
 ทิศใต้ ติดต่อกับอาเภอสามเงา อาเภอแม่ระมาด และอาเภอท่าสองยาง (จังหวัดตาก)
มีร่องน้าแม่ตื่นและดอยผีปันน้า ดอยเรี่ยม ดอยหลวงเป็นเส้นกั้นอาณาเขต
 ทิศตะวันออก ติดต่อกับอาเภอแม่ฟ้าหลวง อาเภอเมืองเชียงราย อาเภอแม่สรวย อาเภอเวียงป่าเป้า
(จังหวัดเชียงราย) อาเภอเมืองปาน อาเภอเมืองลาปาง (จังหวัดลาปาง) อาเภอบ้านธิ อาเภอเมืองลาพูน
อาเภอป่าซาง อาเภอเวียงหนองล่อง อาเภอบ้านโฮ่ง และอาเภอลี้ (จังหวัดลาพูน)
ส่วนที่ติดจังหวัดเชียงรายและลาปางมีร่องน้าลึกของแม่น้ากก สันปันน้าดอยซาง ดอยหลุมข้าว
ดอยแม่วัวน้อย ดอยวังผา และดอยแม่โตเป็นเส้นกั้นอาณาเขต
ส่วนที่ติดจังหวัดลาพูนมีดอยขุนห้วยหละ ดอยช้างสูง และร่องน้าแม่ปิงเป็นเส้นกั้นอาณาเขต
 ทิศตะวันตก ติดต่อกับอาเภอปาย อาเภอเมืองแม่ฮ่องสอน อาเภอขุนยวม อาเภอแม่ลาน้อย
อาเภอแม่สะเรียง และอาเภอสบเมย (จังหวัดแม่ฮ่องสอน) มีดอยผีปันน้า ดอยกิ่วแดง ดอยแปรเมือง
ดอยแม่ยะ ดอยอังเกตุ ดอยแม่สุรินทร์ ดอยขุนยวม ดอยหลวง และร่องแม่ริด แม่ออย
และดอยผีปันน้าดอยขุนแม่ตื่นเป็นเส้นกั้นอาณาเขต
จังหวัดเชียงใหม่มีชายแดนติดต่อกับประเทศพม่า ใน 5 อาเภอได้แก่อาเภอแม่อาย อาเภอฝาง
อาเภอเชียงดาว อาเภอเวียงแหง อาเภอไชยปราการ รวมระยะทางทั้งสิ้น 227 กิโลเมตร
พื้นที่เขตแดนส่วนใหญ่เป็นป่าเขา จึงไม่สามารถปักหลักเขตแดนได้ชัดเจน
และเกิดปัญหาเส้นเขตแดนระหว่างประเทศ
ภูมิประเทศ
สภาพภูมิประเทศของจังหวัดเชียงใหม่ส่วนใหญ่เป็นภูเขา
จังหวัดเชียงใหม่มีพื้นที่ 20,107.057 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 12,566,911 ไร่
มีพื้นที่กว้างใหญ่เป็นอันดับที่ 1 ของภาคเหนือ และเป็นอันดับ 2 ของประเทศ รองจากจังหวัดนครราชสีมา
ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปมีสภาพพื้นที่เป็นภูเขาและป่าละเมาะ
มีที่ราบอยู่ตอนกลางตามสองฟากฝั่งแม่น้าปิง มีภูเขาที่สูงที่สุดในประเทศไทยคือ ดอยอินทนนท์
สูงประมาณ 2,565.3355 เมตร อยู่ในเขตอาเภอจอมทอง
นอกจากนี้ยังมีดอยอื่นที่มีความสูงรองลงมาอีกหลายแห่ง เช่น ดอยผ้าห่มปก สูง 2,285 เมตร
ดอยหลวงเชียงดาว สูง 2,170 เมตร ดอยสุเทพ สูง 1,601 เมตร สภาพพื้นที่แบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะคือ
1.พื้นที่ภูเขำ ส่วนใหญ่อยู่ทางทิศเหนือ และทิศตะวันตกของจังหวัด คิดเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 80
ของพื้นที่จังหวัด เป็นพื้นที่ป่าต้นน้าลาธาร ไม่เหมาะสมต่อการเพาะปลูก
2.พื้นที่รำบลุ่มน้ำและที่รำบเชิงเขำ กระจายอยู่ทั่วไประหว่างหุบเขาทอดตัวในแนวเหนือ-ใต้ ได้แก่
ที่ราบลุ่มน้าปิง ลุ่มน้าฝาง ลุ่มน้าแม่งัด เป็นพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะสมต่อการเกษตร
ภูมิอากาศ
จังหวัดเชียงใหม่มีสภาพอากาศค่อนข้างเย็นเกือบตลอดทั้งปี มีอุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปี 25.4 องศาเซลเซียส
โดยมีค่าอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 31.8 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่าสุดเฉลี่ย 20.1 องศาเซลเซียส
มีปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 1,100-1,200 มิลลิเมตร สภาพภูมิอากาศจังหวัดเชียงใหม่อยู่ภายใต้อิทธิพลมรสุม 2
ชนิด คือ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ แบ่งภูมิอากาศออกได้เป็น 3ฤดู
ทรัพยากร
ทรัพยากรป่าไม้
จังหวัดเชียงใหม่มีป่าไม้หลายประเภท ประกอบด้วย ป่าดิบเขา ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง
และป่าเต็งรังผสมป่าสนเขา และป่าแดง เป็นต้น พื้นที่ป่าไม้ ประกอบด้วย ป่าธรรมชาติ สวนป่า
และป่าฟื้นฟูตามธรรมชาติ โดยมีพื้นที่ป่าไม้อยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ 8,787,656 ไร่คิดเป็นร้อยละ 69.92
ของพื้นที่ทั้งจังหวัด[7]
แบ่งเป็นป่าสงวนแห่งชาติ จานวน 25 แห่ง อุทยานแห่งชาติ 13 แห่ง
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า และเขตห้ามล่าสัตว์ป่า 1 แห่ง อุทยานแห่งชาติในจังหวัดเชียงใหม่ได้แก่
 อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์
 อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย
 อุทยานแห่งชาติแม่ปิง
 อุทยานแห่งชาติออบหลวง
 อุทยานแห่งชาติห้วยน้าดัง
 อุทยานแห่งชาติศรีลานนา
 อุทยานแห่งชาติดอยเวียงผา
 อุทยานแห่งชาติแม่ตะไคร้
 อุทยานแห่งชาติขุนขาน
 อุทยานแห่งชาติเชียงดาว
 อุทยานแห่งชาติแม่โถ
 อุทยานแห่งชาติแม่ฝาง
 อุทยานแห่งชาติออบขาน
นอกจากนี้จังหวัดเชียงใหม่ยังมีปัญหาเกี่ยวกับทรัพยากรป่าไม้เกิดขึ้นเป็นประจา สาเหตุสาคัญเช่น
การลักลอบตัดไม้ การบุกรุกเพื่อทาการเกษร และไฟป่า
ทรัพยากรสัตว์ป่า
พื้นที่ป่าในจังหวัด มีความหลากหลายทางชีวภาพ สัตว์ป่าสาคัญที่พบ ได้แก่ เลียงผา หมูป่า
หมาจิ้งจอก เสือดาว อีเห็น ชะมด พังพอน ชะนี ลิง เม่น แมวป่า หมูหริ่ง กระต่ายป่า ตะกวด กิ้งก่า งูตุ๊กแก
ด้วง บึ้ง ไก่ป่า นกขมิ้น นกกระรางหัวขวาน นกกระขาบทุ่ง นกขุนทอง นกขุนแผน นกบั่งรอก นกกางเขน
นกกาเหว่า นกเขียวคราม นกกระติ๊ต นกกระจิบ นกกระจาบ นกปรอด นกระวังไพร นกแซงแซว
นกโพระดก นกนางแอ่น นกคุ่ม นกเขาเขียว นกเขาใหญ่นกเขาขวาน นกเอี้ยง นกกระปูด เป็นต้น
ทรัพยากรน้า
จังหวัดเชียงใหม่มีแม่น้าสาคัญ คือ แม่น้าปิง และมีแหล่งน้าขนาดใหญ่2 แห่ง คือ
เขื่อนแม่กวงอุดมธารา อาเภอดอยสะเก็ด และเขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล อาเภอแม่แตง
และยังแบ่งตามพื้นที่ลุ่มน้าดังนี้
 ลุ่มน้ำปิงตอนบน เป็นลุ่มน้าที่สาคัญที่สุดในภาคเหนือตอนบน มีพื้นที่ 25,355.9 ตร.กม.
