SlideShare a Scribd company logo
ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ
(CAREER KNOWLEDGE)

ครูสุภาภรณ์ ว่องเพิ่มพูนสิน
ครูศรีสุดา รัตนวิจิตร
เป็นการกําหนดมาตรฐานของสมรรถนะ รวมทั้งความรู้และความ
เข้าใจที่คาดหวังว่าบุคลากรจะ บรรลุสําหรับอาชีพหนึ่ง
มาตรฐานอาชีพนี้ใช้เป็นฐานในการกําหนดและประเมิน เพื่อให้
ได้คุณวุฒิวิชาชีพ (Vocational Qualifications - VQ)
มาตรฐานวิชาชีพ
คุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ คืออะไร
คุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ (General Vocational Qualifications; GVQ)
เป็นกรอบสมรรถนะและมาตรฐานสําหรับผู้ผ่านการเรียนหรือการ ฝึกอบรม
แบบฐานสมรรถนะ (Competency-based Education/Training) โดย
ใช้สถาบันการศึกษาหรือ ฝีกอบรมเป็นฐาน (Institution-based/School-
based/College-based) ทั้งนี้สมรรถนะ ดังกล่าวต้องมีครบ 3 องค์
ประกอบ คือ ทักษะในการทํางานให้บรรลุ, ความรู้ความเข้าใจงานที่ทํา,
และกิจนิสัยหรือเจตคติในการ ทํางานซึ่งก่อให้เกิดประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล
กรอบสมรรถนะและมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ
ในช่วงระยะเวลาของการเรียนรู้และฝึกฝนทักษะในแต่ละภาคเรียนหรือ
ปีการศึกษา ย่อมทําให้ ผู้เรียนมีสมรรถนะ หรือความสามารถเพิ่มขึ้นเป็น
ระดับขั้นและเกิด ความแตกต่างของสมรรถนะอย่างมีนัยสําคัญ จึงสามารถ
เขียนนิยามของแต่ละระดับหรือกําหนดเป็นเกณฑ์เปรียบเทียบสมรรถนะ
(Benchmark)ของแต่ละระดับ ได้ดังต่อไปนี้
2
1.คุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น

(GVQS) (เมื่อสําเร็จหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น 30–225ชั่วโมง)
นิยามของคุณวุฒิ GVQS

สามารถปฏิบัติงานในขอบเขตที่กําหนด ซึ่งส่วนใหญ่เป็นงานประจํา และคาด
คะเนได้ โดยใช้ทักษะพื้นฐานและหรือทักษะเฉพาะอาจต้องมี ความเป็นอิสระ
ในการทาํงานและหรือการร่วมงานกับผู้อื่น
2.คุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพของหลักสูตรระดับปวช. (GVQ1–3)
GVQ1(เมื่อได้เรียนประมาณ 1 ปีการศึกษาแรกของหลักสูตร
ปวช.3ปี)
นิยามของคุณวุฒิ GVQ1

สามารถปฏิบัติงานในขอบเขตของงานที่กําหนดซึ่งส่วนใหญ่เป็นงาน ประจํา
และคาดคะเนได้โดยใช้ทักษะพื้นฐานและหรือทักษะเฉพาะ รวม ถึงทักษะที่
สัมพันธ์กับการปฏิบัติงานและการมีส่วนรวมในคณะทํางาน
GVQ2(เมื่อได้เรียนประมาณ2ปีการศึกษาของหลักสตูรปวช.3ปี)
นิยามของคุณวุฒิ GVQ2

สามารถปฏิบัติงานในขอบเขตของงานที่กําหนด ซึ่งส่วนใหญ่เป็นงาน ประจํา
และมีความพร้อมในการปฏิบัติงานในขอบเขตงานหลากหลาย และบริบทต่างๆ
ที่กําหนด รวมทั้งมีความรับผิดชอบส่วนตัวหรือความ เป็นอิสระและ/
หรือมีการร่วมงานกับผู้อื่นโดยเป็นสมาชิกกลุ่ม
GVQ3 (เมื่อได้เรียนครบเกณฑ์การสําเร็จหลักสูตร ปวช.3ปี)
นิยามของคุณวุฒิ GVQ3

สามารถปฏิบัติงานทักษะในขอบเขตสําคัญและบริบทต่างๆ ท่ีสัมพันธ์ กัน ส่วน
ใหญ่เป็นงานประจําที่รู้วิธิการและวิธีดําเนินการล่วงหน้า สามารถประยุกต์
ทักษะและความ้ไปสู่บริบทใหม่ๆ สามารถให้คําแนะ นําและแก้ปัญหาเฉพาะ
ด้าน อาจต้องรับผิดชอบต่อผู้อื่นรวมทั้งมีส่วน ร่วมและ หรือมีการประสานงาน
กลุ่มหรือหมู่คณะ
3 คุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพของหลักสูตรระดับปวส. (GVQ4–5)
GVQ4 (เมื่อได้ศึกษาประมาณ 1 ปีการศึกษา)
นิยามของคุณวุฒิ GVQ4

สามารถปฏิบัติงานโดยประยุกต์ทักษะที่ีขอบเขตทั่วไปของงานหลาก หลาย
บางงานมีความซับซ้อนและไม่เป็นงานประจําสามารถแนะนําผู้ อื่น มีส่วนร่วม
การจัดการและการแก้ปัญหา และมีความรับผิดชอบต่อ ผู้อื่นและหมู่คณะ
GVQ5 (เมื่อได้ศึกษาครบเกณฑ์การสําเร็จหลักสูตร 2 ปี)
นิ ย า ม ข อ ง คุ ณ วุ ฒิ G V Q 5

สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะในแนวทางของตนเองในการ วางแผน
ทรัพยากรที่เหมาะสม มีส่วนร่วมพัฒนาวิธีการริเริ่มสิ่งใหม่ ๆ มีความรับผิดชอบ
ตนเองและเป็นอิสระในการปฏิบัติงานที่ซับซ้อน หรือจัดการงานผูู้อื่น อาจมี
ส่วนร่วมที่เกี่ยวกับการวางแผน การ ประเมินผล และการ ประสานงาน
3
แบบฝึกหัดบทที่ 1
ผลจากการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9  ณ เกาะบาหลี
ประเทศอินโดนีเซีย ได้กำหนดให้จัดทำข้อตกลงยอมรับร่วมกัน
(Mutual Recognition Arrangements : MRAs) ด้าน
คุณสมบัติในสาขาวิชาชีพหลัก เพื่ออำนวยความสะดวกในการ
เคลื่อนย้ายนักวิชาชีพ หรือแรงงานเชี่ยวชาญ หรือผู้มีความ
สามารถพิเศษของอาเซียนได้อย่างเสรี ด้านคุณสมบัติในสาขา
อาชีพหลัก เพื่ออำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้าย
อาชีพในอาเซียน
นักวิชาชีพ แรงงานเชี่ยวชาญ หรือผู้มีความสามารถพิเศษได้อย่างเสรีข้อ
ตกลงเรื่องการเคลื่อนย้ายแรงงาน ฝีมือไปทำงานในประเทศกลุ่มอาเซียน
ทั้ง 10 ประเทศ ได้อย่างเสรี ในปี พ.ศ.2558
อาชีพในอาเซียน หมายถึง.....
วิชาชีพที่สามารถย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรีในประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนมีสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ วิชาชีพที่มีการตกลงให้เคลื่อน
ย้ายหรือแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศสมาชิกนั้นได้แก่
1. การรักษาหรือการแพทย์ (Medical services)
2. ทันตกรรม (dental services)
3. พยาบาล (nursing services)
4. วิศวกรรม  (engineering services)
5. สถาปัตยกรรม (architectural services)
6. การสำรวจ หรือนักสำรวจ (surveying qualification)
7. การบัญชี (accountancy services)
และเมื่อไม่นานมานี้ก็ได้มีการตกลงให้เพิ่มวิชาชีพด้านการโรงแรม
และการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นมา (hotel services and tourism) เมื่อมีการเปิด
โอกาสให้มีการเคลื่อนย้ายแรงงาน ประเทศไทยก็อาจเป็นประเทศหนึ่งที่
แรงงานต่างชาติให้ความสนใจนี่จึงเป็นเหตุผลอีกประการหนึ่งที่ภาษา
อังกฤษจะกลายเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับเราคนไทยมากขึ้น
6
แพทย์
(MEDICAL PRACTITIONERS)
แพทย์ คือ ผู้ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล หรือสถานพยาบาล โดยตรวจ
คนไข้ ในที่อยู่ในความรับผิดชอบทุกวันและต้องตรวจคนไข้นอกที่เข้ามา
รับการ รักษา ผู้ที่เป็นแพทย์อาจถูกเรียกตัวได้ทุกเวลาเพื่อทําการรักษา
คนไข้ให้ทัน ท่วงที ผู้ที่เป็นแพทย์ต้องพร้อมเสมอที่จะสละเวลาเพื่อรักษา
คนไข้ ในสถาน ที่ทํางานจะต้องพบเห็น คนเจ็บ คนป่วยและคนตาย แพทย์
จึงต้องมีจิตใจที่ เข้มแข็ง เพราะหากมีจิตใจที่อ่อนไหวต่อสิ่งที่ได้พบเห็นจะ
มีผลกระทบต่อ การปฏิบัติงานได้
แนวทางในการประกอบอาชีพ
1. ตรวจร่างกาย วินิจฉัยโรค และสั่งยา
2. ผ่าตัดเล็ก
3. รักษาอาการบาดเจ็บ โรค และอาการผิดปกติต่างๆ ของผู้ป่วย
4. ตรวจผู้ป่วยและตรวจหรือสั่งตรวจทางเอ็กซเรย์หรือการทดสอบพิเศษ

5. ถ้าต้องการรายละเอียดเพิ่มเติม พิจารณาผลการตรวจและผลการ

 ทดสอบ ปรึกษาแพทย์เฉพาะทางหรือแพทย์อื่นตามความจําเป็น

6. วินิจฉัยความผิดปกติ สั่งยา ทําการผ่าตัดเล็กหรือการรักษาอย่างอื่น

7. แนะนําผู้ป่วยในเรื่องการปฏิบัติตนที่จําเป็นสําหรับการทะนุถนอม

 สุขภาพหรือการกลับคืนสู่สภาพปกติ

8. บริหารยาและยาสลบตามต้องการ

9. ทําการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในระยะก่อนคลอด ทําการคลอด และให้การ
ดูแลรักษามารดา และทารกหลังคลอด
10.เก็บรักษาบันทึกเกี่ยวกับผู้ป่วยที่ได้ตรวจโรคที่เป็นและการรักษาที่ได้
ให้หรือสั่ง อาจผสมยา อาจรับผิดชอบและสั่งงานสําหรับพยาบาลใน
โรง พยาบาลหรือสถาบันอื่น
7
ทันตแพทย์
(DENTAL PRACTITIONERS)
ทันตแพทย์ คือ บุคคลที่ประกอบอาชีพป้องกัน และรักษาโรค ความผิด
ปกติ หรือภาวะในช่องปาก บริเวณใบหน้าขากรรไกร และ/
หรือบริเวณใกล้เคียงและโครงสร้างอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และผลกระทบต่อ
ร่างกายมนุษย์
แนวทางในการประกอบอาชีพ
1. ให้การรักษาโรค และความผิดปกติของฟันและช่องปากด้วยการ
ศัลยกรรม ให้ยา และวิธีการอื่นๆ

2. ตรวจปากและฟันของผู้ป่วย

3. ใช้เครื่องเอ็กซเรย์และทดสอบตามความจำเป็น เพื่อจะได้ทราบถึง
ลักษณะของความผิดปกติ

4. พิจารณาผลของการตรวจและการทดสอบ และตกลงใจเลือกวิธีการรักษา
หารูฟันผุ ทำความสะอาดและอุดรูฟันผุ และถอนฟัน ที่เป็นโรคหรือไม่ได้ใช้
ให้เกิดประโยชน์

5. พิมพ์ปากและจำลองแบบของเหงือก และส่วนอื่นๆ ของปาก เพื่อใช้ใน
การประดิษฐ์ฟันปลอม และใส่ฟันปลอม

6. ใส่เครื่องยึดเพื่อจัดฟันที่มีลักษณะผิดปกติหรือเก ให้อยู่ในตำแหน่งที่ถูก
ต้อง

7. รักษาโรคฟัน ปากหรือเหงือกด้วยการใช้ยาหรือศัลยกรรม ให้ยาชาหรือ
วางยาสลบตามความจำเป็น อาจทำเฉพาะทางในการรักษาอย่างใดอย่าง
หนึ่ง หรือมากกว่า
8
พยาบาล
(NURSING SERVICES)
พยาบาล คือ ผู้รักษา ดูแล และให้คำแนะนำเกี่ยวกับการพยาบาล เป็นผู้
ช่วยแพทย์ โดยการสังเกต และบันทึกความเปลี่ยนแปลงในคนไข้ รายงาน
ให้แพทย์ทราบถึงอาการของคนไข้ตามลักษณะโรคที่เป็นทั้งร่างกาย
อารมณ์ และจิตใจ ช่วยฟื้นฟูสุขภาพของคนไข้ ช่วยคนไข้ให้ปรับตัวเข้ากับ
ภาวะขัดข้องใดๆ ที่อาจเกิด จากการเจ็บป่วย จัดให้คนไข้ มีสิ่งแวดล้อมที่
ถูกสุขอนามัย ป้องกันและควบคุมการเผยแพร่ของโรคติดเชื้อ สอนคนไข้
และประชาชนทั่วไปให้รู้จักการดูแลและส่งเสริมสุขภาพวางแผน มอบ
หมาย สั่งการ ดูแล และประเมินผลงานของผู้ช่วยพยาบาล และผู้ทำหน้าที่
ประสานงาน ร่วมงานกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายการแพทย์ และอนามัยแขนงอื่นๆ
ในการบริการคนไข้
แนวทางในการประกอบอาชีพ
1. ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลของรัฐและเอกชน สถานพยาบาล(คลีนิค)
2. สถานพักฟื้น สถานฟื้นฟู ดูแลรักษาสุขภาพ สถานสงเคราะห์ เด็ก หรือ
คนชรา สถานอนุบาลเด็กทารกหรือเด็กก่อนวัยเรียน
3. สถานการศึกษา เช่น โรงเรียน วิทยาลัย และมหาวิทยาลัย สถาน
ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม สถานีอนามัย คลีนิคในชุมชนพยาบาล
ประจำบ้าน หรือส่วนบุคคล เป็นต้น
4. ธุรกิจประกันชีวิต
5. นักวิจัยให้กับหน่วยงานต่างๆ ทั้งในประเทศ และองค์กรระหว่างประเทศ 

เช่น International HIV/AIDS Research Project
6. เจ้าหน้าที่พยาบาลหรือที่ปรึกษาในองค์การระหว่างประเทศ องค์กร
พัฒนาเอกชน
7. เจ้าหน้าที่แนะนำ Product Specialist ให้บริษัทขายยา และเคมีภัณฑ์
9
วิศวกรรม  
(ENGINEERING SERVICES)
วิศวกร คือ ผู้นำเอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้กับปัญหา
ต่างๆในลักษณะการคิดค้นการออกแบบการปรับปรุงการเปลี่ยนแปลง
ทรัพยากรธรรมชาติต่างๆ ที่มีอยู่ เพื่อส่ง เสริมสภาวะแวดล้อมให้เหมาะสม
กับความเป็นอยู่ของมนุษย์
แนวทางในการประกอบอาชีพ
1. เป็นวิศวกรรมควบคุมงานก่อสร้างอาคารต่างๆ ทางหลวง เขื่อนต่าง ๆ

2. ทำงานด้านวิศวกรรมเกษตรทุกสาขา

3. ทำงานด้านเครื่องจักรและระบบกระแสไฟฟ้า

4. ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม

5. ทำงานเป็นอาจารย์สอนในมหาวิทยาลัย
10
สถาปนิก
(ARCHITECTURAL SERVICES)
สถาปนิก คือผู้ที่จะทำหน้าที่ออกแบบอาคาร สิ่งก่อสร้าง และควบคุมการ
ก่อสร้างร่วมกับวิศวกร คำนวณวัสดุ เวลา และราคาของค่าแบบก่อสร้าง
และการก่อสร้างที่เหมาะสมให้คำแนะนำในเรื่องวัสดุก่อสร้างที่ให้
ประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ว่าจ้างและเป็นไปตามกฎข้อบังคับของท้องถิ่น และ
แบบลักษณะทางสถาปัตยกรรม
แนวทางในการประกอบอาชีพ
1. บันทึกรายละเอียด ความต้องการของลูกค้า เพื่อออกแบบให้ตรงตาม
ความต้องการของลูกค้า
2. ออกแบบ คำนวณแบบ เลือกวัสดุที่มีคุณภาพเหมาะสมและให้ประโยชน์
สูงสุดกับลูกค้า
3. คำนวณรายการใช้จ่ายให้เหมาะสมกับเนื้องาน
4. เตรียมแบบ และส่งแบบที่วาดโดยช่างเขียนแบบให้ลูกค้าพิจารณา เพื่อ
ดัดแปลงแก้ไขและตอบข้อซักถามของ ลูกค้าร่วมกับวิศวกร
5. เมื่อแก้ไขดัดแปลงให้สมบูรณ์แล้วจึงส่งแบบให้กับวิศวกรทำการก่อสร้าง
6. ออกปฏิบัติงานร่วมกับวิศวกรระหว่างทำการก่อสร้างเพื่อให้ใช้วัสดุและ
ตามแบบที่วางไว้ตามเงื่อนไขสัญญา
7. ให้คำปรึกษาต่อวิศวกรและแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการก่อสร้างและ
การคำนวณของวิศวกร
11
นักสำรวจ
(SURVEYING QUALIFICATIONS)
นักสำรวจ คือ ผู้ควบคุมและทำการสำรวจพื้นดินและท้องน้ำ เพื่องานทำ
แผนที่หรือแผนภูมิงานก่อสร้าง งานเหมืองแร่ หรือเพื่องานอื่นๆ โดยการ
กำหนดสถานที่ตั้ง และวาดภาพแสดงลักษณะภูมิประเทศรวมถึงการสำรวจ
บริเวณพื้นดินและท้องน้ำ การสำรวจบริเวณทะเล และเหมืองแร่ และการ
สำรวจประเภทอื่นๆ เป็นผู้ช่วยนักสำรวจเกี่ยวกับการใช้ และดูแลรักษา
เครื่องมือต่างๆ ในขณะปฏิบัติงาน ช่วยแปลข้อมูลที่ได้จากงานสนาม และ
ทำงานอื่นๆที่คล้ายคลึงกัน
แนวทางในการประกอบอาชีพ
1.ควบคุมและทำการสำรวจพื้นดินและท้องน้ำเพื่อการทำแผนที่หรือแผนภูมิ
งานก่อสร้างงานเหมืองแร่หรืองานอื่นๆโดยกำหนดสถานที่ตั้ง

2.วาดภาพแสดงลักษณะภูมิประเทศตรวจสอบบันทึกแผนที่แผนผังโฉนด
และเอกสารที่เกี่ยวข้องตลอดจนทำการคำนวณเบื้องต้นซึ่งจำเป็นสำหรับ
งานสำรวจ

3.ตรวจสอบและปรับกล้องรังวัดหรือกล้องทำแผนที่เข็มทิศโต๊ะสำรวจและ
เครื่องมือสำรวจอื่นๆ

4.สำรวจและสั่งงานผู้ช่วยเพื่อให้การปฏิบัติงานตรงตามสถานที่ที่กำหนด
และเพื่อความแน่นอนเกี่ยวกับการวัดระหว่างจุดต่างๆ

5.ทำการคำนวณเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของสิ่งที่วัดได้

6.บันทึกการใช้มาตรการต่างๆและการคำนวณรวมทั้งการเขียนแบบร่าง
พื้นที่บริเวณที่ทำการสำรวจ

7.จัดทำแบบวาดโดยละเอียด และทำรายงาน
12
พนักงานบัญชี
( ACCOUNTANCY SERVICES )
พนักงานบัญชี คือ ผู้ให้บริการทางการบัญชีแก่สถานประกอบการธุรกิจ
สถาบันเอกชน หรือหน่วยงานรัฐบาล รวมถึงการดูแลการทำบัญชี และการ
ตรวจสอบบัญชี
แนวทางในการประกอบอาชีพ
1. การวิเคราะห์รายการธุรกิจและบันทึกผลทางการเงิน