สภาพภูมิประเทศเป็นเทือกเขาสลับซับซ้อนมีความลาดชันสูง วางตัวแนวเหนือ-ใต้
พื้นที่ส่วนใหญ่เสี่ยงต่อแผ่นดินถล่มและการชะล้างพังทลายของดินสูง
ลักษณะภูมิอากาศเป็นแบบสะวันนา คือ มีฤดูฝนสลับกับฤดูแล้งอย่างชัดเจน และยังมีลุ่มน้าย่อยอีก
14 ลุ่มน้าย่อย แม่น้าที่สาคัญได้แก่ แม่น้าปิง แม่แตง แม่กวง แม่งัด แม่แจ่ม แม่ขาน และแม่ตื่น
 ลุ่มน้ำกก มีแม่น้ากกเป็นแม่น้าสายหลัก มีต้นกาเนิดจากภูเขาในประเทศพม่า ไหลผ่านเมืองกก
เมืองสาด ประเทศพม่า เข้าเขตประเทศไทยที่ช่องน้ากก อาเภอแม่อาย แล้วไหลเข้าสู่จังหวัดเชียงราย
ก่อนจะไหลลงสู่แม่น้าโขง ครอบคลุมพื้นที่ 2,773 ตร.กม.
 ลุ่มน้ำฝำง มีแม่น้าฝางเป็นแม่น้าสายหลัก ซึ่งมีต้นกาเนิดจากดอยขุนห้วยฝางและดอยหัวโท
ทางตอนใต้ของอาเภอไชยปราการ ไหลลงสู่แม่น้ากก มีความยาวลาน้าประมาณ 70 กิโลเมตร
ครอบคลุมพื้นที่ลุ่มน้า 1,948.5 ตร.กม. ในอาเภอไชยปราการ ฝาง และแม่อาย
ทรัพยากรธรณี
จังหวัดเชียงใหม่มีการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรณี โดยมีการผลิตแร่ที่สาคัญ 8 ชนิดได้แก่
ถ่านหิน เฟลด์สปาร์ (แร่ฟันม้า) แมงกานีส ชีไลต์ ดีบุก ดินขาว ฟลูออไรด์ และแร่หินอุตสาหกรรม
และจังหวัดเชียงใหม่ยังมีแหล่งทรัพยากรธรณีที่สาคัญ เช่น แหล่งปิโตรเลียม อาเภอฝาง
สภาพทางธรณีวิทยาที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว ได้แก่บ่อน้าพุร้อน อาเภอสันกาแพงและอาเภอฝาง โป่งเดือด
อาเภอแม่แตง บ่อน้าแร่ธรรมชาติ อาเภอแม่ริม เป็นต้น
สัญลักษณ์ประจาจังหวัด
ดอกทองกวาว ดอกไม้ประจาจังหวัดเชียงใหม่
 สัญลักษณ์ประจาจังหวัด คือ รูปช้างเผือกในเรือนแก้ว หมายถึงความสาคัญ 2 ประการของจังหวัด
ซึ่งช้างเผือก คือ ช้างที่เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่นามาทูลเกล้าถวายแด่สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
(รัชกาลที่ 2แห่งกรุงรัตนโกสินทร์) และได้ขึ้นระวางเป็นช้างเผือกเอกในรัชกาล
ส่วนเรือนแก้วคือดินแดนที่พุทธศาสนารุ่งเรืองสูงสุด
 ดอกไม้ประจาจังหวัด: ดอกทองกวาว
 ต้นไม้ประจาจังหวัด ดอกทองกวาว
เศรษฐกิจ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) พ.ศ. 2552 มีมูลค่า 127,660 ล้านบาท แบ่งเป็นภาคเกษตร 18,539
ล้านบาท (ร้อยละ 14.5) และนอกภาคเกษตร 109,121 ล้านบาท (ร้อยละ 85.5)
ซึ่งสาขาการผลิตนอกภาคเกษตรที่สาคัญ มีบริการด้านอสังหาริมทรัพย์ 20,603 ล้านบาท (ร้อยละ 16.1)
ตามมาด้วยสาขาการศึกษา 15,916 ล้านบาท (ร้อยละ 12.5) มีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจเฉลี่ยร้อยละ 2.3
มีรายได้ประชากรต่อหัวเฉลี่ย 79,971 บาท/คน/ปี อยู่ที่อันดับ 2 ของภาคเหนือรองจากจังหวัดลาพูน
สาหรับรายได้ประชากรในเขตชนบท เฉลี่ยนั้น อยู่ที่ 59,092.45 บาท/คน/ปี อาเภอที่มีรายได้เฉลี่ยต่าที่สุด คือ
อาเภออมก๋อย 29,198.01 บาท/คน/ปี และอาเภอที่มีรายได้สูงสุด คือ อาเภอฝาง 110,592.77 บาท/คน/ปี
การเกษตร
จังหวัดเชียงใหม่มีพื้นที่การเกษตร 1,835,425 ไร่(ร้อยละ 12.82 ของพื้นที่จังหวัด)
ส่วนใหญ่ปลูกพืชสวน 515,385 ไร่ปลูกข้าวรองลงมา 515,385 ไร่พื้นที่การเกษตรนี้อยู่ในเขตชลประทาน
642,979 ไร่(ร้อยละ 35ของพื้นที่การเกษตร) มีครัวเรือนการเกษตร 1,192,446 ครัวเรือน
ผลผลิตพืชเศรษฐกิจสาคัญ พ.ศ. 2553-2554สูงสุด 3 อันดับ คือ 1) ข้าว ผลผลิตเฉลี่ย 387,744 ตัน, 2)
ลาไย ผลผลิตเฉลี่ย 195,195 ตัน และ 3) กระเทียม ผลผลิตเฉลี่ย 97,395 ตัน
การท่องเที่ยว
ในการสารวจ World Best Award-Top 10 Cities จากผู้อ่าน Travel and Leisure
นิตยสารท่องเที่ยวของสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2553 ผลปรากฏว่า
จังหวัดเชียงใหม่เป็นเมืองน่าท่องเที่ยวอันดับ 2 ของโลก รองแต่เพียงกรุงเทพมหานครเท่านั้น ซึ่งใน พ.ศ.