2. การรับรองความถูกต้องและความครบถ้วนในการทำบัญชี และเอกสาร
ทางการเงิน

3. การให้คำแนะนำเกี่ยวกับการสอบบัญชี การวางแผนทางบัญชี และการ
วางระบบทางบัญชีแก่สถานประกอบการต่างๆ
13
แบบฝึกหัดบทที่ 2
การที่จะประสบความสำเร็จในการประกอบอาชีพได้
จะต้องมีการพัฒนาตนเอง เพราะจะทำให้มีคามรอบรู้
เท่าทันผู้อื่น อีกทั้งความใฝ่รู้ใฝ่เรียนก็จะทำให้มี
ความเจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงานและประสบ
ความสำเร็จในงานอาชีพ1.ประโยชน์ของการพัฒนา
ตนเองในงานอาชีพ
หลักการปฏิบัติตนใน
งานอาชีพ
1. ประโยชน์ของการพัฒนาตนเองในงานอาชีพ
ในการทำงานไม่ว่าสาขาอาชีพใดก็ตาม ย่อมต้องมีการปรับตัว เพื่อให้เกิดความคล่องตัว และประสบความสำเร็จในงานอาชีพ ในด้าน
อาชีพคอมพิวเตอร์นั้น บุคลากรที่เป็นนักคอมพิวเตอร์ นอกจากจะคำนึงถึงประโยชน์ในส่วนตนแล้ว ยังต้องคำนึงถึงความรับผิดชอบต่อ
สังคมด้วย จะเห็นได้ว่าการพัฒนาตนเองในงานอาชีพนั้น มีผลดีทั้งต่อตนเอง และสังคมอีกด้วย ประโยชน์ของการพัฒนาตนเองในงาน
อาชีพมีดังนี้
1. ช่วยเพิ่มพูนความรู้ความสามารถ
2. ช่วยให้เกิดความเชื่อมั่นในตนเอง
3. ช่วยให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน
4. ช่วยให้เกิดการยอมรับนับถือในสังคมวิชาชีพ
5. ช่วยให้เกิดความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่การงาน
6. ช่วยให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างผลงาน
16
2. หลักในการพัฒนาตนเองในงานอาชีพ
การพัฒนาตนเองอย่างถูกวิธี และต่อเนื่อง ย่อมนำไปสู่ความสำเร็จ สำหรับผู้มีอาชีพทางด้านคอมพิวเตอร์จะต้องมีการพัฒนาตนเองให้มี
ความเป็นผู้ทันโลก ทันเหตุการณ์อยู่เสมอ โดยบทบาทแล้วนักคอมพิวเตอร์เปรียบเสมือนผู้เชื่อมโยงสังคมให้ก้าวไปสู่โลกแห่งอนาคต
ด้วยความรู้ที่ทันสมัยอยู่เสมอ ดังนั้นนักคอมพิวเตอร์จะต้องมีหลักในการพัฒนาตนตนเอง ดังนี้
1. การพัฒนาตนเองตามหลักทั่วไป
2. การพัฒนาตนเองตามแนวพระราชดำริ
3. การพัฒนาตนเองตามแนวพุทธศาสนา
3. การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่องานอาชีพ
งานอาชีพคอมพิวเตอร์นับว่ามีความสำคัญต่อหน่วยงาน สถาบันและองค์กรทางธุรกิจมากมาย ดังนั้นผู้ที่เป็นนักคอมพิวเตอร์ จำเป็นจะ
ต้องมีบุคลิกที่เอื้ออำนวยให้เกิดภาพลักษณ์ในทางบวกต่อตนเองและงานอาชีพในที่นี้จะขอกล่าวถึงบุคลิกภาพที่พึงประสงค์ในงาน
อาชีพคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นการพัฒนาปรับปรุงบุคลิกภาพให้ผู้ทีเกี่ยวข้องเกิดความเชื่อถือศรัทธา และเป็นที่ยอมรับของผู้ที่มาติดต่อ
สื่อสาร ไม่ว่าจะเป็นลูกค้าผู้ใช้บริการหรือนายจ้าง บุคลิกภาพของนักคอมพิวเตอร์จึงมีส่วนช่วยให้การทำงานประสบความสำเร็จ ฉะนั้น
จึงควรมีการพัฒนาบุคลิกภาพในด้านต่างๆ ต่อไปนี้
1. รู้จักพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รอบรู้ โดยเฉพาะความรอบรู้ที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ และต้องมีความทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ หมั่น
ติดตามข่าวคราว และความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีพที่ทำอยู่
17
2. รู้จักฝึกตนเองให้เป็นผู้มีมานะอดทน งานอาชีพคอมพิวเตอร์เป็นงานที่ทำอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ดังนั้นการนั่งทำงานนานๆ อาจ
เกิดความเครียดเมื่อยล้าหรือเบื่อหน่ายได้ง่าย หากต้องการให้งานสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ นักคอมพิวเตอร์จะต้องเป็นผู้ที่มีความ
มานะอดทนเป็นอย่างมาก
3. รู้จักฝึกตนเองให้เป็นผู้ที่มีความเชื่อมั่นในตนเอง นอกจากความรู้และทักษะแล้ว นักคอมพิวเตอร์จะต้องเป็นผู้ที่มีความเชื่อมั่นใน
ตนเองด้วย เพราะงานบางอย่างต้องดำเนินการตัดสินใจทันที หากขาดความเชื่อมั่น ความกล้าที่จะเผชิญปัญหาและอุปสรรคทุกด้าน เกิด
ความลังเลที่จะตัดสินใจ อาจทำให้พลาดโอกาสหรืออาจเกิดผลเสียขึ้นได้
4. รู้จักปรับตัวในด้านความมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี เป็นการปรับสภาพภายในจิตใจให้มีความเป็นผู้ใหญ่ มีอารมณ์เยือกเย็น สุขุม
รอบคอบ รู้จักการประนีประนอม การผ่อนสั้นผ่อนยาว รู้จักควบคุมตนเองนอกจากปรับตัวเพื่อให้มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีแล้ว ยังควรมี
มารยาทในการติดต่อสื่อสารและมีศิลปะการพูดด้วย
5. รู้จักปรับตัวให้ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ โดยการเรียนรู้วิธีการที่จะทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างเป็นสุข มีการประสานงานกันอย่างราบรื่น
มีเป้าหมายในการทำงานที่ตรงกัน ควรหลีกเลี่ยงความขัดแย้ง และรู้จักวิธีการอมชอมเมื่อเกิดความขัดแย้ง พยายามสร้างความเป็นมิตร
กับผู้ร่วมงานทุกคน
6. รู้จักฝึกตนเองให้เป็นคนตรงต่อเวลาในการนัดหมาย ในชีวิตการทำงานการรักษาเวลาเป็นเรื่องที่สำคัญมาก และเป็นมารยาททาง
สังคมอย่างหนึ่ง ดังนั้นเมื่อมีการนัดหมายเจรจา ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการประชุม การส่งมอบงานหรือการนัดหมายเจรจาใดๆ นัก
คอมพิวเตอร์ควรให้ความสำคัญในตนเองการตรงต่อเวลาอย่างเคร่งครัด
7. รู้จักฝึกตนเองให้มีความรับผิดชอบในการทำงาน การทำงานไม่ว่าหน้าที่ใดๆ ก็ตาม หากปราศจากความรับผิดชอบ โอกาสที่จะ
เกิดผลเสียย่อมมีขึ้นอย่างแน่นอน ดังนั้นในการปฏิบัติงานทุกชนิดจะต้องตั้งใจทำ และมีความรับผิดชอบในงานนั้นๆ อย่างจริงใจ
8. รู้จักตนเองในด้านการแต่งกายให้เหมาะสมกับงานและตำแหน่ง เครื่องแต่งกายที่เหมาะสมเป็นสิ่งที่ช่วยเสริมสร้างบุคลิกภาพให้
แก่ผู้สวมใส่ได้เป็นอย่างดี นอกจากจะช่วยสร้างบุคลิกภาพแล้ว ยังสร้างความประทับใจให้แก่ผู้ที่พบเห็นอีกด้วย
18
9. รู้จักคิดและพัฒนาอุปนิสัยให้เป็นคนที่ซื่อสัตย์ และมีความ
จริงใจต่อผู้อื่น เพราะจะช่วยสร้างมิตรภาพและความไว้วางใจ
ในการติดต่อหรือคบค้าสมาคมกัน ความจริงใจจะต้องไม่เส
แสร้ง ควรแสดงออกอย่างเป็นธรรมชาติ เพราะอีกฝ่ายหนึ่งจะ
สามารถสังเกตเห็นจากพฤติกรรมที่แสดงออกและจากทาง
สายตา
10. รู้จักทำตนให้เป็นคนกล้ายอมรับความจริง คนเราย่อมมี
ความผิดพลาด หรือข้อบกพร่องที่แตกต่างกันออกไป การกล้าที่
จะยอมรับ แล้วปรับปรุงข้อบกพร่องหรือความผิดต่างๆ เหล่านั้น
นับว่าเป็นคนที่มีเหตุผล จิตใจหนักแน่น ดังนั้นจึงมีโอกาสที่จะ
ก้าวหน้า ประสบความสำเร็จใจอาชีพการงานมากกว่าคนที่ไม่
กล้ายอมรับความจริง
19
แบบฝึกหัดบทที่ 3
สิ่งแวดล้อมต่างๆ ในการทำงานจะเป็นปัจจัยในการตัดสิน
สมรรถภาพ ในการทำงานของเรา อีกทั้งยังเป็นตัวบ่งชี้ว่าเรามี
นิสัยการทำงานที่ถูกสุขลักษณะ และปลอดภัยหรือไม่ การ
ปฎิบัติตามคำแนะนำ จะทำให้เกิดสิ่งแวดล้อมที่ถูกสูขลักษณะ 
ซึ่งจะทำให้เกิดประสิธิภาพ และความปลอดภัยในการทำงาน 