2552 จังหวัดเชียงใหม่ถูกจัดเป็นเมืองน่าท่องเที่ยวอันดับ 5 ของโลก โดยพิจารณาจากสถานที่ ทัศนียภาพ
ความสวยงามและร่มรื่น ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี อาหารการกิน แหล่งช็อปปิ้ง ความเป็นมิตรของผู้คน
ความคุ้มค่า ของเงิน เป็นต้น
ประชากร
จังหวัดเชียงใหม่มีประชากรทั้งสิ้น 1,655,642 คน แยกเป็นชาย 806,720 คน หญิง 848,922 คน
ความหนาแน่นเฉลี่ย 82.34 คน/ตร.กม. (ข้อมูล ณ วันที่ 31ธันวาคม 2555)
ประชากรชนกลุ่มน้อยในจังหวัดมีจานวน 64,505 คน กระจายตามอาเภอต่าง ๆ ใน 16อาเภอ
อาเภอที่มีประชากรชนกลุ่มน้อยมากที่สุด ได้แก่อาเภอฝาง รองลงมา ได้แก่อาเภอเชียงดาว
อาเภอแม่อาย และอาเภอเวียงแหง[7]
ประชากรส่วนใหญ่เป็น "ชาวไทยวน" หรือ "คนเมือง"
ที่เหลือเป็น ไทใหญ่ไทลื้อ ไทขึน และไทยสยาม
ศาสนา
ประชากรในจังหวัดเชียงใหม่นับถือศาสนาพุทธร้อยละ 91.80 ศาสนาคริสต์ร้อยละ 5.60
ศาสนาอิสลามร้อยละ 1.17 ศาสนาฮินดูและสิกข์ร้อยละ 0.02 และอื่น ๆร้อยละ 1.14
ประเพณี
การปล่อยโคมลอย ในเทศกาลยี่เป็ง
เมืองเชียงใหม่มีประวัติศำสตร์ที่ยาวนาน
คนเชียงใหม่ได้สั่งสมวัฒนธรรมประเพณีสืบทอดมาจากบรรพบุรุษอย่างต่อเนื่อง
โดยส่วนใหญ่มีความผูกพันกับพุทธศาสนาและความเชื่อดั้งเดิม ประเพณีที่สาคัญ ได้แก่
 ปีใหม่เมือง (สงกรานต์) จัดขึ้นระหว่างวันที่ 13-15เมษายนของทุกปี
เป็นประเพณีที่สาคัญและยิ่งใหญ่ของชาวเชียงใหม่แบ่งเป็นวันที่ 13 เป็นวันมหาสงกรานต์
มีขบวนแห่พระพุทธสิหิงค์ และพิธีสรงน้าพระ วันที่ 14 เข้าวัดก่อเจดีย์ทราย และวันที่ 15เมษายน
ประเพณีรดน้าดาหัวผู้ใหญ่ และมีการเล่นสาดน้าตลอดช่วงเทศกาล
 ประเพณียี่เป็ง จัดขึ้นในช่วงวันลอยกระทงของทุกปี ราวเดือนพฤศจิกายน
มีการตกแต่งบ้านเรือนและสถานที่ต่างๆ ด้วยโคมชนิดต่างๆ มีการปล่อยโคมลอย มีการลอยกระทง
ประกวดกระทงและนางนพมาศ
 ประเพณีเข้าอินทขิล จัดขึ้นในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงมิถุนายน ที่วัดเจดีย์หลวง
เป็นการบูชาเสาหลักเมืองโดยการนาดอกไม้ธูปเทียนมาใส่ขันดอก
 เทศกาลร่มบ่อสร้าง จัดขึ้นในเดือนมกราคมของทุกปี ที่ศูนย์หัตถกรรมทาร่มบ่อสร้าง อาเภอสันกาแพง
มีการแสดงและจาหน่ายผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน มีการแสดงทางวัฒนธรรม ขบวนแห่ ประเพณีพื้นบ้าน
 มหกรรมไม้ดอกไม้ประดับ จัดขึ้นในอาทิตย์แรกของเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี
บริเวณสวนสาธารณะบวกหาด มีขบวนรถบุปผาชาติ และนางงามบุปผาชาติ
 งานไม้แกะสลักบ้านถวาย จัดขึ้นในเดือนมกราคม ที่หมู่บ้านถวาย อาเภอหางดง
มีการจาหน่ายและสาธิตการแกะสลักไม้ และหัตถกรรมพื้นบ้าน
 ประเพณีแห่ไม้ค้าโพธิ์ จัดขึ้นในเดือนเมษายน ในวันที่ 15 เป็นต้นไป ของทุกปี
ที่บริเวณตัวเมืองจอมทอง มีขบวนรถจากชุมชน ห้างร้าน กลุ่มต่างๆ กว่า 40ขบวน
แห่ไปตามเมืองจอมทอง อาเภอจอมทอง จนถึง วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร
เป็นประเพณีที่สืบทอดกันมานานกว่า 200 ปี ตามตานานเกิดขึ้นที่อาเภอเภอจอมทอง
ถือเป็นแห่งแรกของประเทศไทยและแห่งเดียวในโลก ประเพณีแห่ไม้ค้าโพธิ์
กลายเป็นต้นแบบของการแห่ไม้ค้าสะหลีของชาวล้านนา จนได้รับความนิยมไปทั่วภาคเหนือ
และเป็นประเพณีที่เริ่มมีชื่อเสียงโด่งดัง และได้รับความนิยมอย่างมาก
การคมนาคม
จังหวัดเชียงใหม่เป็นเมืองหลักของภาคเหนือ เป็นศูนย์กลางการพาณิชย์
อุตสาหกรรมและการคมนาคม จึงมีเส้นทางคมนาคมหลักทั้งทางรถยนต์ รถไฟ และทางอากาศ
มีทางหลวงแผ่นดิน ทางหลวงจังหวัด และเส้นทางมาตรฐานหลายสาย
ทาให้การเดินทางติดต่อภายในจังหวัด
การเดินทางสู่จังหวัดใกล้เคียงและกรุงเทพมหานครเป็นไปด้วยความสะดวก
ทางรถยนต์
การเดินทางจากกรุงเทพฯ มายังจังหวัดเชียงใหม่ใช้ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน)
แล้วแยกเข้าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 (ถนนสายเอเชีย) ผ่านจังหวัดอยุธยา อ่างทอง นครสวรรค์
แล้วใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 (ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์) ผ่านจังหวัดลาปาง แยกซ้าย
ผ่านจังหวัดลาพูน จนถึงจังหวัดเชียงใหม่
ทางรถไฟ
การคมนาคมทางรถไฟ ปัจจุบันมีรถไฟสายกรุงเทพฯ-เชียงใหม่ โดยผ่านจังหวัดอยุธยา ลพบุรี นครสวรรค์
พิษณุโลก อุตรดิตถ์ ลาปาง และลาพูน เปิดการเดินรถเร็ว รถด่วน รถด่วนพิเศษ และรถดีเซลรางปรับอากาศ
กรุงเทพฯ-เชียงใหม่รวมวันละ 14ขบวน (ไป 7กลับ 7) และนครสวรรค์-เชียงใหม่วันละ 2 ขบวน (ไป-
กลับ) มีสถานีรถไฟหลักและเป็นสถานีปลายทางในจังหวัดเชียงใหม่ คือสถานีรถไฟเชียงใหม่
ขบวนรถที่เข้า-ออกเชียงใหม่ มีดังนี้
รถด่วนพิเศษ
o ข.1/2 กรุงเทพ-เชียงใหม่-กรุงเทพ
o ข.9/10 กรุงเทพ-เชียงใหม่-กรุงเทพ
o ข.11/12 กรุงเทพ-เชียงใหม่-กรุงเทพ
o ข.13/14 กรุงเทพ-เชียงใหม่-กรุงเทพ
 รถด่วน
o ข.51/52 กรุงเทพ-เชียงใหม่-กรุงเทพ
 รถเร็ว
o ข.109/102 กรุงเทพ-เชียงใหม่-กรุงเทพ
 รถท้องถิ่น
o ข.407/408 นครสวรรค์-เชียงใหม่-นครสวรรค์
ทางอากาศ
ท่าอากาศยานนานาชาติเชียงใหม่
การคมนาคมทางอากาศ จังหวัดเชียงใหม่มีท่าอากาศยานเชียงใหม่
ที่มีความหนาแน่นของผู้ใช้บริการเป็นอันดับ4ของประเทศรองจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานภูเก็ต ตามลาดับ โดยมีเที่ยวบินไป-กลับวันละหลายเที่ยวบิน
ทั้งสายการบินภายในประเทศ และสายการบินระหว่างประเทศ โดยสายการบินระหว่างประเทศ
มีสายการบินในแถบเอเชียมีเที่ยวบินโดยตรงจากเชียงใหม่ไปยังหลายประเทศ เช่น จีน เกาหลีใต้ลาว
เมียนมาร์ ไต้หวัน มาเลเซีย สิงคโปร์ ฮ่องกง มาเก๊า เป็นต้น
สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ
แพนด้ายักษ์ ในสวนสัตว์เชียงใหม่
 อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ อาเภอจอมทอง
 อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย อาเภอเมืองเชียงใหม่
 ดอยอ่างขาง อาเภอฝาง
 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเชียงดาว อาเภอเชียงดาว
 สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
อาเภอแม่ริม
 ดอยฟ้าห่มปก อาเภอแม่อาย
 ออบหลวง อาเภอฮอด
 ปางช้างแม่แตง อาเภอแม่แตง
 น้าพุร้อนสันกาแพง
อาเภอสันกาแพง
 น้าพุร้อนฝาง อาเภอฝาง
 ทะเลสาบดอยเต่า อาเภอดอยเต่า
 ดอยม่อนจอง อาเภอนันทบุรี
เฉลิมพระเกียรติฯ
 ม่อนแจ่ม อาเภอแม่ริม
สถานที่ท่องเที่ยวทั่วไป
พระอารามหลวง
 วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหาร
 วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร พระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร
 วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร
 วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร
 วัดสวนดอก พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ
 วัดศรีโสดา พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ
 วัดท่าตอน พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ
 วัดป่าดาราภิรมย์ พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ
 วัดโพธารามมหาวิหาร พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ
 วัดร่าเปิง พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ
 วัดพระธาตุดอยสะเก็ด พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ
อาเภอเมืองเชียงใหม่
 วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร
 พระตาหนักภูพิงคราชนิเวศน์
 สวนสัตว์เชียงใหม่
 เชียงใหม่ไนท์ซาฟารี
 อุทยานหลวงราชพฤกษ์
 พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่
 ถนนคนเดิน – ที่สาคัญมีสองแห่งคือ
 ถนนช่วงระหว่างประตูท่าแพ ถึงวัดพระสิงห์
 ถนนวัวลาย ช่วงระหว่างประตูเชียงใหม่ ถึงประตูหายยา
 ถนนนิมมานเหมินท์
 เชียงใหม่ไนท์บาซาร์
อาเภออื่นๆ
 หมู่บ้านผลิตร่ม บ้านบ่อสร้าง อาเภอสันกาแพงอาเภออื่น ๆ
 ชุมชนหัตถกรรมแกะสลัก บ้านถวาย อาเภอหางดง
 เวียงกุมกาม อาเภอสารภี
 เวียงท่ากาน อาเภอสันป่าตอง
คานา
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ภาษาไทย จัดทาขึ้นเพื่อให้เรียนรู้เกี่ยวกับจังหวัดเชียงใหม่
มีความเป็นมาอย่างไร ทาให้ได้รู้ภูมิศาสตร์และภูมิประเทศของจังหวัดนี้เป็นอย่างไร และการเดินทาง
สถานที่ท่องเที่ยวที่สวยงามมากของจังหวัดเชียงใหม่ หากมีข้อผิดพราดประการใดขออภัยไว้ ณ
ที่นี้ด้วยนะครับ
สารบัญ
หน้า
ประวัติเชียงใหม่ 1-2
ภูมิศาสตร์ 2
ภูมิประเทศ 3
ภูมิอากาศ 4
ทรัพยากร 4-5
เศรษฐกิจ 5
การเกษตร 6
ประเพณี 7-8
การคมนาคม 9-10
สถานที่ท่องเที่ยว 11-12
อ้างอิง
www.google.com/จังหวัดเชียงใหม่-วิกิพีเดีย
รายงาน
เรื่อง จังหวัดเชียงใหม่
วิชา ภาษาไทย
ครูผู้สอน พิษณุ มากแพทร์
จัดทาโดย
ด.ช ปิยวัฒน์ เลาะ เลขที่ 9 ม.1/6
โรงเรียนหนองจอกพิทยานุสรณ์
เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร

More Related Content

What's hot

โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
ssuser858855
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
Nontagan Lertkachensri
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
Beerza Kub
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
thanapisit marakul na ayudhya
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุCoverslide Bio
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
วิจัยในชั้นเรียนชีววิทยา
วิจัยในชั้นเรียนชีววิทยาวิจัยในชั้นเรียนชีววิทยา
วิจัยในชั้นเรียนชีววิทยา
Coverslide Bio
 
บท3เซลล์
บท3เซลล์บท3เซลล์
บท3เซลล์
Wichai Likitponrak
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่
Thunrada Sukkaseam
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
Coco Tan
 
d.a.r.e.บทที่ 1 ประถม (fc.พศิน)
d.a.r.e.บทที่ 1 ประถม (fc.พศิน)d.a.r.e.บทที่ 1 ประถม (fc.พศิน)
d.a.r.e.บทที่ 1 ประถม (fc.พศิน)
พศิน สังขารา
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการแผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการSumalee Khvamsuk
 
Solubility
SolubilitySolubility
ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัข
ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัขใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัข
ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัขThanapol Pacharapha
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์
wisita42
 

What's hot (20)

โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
ใบงานที่ 4 ตารางธาตุ
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
วิจัยในชั้นเรียนชีววิทยา
วิจัยในชั้นเรียนชีววิทยาวิจัยในชั้นเรียนชีววิทยา
วิจัยในชั้นเรียนชีววิทยา
 
บท3เซลล์
บท3เซลล์บท3เซลล์
บท3เซลล์
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
 
d.a.r.e.บทที่ 1 ประถม (fc.พศิน)
d.a.r.e.บทที่ 1 ประถม (fc.พศิน)d.a.r.e.บทที่ 1 ประถม (fc.พศิน)
d.a.r.e.บทที่ 1 ประถม (fc.พศิน)
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการแผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