สิ่งแวดล้อมและความ
ปลอดภัยในการทำงาน
ความปลอดภัยในการทำงาน คืออะไร
สภาพที่ปลอดภัยจากอุบติเหตุต่าง ๆ อันจะเกิดแก่ร่างกาย ชีวิตหรือทรัพย์สิน
ในขณะที่ปฏิบัติงาน ซึ่งก็คือ สภาพการทำงานที่ถูกต้องโดยปราศจากอุบัตืเหตุ
ในการทำงานนั่นเอง
อุบัติเหตุ คือ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างไม่คาดหมายและเมื่อเกิดขึ้นแล้วจะมีผล
กระทบกระเทือนต่อการทำงาน ทำให้ทรัพย์สินเสียหาย หรือบุคคลได้รับบบาด
เจ็บ การเกิดอุบัติเหตุนั้นมักจะมีตัวการที่สำคัญอยู่ 3 ประการคือ
1. ตัวบุคคล คือ ผู้ประกอบการงานในหน้าที่ต่าง ๆ และเป็นสาเหตุหลักที่ก่อให้
เกิดอุบัติเหตุ
2. สิ่งแวดล้อม คือ ตัวองค์กรหรือโรงงานที่บุคคลนั้นทำงานอยู่
3. เครื่องมือ เครื่องจักร คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำงาน
22
“สถานที่น่าอยู่ น่าทำงาน”
หมายถึง สถานที่ทำงานที่มีการจัดการสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการมี
สุขภาพดีของคนทำงานทุกคน รวมทั้งจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพให้
เกิดความสุขกาย สบายใจในการทำงาน
แนวทางในการดำเนินงาน ทำได้ดังนี้
1. กำหนดนโยบายด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 

โดยผู้บริหารขององค์กร

2. กำหนดกฎระเบียบในการทำงานที่เอื้อต่อสุขภาพและความ 

ปลอดภัย เช่น ห้ามสูบบุหรี่ ห้ามดื่มสุราในสถานที่ทำงาน

3. ทุกคนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานที่ทำงานให้น่าอยู่ น่าทำงาน

4. ร่วมกันพัฒนาสิ่งแวดล้อมในการทำงานให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดี 

และมีความปลอดภัย

5. จัดกิจกรรม/โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมและการส่งเสริมสุขภาพ

ในที่ทำงาน เช่น โครงการ 5 ส.

6. ประสานงานกับหน่วยบริการสุขภาพ เพื่อส่งเสริมให้คนทำงานมี

สุขภาพจิตที่ดี ทั้งกายและใจ

7. ติดตาม ตรวจสอบ การดำเนินงาน เพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง
23
แบบฝึกหัดบทที่ 4

More Related Content

Similar to ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ

เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการเกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
 
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติมหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติมtanong2516
 
Experience of nursing practice roles of
Experience of nursing practice roles ofExperience of nursing practice roles of
Experience of nursing practice roles ofSunee Suvanpasu
 
มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษามาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา
์Nanthawan Wongsapcharoen
 
วิชาชีพครู
วิชาชีพครูวิชาชีพครู
วิชาชีพครู
peeyaporn
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหารเกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
 
Sup kan 57
Sup kan 57Sup kan 57
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านหลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
Wuttipong Karun
 
การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1
Totsaporn Inthanin
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Prachaya Sriswang
 
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
Thanaporn Sangthong
 
NQA application report writing
NQA application report  writingNQA application report  writing
NQA application report writing
Chutikarn Haruthai
 
มาตรฐานวิชาชีพครู
มาตรฐานวิชาชีพครูมาตรฐานวิชาชีพครู
มาตรฐานวิชาชีพครู
Samsung
 
มาตรฐานวิชาชีพ
มาตรฐานวิชาชีพมาตรฐานวิชาชีพ
มาตรฐานวิชาชีพnot_nat_978
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7 จุดเน้นที่  7
แนวคิด
แนวคิดแนวคิด
แนวคิด
TupPee Zhouyongfang
 
ระเบียบ1
ระเบียบ1ระเบียบ1
ระเบียบ1chuvub
 
งานชิ้นที2 revise3
งานชิ้นที2 revise3งานชิ้นที2 revise3
งานชิ้นที2 revise3iamying
 

Similar to ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ (20)

เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการเกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
 
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติมหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
 
Experience of nursing practice roles of
Experience of nursing practice roles ofExperience of nursing practice roles of
Experience of nursing practice roles of
 
มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษามาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา
 
วิชาชีพครู
วิชาชีพครูวิชาชีพครู
วิชาชีพครู
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหารเกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
 
Sup kan 57
Sup kan 57Sup kan 57
Sup kan 57
 
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านหลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
 
การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู ปี 2556
 
NQA application report writing
NQA application report  writingNQA application report  writing
NQA application report writing
 
มาตรฐานวิชาชีพครู
มาตรฐานวิชาชีพครูมาตรฐานวิชาชีพครู
มาตรฐานวิชาชีพครู
 
มาตรฐานวิชาชีพ
มาตรฐานวิชาชีพมาตรฐานวิชาชีพ
มาตรฐานวิชาชีพ
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7 จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
 
แนวคิด
แนวคิดแนวคิด
แนวคิด
 
ระเบียบ1
ระเบียบ1ระเบียบ1
ระเบียบ1
 
งานชิ้นที2 revise3
งานชิ้นที2 revise3งานชิ้นที2 revise3
งานชิ้นที2 revise3
 

ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ

  • 3. คุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ คืออะไร คุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ (General Vocational Qualifications; GVQ) เป็นกรอบสมรรถนะและมาตรฐานสําหรับผู้ผ่านการเรียนหรือการ ฝึกอบรม แบบฐานสมรรถนะ (Competency-based Education/Training) โดย ใช้สถาบันการศึกษาหรือ ฝีกอบรมเป็นฐาน (Institution-based/School- based/College-based) ทั้งนี้สมรรถนะ ดังกล่าวต้องมีครบ 3 องค์ ประกอบ คือ ทักษะในการทํางานให้บรรลุ, ความรู้ความเข้าใจงานที่ทํา, และกิจนิสัยหรือเจตคติในการ ทํางานซึ่งก่อให้เกิดประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล กรอบสมรรถนะและมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพ ในช่วงระยะเวลาของการเรียนรู้และฝึกฝนทักษะในแต่ละภาคเรียนหรือ ปีการศึกษา ย่อมทําให้ ผู้เรียนมีสมรรถนะ หรือความสามารถเพิ่มขึ้นเป็น ระดับขั้นและเกิด ความแตกต่างของสมรรถนะอย่างมีนัยสําคัญ จึงสามารถ เขียนนิยามของแต่ละระดับหรือกําหนดเป็นเกณฑ์เปรียบเทียบสมรรถนะ (Benchmark)ของแต่ละระดับ ได้ดังต่อไปนี้ 2
  • 4. 1.คุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น
 (GVQS) (เมื่อสําเร็จหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น 30–225ชั่วโมง) นิยามของคุณวุฒิ GVQS
 สามารถปฏิบัติงานในขอบเขตที่กําหนด ซึ่งส่วนใหญ่เป็นงานประจํา และคาด คะเนได้ โดยใช้ทักษะพื้นฐานและหรือทักษะเฉพาะอาจต้องมี ความเป็นอิสระ ในการทาํงานและหรือการร่วมงานกับผู้อื่น 2.คุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพของหลักสูตรระดับปวช. (GVQ1–3) GVQ1(เมื่อได้เรียนประมาณ 1 ปีการศึกษาแรกของหลักสูตร ปวช.3ปี) นิยามของคุณวุฒิ GVQ1
 สามารถปฏิบัติงานในขอบเขตของงานที่กําหนดซึ่งส่วนใหญ่เป็นงาน ประจํา และคาดคะเนได้โดยใช้ทักษะพื้นฐานและหรือทักษะเฉพาะ รวม ถึงทักษะที่ สัมพันธ์กับการปฏิบัติงานและการมีส่วนรวมในคณะทํางาน GVQ2(เมื่อได้เรียนประมาณ2ปีการศึกษาของหลักสตูรปวช.3ปี) นิยามของคุณวุฒิ GVQ2
 สามารถปฏิบัติงานในขอบเขตของงานที่กําหนด ซึ่งส่วนใหญ่เป็นงาน ประจํา และมีความพร้อมในการปฏิบัติงานในขอบเขตงานหลากหลาย และบริบทต่างๆ ที่กําหนด รวมทั้งมีความรับผิดชอบส่วนตัวหรือความ เป็นอิสระและ/ หรือมีการร่วมงานกับผู้อื่นโดยเป็นสมาชิกกลุ่ม GVQ3 (เมื่อได้เรียนครบเกณฑ์การสําเร็จหลักสูตร ปวช.3ปี) นิยามของคุณวุฒิ GVQ3
 สามารถปฏิบัติงานทักษะในขอบเขตสําคัญและบริบทต่างๆ ท่ีสัมพันธ์ กัน ส่วน ใหญ่เป็นงานประจําที่รู้วิธิการและวิธีดําเนินการล่วงหน้า สามารถประยุกต์ ทักษะและความ้ไปสู่บริบทใหม่ๆ สามารถให้คําแนะ นําและแก้ปัญหาเฉพาะ ด้าน อาจต้องรับผิดชอบต่อผู้อื่นรวมทั้งมีส่วน ร่วมและ หรือมีการประสานงาน กลุ่มหรือหมู่คณะ 3 คุณวุฒิการศึกษาวิชาชีพของหลักสูตรระดับปวส. (GVQ4–5) GVQ4 (เมื่อได้ศึกษาประมาณ 1 ปีการศึกษา) นิยามของคุณวุฒิ GVQ4
 สามารถปฏิบัติงานโดยประยุกต์ทักษะที่ีขอบเขตทั่วไปของงานหลาก หลาย บางงานมีความซับซ้อนและไม่เป็นงานประจําสามารถแนะนําผู้ อื่น มีส่วนร่วม การจัดการและการแก้ปัญหา และมีความรับผิดชอบต่อ ผู้อื่นและหมู่คณะ GVQ5 (เมื่อได้ศึกษาครบเกณฑ์การสําเร็จหลักสูตร 2 ปี) นิ ย า ม ข อ ง คุ ณ วุ ฒิ G V Q 5
 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะในแนวทางของตนเองในการ วางแผน ทรัพยากรที่เหมาะสม มีส่วนร่วมพัฒนาวิธีการริเริ่มสิ่งใหม่ ๆ มีความรับผิดชอบ ตนเองและเป็นอิสระในการปฏิบัติงานที่ซับซ้อน หรือจัดการงานผูู้อื่น อาจมี ส่วนร่วมที่เกี่ยวกับการวางแผน การ ประเมินผล และการ ประสานงาน 3
  • 6. ผลจากการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9  ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ได้กำหนดให้จัดทำข้อตกลงยอมรับร่วมกัน (Mutual Recognition Arrangements : MRAs) ด้าน คุณสมบัติในสาขาวิชาชีพหลัก เพื่ออำนวยความสะดวกในการ เคลื่อนย้ายนักวิชาชีพ หรือแรงงานเชี่ยวชาญ หรือผู้มีความ สามารถพิเศษของอาเซียนได้อย่างเสรี ด้านคุณสมบัติในสาขา อาชีพหลัก เพื่ออำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้าย อาชีพในอาเซียน
  • 7. นักวิชาชีพ แรงงานเชี่ยวชาญ หรือผู้มีความสามารถพิเศษได้อย่างเสรีข้อ ตกลงเรื่องการเคลื่อนย้ายแรงงาน ฝีมือไปทำงานในประเทศกลุ่มอาเซียน ทั้ง 10 ประเทศ ได้อย่างเสรี ในปี พ.ศ.2558 อาชีพในอาเซียน หมายถึง..... วิชาชีพที่สามารถย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรีในประชาคมอาเซียน ประชาคมอาเซียนมีสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ วิชาชีพที่มีการตกลงให้เคลื่อน ย้ายหรือแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศสมาชิกนั้นได้แก่ 1. การรักษาหรือการแพทย์ (Medical services) 2. ทันตกรรม (dental services) 3. พยาบาล (nursing services) 4. วิศวกรรม  (engineering services) 5. สถาปัตยกรรม (architectural services) 6. การสำรวจ หรือนักสำรวจ (surveying qualification) 7. การบัญชี (accountancy services) และเมื่อไม่นานมานี้ก็ได้มีการตกลงให้เพิ่มวิชาชีพด้านการโรงแรม และการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นมา (hotel services and tourism) เมื่อมีการเปิด โอกาสให้มีการเคลื่อนย้ายแรงงาน ประเทศไทยก็อาจเป็นประเทศหนึ่งที่ แรงงานต่างชาติให้ความสนใจนี่จึงเป็นเหตุผลอีกประการหนึ่งที่ภาษา อังกฤษจะกลายเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับเราคนไทยมากขึ้น 6
  • 8. แพทย์ (MEDICAL PRACTITIONERS) แพทย์ คือ ผู้ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล หรือสถานพยาบาล โดยตรวจ คนไข้ ในที่อยู่ในความรับผิดชอบทุกวันและต้องตรวจคนไข้นอกที่เข้ามา รับการ รักษา ผู้ที่เป็นแพทย์อาจถูกเรียกตัวได้ทุกเวลาเพื่อทําการรักษา คนไข้ให้ทัน ท่วงที ผู้ที่เป็นแพทย์ต้องพร้อมเสมอที่จะสละเวลาเพื่อรักษา คนไข้ ในสถาน ที่ทํางานจะต้องพบเห็น คนเจ็บ คนป่วยและคนตาย แพทย์ จึงต้องมีจิตใจที่ เข้มแข็ง เพราะหากมีจิตใจที่อ่อนไหวต่อสิ่งที่ได้พบเห็นจะ มีผลกระทบต่อ การปฏิบัติงานได้ แนวทางในการประกอบอาชีพ 1. ตรวจร่างกาย วินิจฉัยโรค และสั่งยา 2. ผ่าตัดเล็ก 3. รักษาอาการบาดเจ็บ โรค และอาการผิดปกติต่างๆ ของผู้ป่วย 4. ตรวจผู้ป่วยและตรวจหรือสั่งตรวจทางเอ็กซเรย์หรือการทดสอบพิเศษ
 5. ถ้าต้องการรายละเอียดเพิ่มเติม พิจารณาผลการตรวจและผลการ 
 ทดสอบ ปรึกษาแพทย์เฉพาะทางหรือแพทย์อื่นตามความจําเป็น
 6. วินิจฉัยความผิดปกติ สั่งยา ทําการผ่าตัดเล็กหรือการรักษาอย่างอื่น
 7. แนะนําผู้ป่วยในเรื่องการปฏิบัติตนที่จําเป็นสําหรับการทะนุถนอม 
 สุขภาพหรือการกลับคืนสู่สภาพปกติ
 8. บริหารยาและยาสลบตามต้องการ
 9. ทําการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในระยะก่อนคลอด ทําการคลอด และให้การ ดูแลรักษามารดา และทารกหลังคลอด 10.เก็บรักษาบันทึกเกี่ยวกับผู้ป่วยที่ได้ตรวจโรคที่เป็นและการรักษาที่ได้ ให้หรือสั่ง อาจผสมยา อาจรับผิดชอบและสั่งงานสําหรับพยาบาลใน โรง พยาบาลหรือสถาบันอื่น 7
  • 9. ทันตแพทย์ (DENTAL PRACTITIONERS) ทันตแพทย์ คือ บุคคลที่ประกอบอาชีพป้องกัน และรักษาโรค ความผิด ปกติ หรือภาวะในช่องปาก บริเวณใบหน้าขากรรไกร และ/ หรือบริเวณใกล้เคียงและโครงสร้างอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และผลกระทบต่อ ร่างกายมนุษย์ แนวทางในการประกอบอาชีพ 1. ให้การรักษาโรค และความผิดปกติของฟันและช่องปากด้วยการ ศัลยกรรม ให้ยา และวิธีการอื่นๆ
 2. ตรวจปากและฟันของผู้ป่วย
 3. ใช้เครื่องเอ็กซเรย์และทดสอบตามความจำเป็น เพื่อจะได้ทราบถึง ลักษณะของความผิดปกติ
 4. พิจารณาผลของการตรวจและการทดสอบ และตกลงใจเลือกวิธีการรักษา หารูฟันผุ ทำความสะอาดและอุดรูฟันผุ และถอนฟัน ที่เป็นโรคหรือไม่ได้ใช้ ให้เกิดประโยชน์
 5. พิมพ์ปากและจำลองแบบของเหงือก และส่วนอื่นๆ ของปาก เพื่อใช้ใน การประดิษฐ์ฟันปลอม และใส่ฟันปลอม
 6. ใส่เครื่องยึดเพื่อจัดฟันที่มีลักษณะผิดปกติหรือเก ให้อยู่ในตำแหน่งที่ถูก ต้อง
 7. รักษาโรคฟัน ปากหรือเหงือกด้วยการใช้ยาหรือศัลยกรรม ให้ยาชาหรือ วางยาสลบตามความจำเป็น อาจทำเฉพาะทางในการรักษาอย่างใดอย่าง หนึ่ง หรือมากกว่า 8
  • 10. พยาบาล (NURSING SERVICES) พยาบาล คือ ผู้รักษา ดูแล และให้คำแนะนำเกี่ยวกับการพยาบาล เป็นผู้ ช่วยแพทย์ โดยการสังเกต และบันทึกความเปลี่ยนแปลงในคนไข้ รายงาน ให้แพทย์ทราบถึงอาการของคนไข้ตามลักษณะโรคที่เป็นทั้งร่างกาย อารมณ์ และจิตใจ ช่วยฟื้นฟูสุขภาพของคนไข้ ช่วยคนไข้ให้ปรับตัวเข้ากับ ภาวะขัดข้องใดๆ ที่อาจเกิด จากการเจ็บป่วย จัดให้คนไข้ มีสิ่งแวดล้อมที่ ถูกสุขอนามัย ป้องกันและควบคุมการเผยแพร่ของโรคติดเชื้อ สอนคนไข้ และประชาชนทั่วไปให้รู้จักการดูแลและส่งเสริมสุขภาพวางแผน มอบ หมาย สั่งการ ดูแล และประเมินผลงานของผู้ช่วยพยาบาล และผู้ทำหน้าที่ ประสานงาน ร่วมงานกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายการแพทย์ และอนามัยแขนงอื่นๆ ในการบริการคนไข้ แนวทางในการประกอบอาชีพ 1. ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลของรัฐและเอกชน สถานพยาบาล(คลีนิค) 2. สถานพักฟื้น สถานฟื้นฟู ดูแลรักษาสุขภาพ สถานสงเคราะห์ เด็ก หรือ คนชรา สถานอนุบาลเด็กทารกหรือเด็กก่อนวัยเรียน 3. สถานการศึกษา เช่น โรงเรียน วิทยาลัย และมหาวิทยาลัย สถาน ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม สถานีอนามัย คลีนิคในชุมชนพยาบาล ประจำบ้าน หรือส่วนบุคคล เป็นต้น 4. ธุรกิจประกันชีวิต 5. นักวิจัยให้กับหน่วยงานต่างๆ ทั้งในประเทศ และองค์กรระหว่างประเทศ 
 เช่น International HIV/AIDS Research Project 6. เจ้าหน้าที่พยาบาลหรือที่ปรึกษาในองค์การระหว่างประเทศ องค์กร พัฒนาเอกชน 7. เจ้าหน้าที่แนะนำ Product Specialist ให้บริษัทขายยา และเคมีภัณฑ์ 9
  • 11. วิศวกรรม   (ENGINEERING SERVICES) วิศวกร คือ ผู้นำเอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้กับปัญหา ต่างๆในลักษณะการคิดค้นการออกแบบการปรับปรุงการเปลี่ยนแปลง ทรัพยากรธรรมชาติต่างๆ ที่มีอยู่ เพื่อส่ง เสริมสภาวะแวดล้อมให้เหมาะสม กับความเป็นอยู่ของมนุษย์ แนวทางในการประกอบอาชีพ 1. เป็นวิศวกรรมควบคุมงานก่อสร้างอาคารต่างๆ ทางหลวง เขื่อนต่าง ๆ