Solubility
SolubilitySolubility
Solubility
 
ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัข
ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัขใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัข
ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัข
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์
 

รายงานจังหวัดเชียงใหม่ อัยบ์

  • 1. จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็นอันดับ 2 ของประเทศ และมีประชากร 1,655,642 คน มากเป็นอันดับ 5 ของประเทศ ในจานวนนี้เป็นประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของพม่า จังหวัดเชียงใหม่แบ่งการปกครองออกเป็น 25 อาเภอ โดยมีอาเภอเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั้งอาเภอกัลยาณิวัฒนาเป็นอาเภอลาดับที่ 25ของจังหวัด และลาดับที่ 878 ของประเทศ ซึ่งเป็นอาเภอล่าสุดของไทย อนึ่ง ราวปลายเดือนตุลาคม พ.ศ. 2555 สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ มีมติให้เสนอโครงการจัดตั้งอำเภอนันทบุรีเฉลิมพระเกียรติ ต่อกระทรวงมหาดไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน เคยเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนาแต่โบราณ มี "คาเมือง" เป็นภาษาท้องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั้งด้านประเพณีวัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจานวนมาก โดยเริ่มวางตัวเป็นนครสร้างสรรค์ และกาลังพิจารณาสมัครเข้าเป็นนครสร้างสรรค์ของ HYPERLINK "http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%AA% E0%B9%82%E0%B8%81" o "ยูเนสโก" ยูเนสโก้ ประวัติศาสตร์
  • 2. พระบรมราชานุสาวรีย์สามกษัตริย์ คือ พญามังราย พญาร่วง (พ่อขุนรามคาแหง) และพญางาเมือง เมืองเชียงใหม่มีชื่อปรากฏในตานานว่า "นพบุรีศรีนครพิงค์เชียงใหม่" สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 1839 โดยพญามังรายเป็นผู้ทรงสร้าง มีอายุครบ 700 ปี ในปี พ.ศ. 2539 ในอดีตเชียงใหม่มีฐานะเป็นเมืองหลวงของราชอาณาจักรนครรัฐอิสระ ชื่อว่า อาณาจักรล้านนา ซึ่งปกครองโดยกษัตริย์ราชวงศ์มังราย ประมาณ 261 ปี (ระหว่าง พ.ศ. 1839-2101) กระทั่งในปี พ.ศ. 2101 เชียงใหม่ได้เสียเมืองให้แก่พระเจ้าบุเรงนองแห่งพม่า และได้อยู่ภายใต้การปกครองของพม่ามานานกว่าสองร้อยปี จนถึงสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี จึงได้มีการทาสงครามเพื่อขับไล่พม่าออกจากเมืองเชียงใหม่และเชียงแสนได้สาเร็จ โดยการนาของเจ้ากาวิละและพระยาจ่าบ้าน หลังจากนั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเจ้ากาวิละขึ้นเป็นพระบรมราชาธิบดี ปกครองนครเชียงใหม่และเป็นประมุขแห่งราชวงศ์ทิพย์จักร (ราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน) และต่อมา เจ้านายซึ่งเป็นเชื้อสายของพระเจ้ากาวิละ ก็ได้ปกครองเมืองเชียงใหม่และหัวเมืองต่างๆ สืบต่อมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการปฏิรูปการปกครองหัวเมืองประเทศราช โดยมีการจัดตั้งการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาล เรียกว่า "มณฑลพายัพ" ต่อมาเชียงใหม่ได้มีการปรับปรุงการปกครองและยกฐานะขึ้นเป็น "จังหวัด" ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2476 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว จนถึงปัจจุบัน ภูมิศาสตร์
  • 3. ที่ตั้ง จังหวัดเชียงใหม่ตั้งอยู่ ณ ละติจูด 16องศาเหนือ ลองติจูด 99 องศาตะวันออก สูงจากระดับน้าทะเลประมาณ 310 เมตร ส่วนกว้างจากทิศตะวันตกจรดทิศตะวันออกประมาณ 138 กิโลเมตร ส่วนยาวจากทิศเหนือจรดทิศใต้ประมาณ 428กิโลเมตร ห่างจากกรุงเทพมหานคร 696 กิโลเมตร อาณาเขตติดต่อ  ทิศเหนือ ติดต่อกับรัฐฉานของประเทศพม่า โดยมีดอยผีปันน้าของดอยคา ดอยปกกลา ดอยหลักแต่ง ดอยถ้าป่อง ดอยถ้วย ดอยผาวอก และดอยอ่างขางอันเป็นส่วนหนึ่งของทิวเขาแดนลาว เป็นเส้นกั้นอาณาเขต  ทิศใต้ ติดต่อกับอาเภอสามเงา อาเภอแม่ระมาด และอาเภอท่าสองยาง (จังหวัดตาก) มีร่องน้าแม่ตื่นและดอยผีปันน้า ดอยเรี่ยม ดอยหลวงเป็นเส้นกั้นอาณาเขต  ทิศตะวันออก ติดต่อกับอาเภอแม่ฟ้าหลวง อาเภอเมืองเชียงราย อาเภอแม่สรวย อาเภอเวียงป่าเป้า (จังหวัดเชียงราย) อาเภอเมืองปาน อาเภอเมืองลาปาง (จังหวัดลาปาง) อาเภอบ้านธิ อาเภอเมืองลาพูน อาเภอป่าซาง อาเภอเวียงหนองล่อง อาเภอบ้านโฮ่ง และอาเภอลี้ (จังหวัดลาพูน) ส่วนที่ติดจังหวัดเชียงรายและลาปางมีร่องน้าลึกของแม่น้ากก สันปันน้าดอยซาง ดอยหลุมข้าว ดอยแม่วัวน้อย ดอยวังผา และดอยแม่โตเป็นเส้นกั้นอาณาเขต ส่วนที่ติดจังหวัดลาพูนมีดอยขุนห้วยหละ ดอยช้างสูง และร่องน้าแม่ปิงเป็นเส้นกั้นอาณาเขต  ทิศตะวันตก ติดต่อกับอาเภอปาย อาเภอเมืองแม่ฮ่องสอน อาเภอขุนยวม อาเภอแม่ลาน้อย อาเภอแม่สะเรียง และอาเภอสบเมย (จังหวัดแม่ฮ่องสอน) มีดอยผีปันน้า ดอยกิ่วแดง ดอยแปรเมือง ดอยแม่ยะ ดอยอังเกตุ ดอยแม่สุรินทร์ ดอยขุนยวม ดอยหลวง และร่องแม่ริด แม่ออย และดอยผีปันน้าดอยขุนแม่ตื่นเป็นเส้นกั้นอาณาเขต จังหวัดเชียงใหม่มีชายแดนติดต่อกับประเทศพม่า ใน 5 อาเภอได้แก่อาเภอแม่อาย อาเภอฝาง อาเภอเชียงดาว อาเภอเวียงแหง อาเภอไชยปราการ รวมระยะทางทั้งสิ้น 227 กิโลเมตร พื้นที่เขตแดนส่วนใหญ่เป็นป่าเขา จึงไม่สามารถปักหลักเขตแดนได้ชัดเจน และเกิดปัญหาเส้นเขตแดนระหว่างประเทศ ภูมิประเทศ
  • 4. สภาพภูมิประเทศของจังหวัดเชียงใหม่ส่วนใหญ่เป็นภูเขา จังหวัดเชียงใหม่มีพื้นที่ 20,107.057 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 12,566,911 ไร่ มีพื้นที่กว้างใหญ่เป็นอันดับที่ 1 ของภาคเหนือ และเป็นอันดับ 2 ของประเทศ รองจากจังหวัดนครราชสีมา ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปมีสภาพพื้นที่เป็นภูเขาและป่าละเมาะ มีที่ราบอยู่ตอนกลางตามสองฟากฝั่งแม่น้าปิง มีภูเขาที่สูงที่สุดในประเทศไทยคือ ดอยอินทนนท์ สูงประมาณ 2,565.3355 เมตร อยู่ในเขตอาเภอจอมทอง นอกจากนี้ยังมีดอยอื่นที่มีความสูงรองลงมาอีกหลายแห่ง เช่น ดอยผ้าห่มปก สูง 2,285 เมตร ดอยหลวงเชียงดาว สูง 2,170 เมตร ดอยสุเทพ สูง 1,601 เมตร สภาพพื้นที่แบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะคือ 1.พื้นที่ภูเขำ ส่วนใหญ่อยู่ทางทิศเหนือ และทิศตะวันตกของจังหวัด คิดเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 80 ของพื้นที่จังหวัด เป็นพื้นที่ป่าต้นน้าลาธาร ไม่เหมาะสมต่อการเพาะปลูก 2.พื้นที่รำบลุ่มน้ำและที่รำบเชิงเขำ กระจายอยู่ทั่วไประหว่างหุบเขาทอดตัวในแนวเหนือ-ใต้ ได้แก่ ที่ราบลุ่มน้าปิง ลุ่มน้าฝาง ลุ่มน้าแม่งัด เป็นพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะสมต่อการเกษตร ภูมิอากาศ จังหวัดเชียงใหม่มีสภาพอากาศค่อนข้างเย็นเกือบตลอดทั้งปี มีอุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปี 25.4 องศาเซลเซียส โดยมีค่าอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 31.8 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่าสุดเฉลี่ย 20.1 องศาเซลเซียส มีปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 1,100-1,200 มิลลิเมตร สภาพภูมิอากาศจังหวัดเชียงใหม่อยู่ภายใต้อิทธิพลมรสุม 2 ชนิด คือ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ แบ่งภูมิอากาศออกได้เป็น 3ฤดู ทรัพยากร ทรัพยากรป่าไม้
  • 5. จังหวัดเชียงใหม่มีป่าไม้หลายประเภท ประกอบด้วย ป่าดิบเขา ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง และป่าเต็งรังผสมป่าสนเขา และป่าแดง เป็นต้น พื้นที่ป่าไม้ ประกอบด้วย ป่าธรรมชาติ สวนป่า และป่าฟื้นฟูตามธรรมชาติ โดยมีพื้นที่ป่าไม้อยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ 8,787,656 ไร่คิดเป็นร้อยละ 69.92 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด[7] แบ่งเป็นป่าสงวนแห่งชาติ จานวน 25 แห่ง อุทยานแห่งชาติ 13 แห่ง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า และเขตห้ามล่าสัตว์ป่า 1 แห่ง อุทยานแห่งชาติในจังหวัดเชียงใหม่ได้แก่  อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์  อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย  อุทยานแห่งชาติแม่ปิง  อุทยานแห่งชาติออบหลวง  อุทยานแห่งชาติห้วยน้าดัง  อุทยานแห่งชาติศรีลานนา  อุทยานแห่งชาติดอยเวียงผา  อุทยานแห่งชาติแม่ตะไคร้  อุทยานแห่งชาติขุนขาน  อุทยานแห่งชาติเชียงดาว  อุทยานแห่งชาติแม่โถ  อุทยานแห่งชาติแม่ฝาง  อุทยานแห่งชาติออบขาน นอกจากนี้จังหวัดเชียงใหม่ยังมีปัญหาเกี่ยวกับทรัพยากรป่าไม้เกิดขึ้นเป็นประจา สาเหตุสาคัญเช่น การลักลอบตัดไม้ การบุกรุกเพื่อทาการเกษร และไฟป่า ทรัพยากรสัตว์ป่า พื้นที่ป่าในจังหวัด มีความหลากหลายทางชีวภาพ สัตว์ป่าสาคัญที่พบ ได้แก่ เลียงผา หมูป่า หมาจิ้งจอก เสือดาว อีเห็น ชะมด พังพอน ชะนี ลิง เม่น แมวป่า หมูหริ่ง กระต่ายป่า ตะกวด กิ้งก่า งูตุ๊กแก ด้วง บึ้ง ไก่ป่า นกขมิ้น นกกระรางหัวขวาน นกกระขาบทุ่ง นกขุนทอง นกขุนแผน นกบั่งรอก นกกางเขน นกกาเหว่า นกเขียวคราม นกกระติ๊ต นกกระจิบ นกกระจาบ นกปรอด นกระวังไพร นกแซงแซว นกโพระดก นกนางแอ่น นกคุ่ม นกเขาเขียว นกเขาใหญ่นกเขาขวาน นกเอี้ยง นกกระปูด เป็นต้น ทรัพยากรน้า จังหวัดเชียงใหม่มีแม่น้าสาคัญ คือ แม่น้าปิง และมีแหล่งน้าขนาดใหญ่2 แห่ง คือ เขื่อนแม่กวงอุดมธารา อาเภอดอยสะเก็ด และเขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล อาเภอแม่แตง และยังแบ่งตามพื้นที่ลุ่มน้าดังนี้  ลุ่มน้ำปิงตอนบน เป็นลุ่มน้าที่สาคัญที่สุดในภาคเหนือตอนบน มีพื้นที่ 25,355.9 ตร.กม. สภาพภูมิประเทศเป็นเทือกเขาสลับซับซ้อนมีความลาดชันสูง วางตัวแนวเหนือ-ใต้
  • 6. พื้นที่ส่วนใหญ่เสี่ยงต่อแผ่นดินถล่มและการชะล้างพังทลายของดินสูง ลักษณะภูมิอากาศเป็นแบบสะวันนา คือ มีฤดูฝนสลับกับฤดูแล้งอย่างชัดเจน และยังมีลุ่มน้าย่อยอีก 14 ลุ่มน้าย่อย แม่น้าที่สาคัญได้แก่ แม่น้าปิง แม่แตง แม่กวง แม่งัด แม่แจ่ม แม่ขาน และแม่ตื่น  ลุ่มน้ำกก มีแม่น้ากกเป็นแม่น้าสายหลัก มีต้นกาเนิดจากภูเขาในประเทศพม่า ไหลผ่านเมืองกก เมืองสาด ประเทศพม่า เข้าเขตประเทศไทยที่ช่องน้ากก อาเภอแม่อาย แล้วไหลเข้าสู่จังหวัดเชียงราย ก่อนจะไหลลงสู่แม่น้าโขง ครอบคลุมพื้นที่ 2,773 ตร.กม.  ลุ่มน้ำฝำง มีแม่น้าฝางเป็นแม่น้าสายหลัก ซึ่งมีต้นกาเนิดจากดอยขุนห้วยฝางและดอยหัวโท ทางตอนใต้ของอาเภอไชยปราการ ไหลลงสู่แม่น้ากก มีความยาวลาน้าประมาณ 70 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ลุ่มน้า 1,948.5 ตร.กม. ในอาเภอไชยปราการ ฝาง และแม่อาย ทรัพยากรธรณี จังหวัดเชียงใหม่มีการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรณี โดยมีการผลิตแร่ที่สาคัญ 8 ชนิดได้แก่ ถ่านหิน เฟลด์สปาร์ (แร่ฟันม้า) แมงกานีส ชีไลต์ ดีบุก ดินขาว ฟลูออไรด์ และแร่หินอุตสาหกรรม และจังหวัดเชียงใหม่ยังมีแหล่งทรัพยากรธรณีที่สาคัญ เช่น แหล่งปิโตรเลียม อาเภอฝาง สภาพทางธรณีวิทยาที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว ได้แก่บ่อน้าพุร้อน อาเภอสันกาแพงและอาเภอฝาง โป่งเดือด อาเภอแม่แตง บ่อน้าแร่ธรรมชาติ อาเภอแม่ริม เป็นต้น สัญลักษณ์ประจาจังหวัด ดอกทองกวาว ดอกไม้ประจาจังหวัดเชียงใหม่  สัญลักษณ์ประจาจังหวัด คือ รูปช้างเผือกในเรือนแก้ว หมายถึงความสาคัญ 2 ประการของจังหวัด ซึ่งช้างเผือก คือ ช้างที่เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่นามาทูลเกล้าถวายแด่สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลที่ 2แห่งกรุงรัตนโกสินทร์) และได้ขึ้นระวางเป็นช้างเผือกเอกในรัชกาล ส่วนเรือนแก้วคือดินแดนที่พุทธศาสนารุ่งเรืองสูงสุด  ดอกไม้ประจาจังหวัด: ดอกทองกวาว  ต้นไม้ประจาจังหวัด ดอกทองกวาว