 2. ทำงานด้านวิศวกรรมเกษตรทุกสาขา
 3. ทำงานด้านเครื่องจักรและระบบกระแสไฟฟ้า
 4. ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม
 5. ทำงานเป็นอาจารย์สอนในมหาวิทยาลัย 10
  • 12. สถาปนิก (ARCHITECTURAL SERVICES) สถาปนิก คือผู้ที่จะทำหน้าที่ออกแบบอาคาร สิ่งก่อสร้าง และควบคุมการ ก่อสร้างร่วมกับวิศวกร คำนวณวัสดุ เวลา และราคาของค่าแบบก่อสร้าง และการก่อสร้างที่เหมาะสมให้คำแนะนำในเรื่องวัสดุก่อสร้างที่ให้ ประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ว่าจ้างและเป็นไปตามกฎข้อบังคับของท้องถิ่น และ แบบลักษณะทางสถาปัตยกรรม แนวทางในการประกอบอาชีพ 1. บันทึกรายละเอียด ความต้องการของลูกค้า เพื่อออกแบบให้ตรงตาม ความต้องการของลูกค้า 2. ออกแบบ คำนวณแบบ เลือกวัสดุที่มีคุณภาพเหมาะสมและให้ประโยชน์ สูงสุดกับลูกค้า 3. คำนวณรายการใช้จ่ายให้เหมาะสมกับเนื้องาน 4. เตรียมแบบ และส่งแบบที่วาดโดยช่างเขียนแบบให้ลูกค้าพิจารณา เพื่อ ดัดแปลงแก้ไขและตอบข้อซักถามของ ลูกค้าร่วมกับวิศวกร 5. เมื่อแก้ไขดัดแปลงให้สมบูรณ์แล้วจึงส่งแบบให้กับวิศวกรทำการก่อสร้าง 6. ออกปฏิบัติงานร่วมกับวิศวกรระหว่างทำการก่อสร้างเพื่อให้ใช้วัสดุและ ตามแบบที่วางไว้ตามเงื่อนไขสัญญา 7. ให้คำปรึกษาต่อวิศวกรและแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นจากการก่อสร้างและ การคำนวณของวิศวกร 11
  • 13. นักสำรวจ (SURVEYING QUALIFICATIONS) นักสำรวจ คือ ผู้ควบคุมและทำการสำรวจพื้นดินและท้องน้ำ เพื่องานทำ แผนที่หรือแผนภูมิงานก่อสร้าง งานเหมืองแร่ หรือเพื่องานอื่นๆ โดยการ กำหนดสถานที่ตั้ง และวาดภาพแสดงลักษณะภูมิประเทศรวมถึงการสำรวจ บริเวณพื้นดินและท้องน้ำ การสำรวจบริเวณทะเล และเหมืองแร่ และการ สำรวจประเภทอื่นๆ เป็นผู้ช่วยนักสำรวจเกี่ยวกับการใช้ และดูแลรักษา เครื่องมือต่างๆ ในขณะปฏิบัติงาน ช่วยแปลข้อมูลที่ได้จากงานสนาม และ ทำงานอื่นๆที่คล้ายคลึงกัน แนวทางในการประกอบอาชีพ 1.ควบคุมและทำการสำรวจพื้นดินและท้องน้ำเพื่อการทำแผนที่หรือแผนภูมิ งานก่อสร้างงานเหมืองแร่หรืองานอื่นๆโดยกำหนดสถานที่ตั้ง
 2.วาดภาพแสดงลักษณะภูมิประเทศตรวจสอบบันทึกแผนที่แผนผังโฉนด และเอกสารที่เกี่ยวข้องตลอดจนทำการคำนวณเบื้องต้นซึ่งจำเป็นสำหรับ งานสำรวจ
 3.ตรวจสอบและปรับกล้องรังวัดหรือกล้องทำแผนที่เข็มทิศโต๊ะสำรวจและ เครื่องมือสำรวจอื่นๆ
 4.สำรวจและสั่งงานผู้ช่วยเพื่อให้การปฏิบัติงานตรงตามสถานที่ที่กำหนด และเพื่อความแน่นอนเกี่ยวกับการวัดระหว่างจุดต่างๆ
 5.ทำการคำนวณเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของสิ่งที่วัดได้
 6.บันทึกการใช้มาตรการต่างๆและการคำนวณรวมทั้งการเขียนแบบร่าง พื้นที่บริเวณที่ทำการสำรวจ
 7.จัดทำแบบวาดโดยละเอียด และทำรายงาน 12
  • 14. พนักงานบัญชี ( ACCOUNTANCY SERVICES ) พนักงานบัญชี คือ ผู้ให้บริการทางการบัญชีแก่สถานประกอบการธุรกิจ สถาบันเอกชน หรือหน่วยงานรัฐบาล รวมถึงการดูแลการทำบัญชี และการ ตรวจสอบบัญชี แนวทางในการประกอบอาชีพ 1. การวิเคราะห์รายการธุรกิจและบันทึกผลทางการเงิน
 2. การรับรองความถูกต้องและความครบถ้วนในการทำบัญชี และเอกสาร ทางการเงิน
 3. การให้คำแนะนำเกี่ยวกับการสอบบัญชี การวางแผนทางบัญชี และการ วางระบบทางบัญชีแก่สถานประกอบการต่างๆ 13
  • 17. 1. ประโยชน์ของการพัฒนาตนเองในงานอาชีพ ในการทำงานไม่ว่าสาขาอาชีพใดก็ตาม ย่อมต้องมีการปรับตัว เพื่อให้เกิดความคล่องตัว และประสบความสำเร็จในงานอาชีพ ในด้าน อาชีพคอมพิวเตอร์นั้น บุคลากรที่เป็นนักคอมพิวเตอร์ นอกจากจะคำนึงถึงประโยชน์ในส่วนตนแล้ว ยังต้องคำนึงถึงความรับผิดชอบต่อ สังคมด้วย จะเห็นได้ว่าการพัฒนาตนเองในงานอาชีพนั้น มีผลดีทั้งต่อตนเอง และสังคมอีกด้วย ประโยชน์ของการพัฒนาตนเองในงาน อาชีพมีดังนี้ 1. ช่วยเพิ่มพูนความรู้ความสามารถ 2. ช่วยให้เกิดความเชื่อมั่นในตนเอง 3. ช่วยให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน 4. ช่วยให้เกิดการยอมรับนับถือในสังคมวิชาชีพ 5. ช่วยให้เกิดความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่การงาน 6. ช่วยให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างผลงาน 16
  • 18. 2. หลักในการพัฒนาตนเองในงานอาชีพ การพัฒนาตนเองอย่างถูกวิธี และต่อเนื่อง ย่อมนำไปสู่ความสำเร็จ สำหรับผู้มีอาชีพทางด้านคอมพิวเตอร์จะต้องมีการพัฒนาตนเองให้มี ความเป็นผู้ทันโลก ทันเหตุการณ์อยู่เสมอ โดยบทบาทแล้วนักคอมพิวเตอร์เปรียบเสมือนผู้เชื่อมโยงสังคมให้ก้าวไปสู่โลกแห่งอนาคต ด้วยความรู้ที่ทันสมัยอยู่เสมอ ดังนั้นนักคอมพิวเตอร์จะต้องมีหลักในการพัฒนาตนตนเอง ดังนี้ 1. การพัฒนาตนเองตามหลักทั่วไป 2. การพัฒนาตนเองตามแนวพระราชดำริ 3. การพัฒนาตนเองตามแนวพุทธศาสนา 3. การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่องานอาชีพ งานอาชีพคอมพิวเตอร์นับว่ามีความสำคัญต่อหน่วยงาน สถาบันและองค์กรทางธุรกิจมากมาย ดังนั้นผู้ที่เป็นนักคอมพิวเตอร์ จำเป็นจะ ต้องมีบุคลิกที่เอื้ออำนวยให้เกิดภาพลักษณ์ในทางบวกต่อตนเองและงานอาชีพในที่นี้จะขอกล่าวถึงบุคลิกภาพที่พึงประสงค์ในงาน อาชีพคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นการพัฒนาปรับปรุงบุคลิกภาพให้ผู้