  • 7. เศรษฐกิจ ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) พ.ศ. 2552 มีมูลค่า 127,660 ล้านบาท แบ่งเป็นภาคเกษตร 18,539 ล้านบาท (ร้อยละ 14.5) และนอกภาคเกษตร 109,121 ล้านบาท (ร้อยละ 85.5) ซึ่งสาขาการผลิตนอกภาคเกษตรที่สาคัญ มีบริการด้านอสังหาริมทรัพย์ 20,603 ล้านบาท (ร้อยละ 16.1) ตามมาด้วยสาขาการศึกษา 15,916 ล้านบาท (ร้อยละ 12.5) มีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจเฉลี่ยร้อยละ 2.3 มีรายได้ประชากรต่อหัวเฉลี่ย 79,971 บาท/คน/ปี อยู่ที่อันดับ 2 ของภาคเหนือรองจากจังหวัดลาพูน สาหรับรายได้ประชากรในเขตชนบท เฉลี่ยนั้น อยู่ที่ 59,092.45 บาท/คน/ปี อาเภอที่มีรายได้เฉลี่ยต่าที่สุด คือ อาเภออมก๋อย 29,198.01 บาท/คน/ปี และอาเภอที่มีรายได้สูงสุด คือ อาเภอฝาง 110,592.77 บาท/คน/ปี การเกษตร จังหวัดเชียงใหม่มีพื้นที่การเกษตร 1,835,425 ไร่(ร้อยละ 12.82 ของพื้นที่จังหวัด) ส่วนใหญ่ปลูกพืชสวน 515,385 ไร่ปลูกข้าวรองลงมา 515,385 ไร่พื้นที่การเกษตรนี้อยู่ในเขตชลประทาน 642,979 ไร่(ร้อยละ 35ของพื้นที่การเกษตร) มีครัวเรือนการเกษตร 1,192,446 ครัวเรือน ผลผลิตพืชเศรษฐกิจสาคัญ พ.ศ. 2553-2554สูงสุด 3 อันดับ คือ 1) ข้าว ผลผลิตเฉลี่ย 387,744 ตัน, 2) ลาไย ผลผลิตเฉลี่ย 195,195 ตัน และ 3) กระเทียม ผลผลิตเฉลี่ย 97,395 ตัน การท่องเที่ยว ในการสารวจ World Best Award-Top 10 Cities จากผู้อ่าน Travel and Leisure นิตยสารท่องเที่ยวของสหรัฐอเมริกา ในปี พ.ศ. 2553 ผลปรากฏว่า จังหวัดเชียงใหม่เป็นเมืองน่าท่องเที่ยวอันดับ 2 ของโลก รองแต่เพียงกรุงเทพมหานครเท่านั้น ซึ่งใน พ.ศ. 2552 จังหวัดเชียงใหม่ถูกจัดเป็นเมืองน่าท่องเที่ยวอันดับ 5 ของโลก โดยพิจารณาจากสถานที่ ทัศนียภาพ
  • 8. ความสวยงามและร่มรื่น ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี อาหารการกิน แหล่งช็อปปิ้ง ความเป็นมิตรของผู้คน ความคุ้มค่า ของเงิน เป็นต้น ประชากร จังหวัดเชียงใหม่มีประชากรทั้งสิ้น 1,655,642 คน แยกเป็นชาย 806,720 คน หญิง 848,922 คน ความหนาแน่นเฉลี่ย 82.34 คน/ตร.กม. (ข้อมูล ณ วันที่ 31ธันวาคม 2555) ประชากรชนกลุ่มน้อยในจังหวัดมีจานวน 64,505 คน กระจายตามอาเภอต่าง ๆ ใน 16อาเภอ อาเภอที่มีประชากรชนกลุ่มน้อยมากที่สุด ได้แก่อาเภอฝาง รองลงมา ได้แก่อาเภอเชียงดาว อาเภอแม่อาย และอาเภอเวียงแหง[7] ประชากรส่วนใหญ่เป็น "ชาวไทยวน" หรือ "คนเมือง" ที่เหลือเป็น ไทใหญ่ไทลื้อ ไทขึน และไทยสยาม ศาสนา ประชากรในจังหวัดเชียงใหม่นับถือศาสนาพุทธร้อยละ 91.80 ศาสนาคริสต์ร้อยละ 5.60 ศาสนาอิสลามร้อยละ 1.17 ศาสนาฮินดูและสิกข์ร้อยละ 0.02 และอื่น ๆร้อยละ 1.14 ประเพณี การปล่อยโคมลอย ในเทศกาลยี่เป็ง
  • 9. เมืองเชียงใหม่มีประวัติศำสตร์ที่ยาวนาน คนเชียงใหม่ได้สั่งสมวัฒนธรรมประเพณีสืบทอดมาจากบรรพบุรุษอย่างต่อเนื่อง โดยส่วนใหญ่มีความผูกพันกับพุทธศาสนาและความเชื่อดั้งเดิม ประเพณีที่สาคัญ ได้แก่  ปีใหม่เมือง (สงกรานต์) จัดขึ้นระหว่างวันที่ 13-15เมษายนของทุกปี เป็นประเพณีที่สาคัญและยิ่งใหญ่ของชาวเชียงใหม่แบ่งเป็นวันที่ 13 เป็นวันมหาสงกรานต์ มีขบวนแห่พระพุทธสิหิงค์ และพิธีสรงน้าพระ วันที่ 14 เข้าวัดก่อเจดีย์ทราย และวันที่ 15เมษายน ประเพณีรดน้าดาหัวผู้ใหญ่ และมีการเล่นสาดน้าตลอดช่วงเทศกาล  ประเพณียี่เป็ง จัดขึ้นในช่วงวันลอยกระทงของทุกปี ราวเดือนพฤศจิกายน มีการตกแต่งบ้านเรือนและสถานที่ต่างๆ ด้วยโคมชนิดต่างๆ มีการปล่อยโคมลอย มีการลอยกระทง ประกวดกระทงและนางนพมาศ  ประเพณีเข้าอินทขิล จัดขึ้นในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงมิถุนายน ที่วัดเจดีย์หลวง เป็นการบูชาเสาหลักเมืองโดยการนาดอกไม้ธูปเทียนมาใส่ขันดอก  เทศกาลร่มบ่อสร้าง จัดขึ้นในเดือนมกราคมของทุกปี ที่ศูนย์หัตถกรรมทาร่มบ่อสร้าง อาเภอสันกาแพง มีการแสดงและจาหน่ายผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน มีการแสดงทางวัฒนธรรม ขบวนแห่ ประเพณีพื้นบ้าน  มหกรรมไม้ดอกไม้ประดับ จัดขึ้นในอาทิตย์แรกของเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี บริเวณสวนสาธารณะบวกหาด มีขบวนรถบุปผาชาติ และนางงามบุปผาชาติ  งานไม้แกะสลักบ้านถวาย จัดขึ้นในเดือนมกราคม ที่หมู่บ้านถวาย อาเภอหางดง มีการจาหน่ายและสาธิตการแกะสลักไม้ และหัตถกรรมพื้นบ้าน  ประเพณีแห่ไม้ค้าโพธิ์ จัดขึ้นในเดือนเมษายน ในวันที่ 15 เป็นต้นไป ของทุกปี ที่บริเวณตัวเมืองจอมทอง มีขบวนรถจากชุมชน ห้างร้าน กลุ่มต่างๆ กว่า 40ขบวน แห่ไปตามเมืองจอมทอง อาเภอจอมทอง จนถึง วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร เป็นประเพณีที่สืบทอดกันมานานกว่า 200 ปี ตามตานานเกิดขึ้นที่อาเภอเภอจอมทอง ถือเป็นแห่งแรกของประเทศไทยและแห่งเดียวในโลก ประเพณีแห่ไม้ค้าโพธิ์ กลายเป็นต้นแบบของการแห่ไม้ค้าสะหลีของชาวล้านนา จนได้รับความนิยมไปทั่วภาคเหนือ และเป็นประเพณีที่เริ่มมีชื่อเสียงโด่งดัง และได้รับความนิยมอย่างมาก การคมนาคม จังหวัดเชียงใหม่เป็นเมืองหลักของภาคเหนือ เป็นศูนย์กลางการพาณิชย์ อุตสาหกรรมและการคมนาคม จึงมีเส้นทางคมนาคมหลักทั้งทางรถยนต์ รถไฟ และทางอากาศ มีทางหลวงแผ่นดิน ทางหลวงจังหวัด และเส้นทางมาตรฐานหลายสาย
  • 10. ทาให้การเดินทางติดต่อภายในจังหวัด การเดินทางสู่จังหวัดใกล้เคียงและกรุงเทพมหานครเป็นไปด้วยความสะดวก ทางรถยนต์ การเดินทางจากกรุงเทพฯ มายังจังหวัดเชียงใหม่ใช้ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) แล้วแยกเข้าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 32 (ถนนสายเอเชีย) ผ่านจังหวัดอยุธยา อ่างทอง นครสวรรค์ แล้วใช้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 11 (ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์) ผ่านจังหวัดลาปาง แยกซ้าย ผ่านจังหวัดลาพูน จนถึงจังหวัดเชียงใหม่ ทางรถไฟ การคมนาคมทางรถไฟ ปัจจุบันมีรถไฟสายกรุงเทพฯ-เชียงใหม่ โดยผ่านจังหวัดอยุธยา ลพบุรี นครสวรรค์ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ ลาปาง และลาพูน เปิดการเดินรถเร็ว รถด่วน รถด่วนพิเศษ และรถดีเซลรางปรับอากาศ กรุงเทพฯ-เชียงใหม่รวมวันละ 14ขบวน (ไป 7กลับ 7) และนครสวรรค์-เชียงใหม่วันละ 2 ขบวน (ไป- กลับ) มีสถานีรถไฟหลักและเป็นสถานีปลายทางในจังหวัดเชียงใหม่ คือสถานีรถไฟเชียงใหม่ ขบวนรถที่เข้า-ออกเชียงใหม่ มีดังนี้ รถด่วนพิเศษ o ข.1/2 กรุงเทพ-เชียงใหม่-กรุงเทพ o ข.9/10 กรุงเทพ-เชียงใหม่-กรุงเทพ o ข.11/12 กรุงเทพ-เชียงใหม่-กรุงเทพ o ข.13/14 กรุงเทพ-เชียงใหม่-กรุงเทพ  รถด่วน o ข.51/52 กรุงเทพ-เชียงใหม่-กรุงเทพ  รถเร็ว o ข.109/102 กรุงเทพ-เชียงใหม่-กรุงเทพ  รถท้องถิ่น
  • 11. o ข.407/408 นครสวรรค์-เชียงใหม่-นครสวรรค์ ทางอากาศ ท่าอากาศยานนานาชาติเชียงใหม่ การคมนาคมทางอากาศ จังหวัดเชียงใหม่มีท่าอากาศยานเชียงใหม่ ที่มีความหนาแน่นของผู้ใช้บริการเป็นอันดับ4ของประเทศรองจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานภูเก็ต ตามลาดับ โดยมีเที่ยวบินไป-กลับวันละหลายเที่ยวบิน ทั้งสายการบินภายในประเทศ และสายการบินระหว่างประเทศ โดยสายการบินระหว่างประเทศ มีสายการบินในแถบเอเชียมีเที่ยวบินโดยตรงจากเชียงใหม่ไปยังหลายประเทศ เช่น จีน เกาหลีใต้ลาว เมียนมาร์ ไต้หวัน มาเลเซีย สิงคโปร์ ฮ่องกง มาเก๊า เป็นต้น สถานที่ท่องเที่ยว สถานที่ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ
  • 12. แพนด้ายักษ์ ในสวนสัตว์เชียงใหม่  อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ อาเภอจอมทอง  อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย อาเภอเมืองเชียงใหม่  ดอยอ่างขาง อาเภอฝาง  เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเชียงดาว อาเภอเชียงดาว  สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ อาเภอแม่ริม  ดอยฟ้าห่มปก อาเภอแม่อาย  ออบหลวง อาเภอฮอด  ปางช้างแม่แตง อาเภอแม่แตง  น้าพุร้อนสันกาแพง อาเภอสันกาแพง  น้าพุร้อนฝาง อาเภอฝาง  ทะเลสาบดอยเต่า อาเภอดอยเต่า  ดอยม่อนจอง อาเภอนันทบุรี เฉลิมพระเกียรติฯ  ม่อนแจ่ม อาเภอแม่ริม สถานที่ท่องเที่ยวทั่วไป พระอารามหลวง  วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดวรมหาวิหาร  วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร พระอารามหลวงชั้นโท ชนิดราชวรวิหาร  วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร  วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดวรวิหาร  วัดสวนดอก พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ  วัดศรีโสดา พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ  วัดท่าตอน พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ  วัดป่าดาราภิรมย์ พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ  วัดโพธารามมหาวิหาร พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ  วัดร่าเปิง พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ  วัดพระธาตุดอยสะเก็ด พระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ อาเภอเมืองเชียงใหม่  วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร  พระตาหนักภูพิงคราชนิเวศน์  สวนสัตว์เชียงใหม่  เชียงใหม่ไนท์ซาฟารี
  • 13.  อุทยานหลวงราชพฤกษ์  พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เชียงใหม่  ถนนคนเดิน – ที่สาคัญมีสองแห่งคือ  ถนนช่วงระหว่างประตูท่าแพ ถึงวัดพระสิงห์  ถนนวัวลาย ช่วงระหว่างประตูเชียงใหม่ ถึงประตูหายยา  ถนนนิมมานเหมินท์  เชียงใหม่ไนท์บาซาร์ อาเภออื่นๆ  หมู่บ้านผลิตร่ม บ้านบ่อสร้าง อาเภอสันกาแพงอาเภออื่น ๆ  ชุมชนหัตถกรรมแกะสลัก บ้านถวาย อาเภอหางดง  เวียงกุมกาม อาเภอสารภี  เวียงท่ากาน อาเภอสันป่าตอง คานา รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ภาษาไทย จัดทาขึ้นเพื่อให้เรียนรู้เกี่ยวกับจังหวัดเชียงใหม่ มีความเป็นมาอย่างไร ทาให้ได้รู้ภูมิศาสตร์และภูมิประเทศของจังหวัดนี้เป็นอย่างไร และการเดินทาง สถานที่ท่องเที่ยวที่สวยงามมากของจังหวัดเชียงใหม่ หากมีข้อผิดพราดประการใดขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วยนะครับ
  • 15. การเกษตร 6 ประเพณี 7-8 การคมนาคม 9-10 สถานที่ท่องเที่ยว 11-12 อ้างอิง www.google.com/จังหวัดเชียงใหม่-วิกิพีเดีย
  • 17. ด.ช ปิยวัฒน์ เลาะ เลขที่ 9 ม.1/6 โรงเรียนหนองจอกพิทยานุสรณ์ เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร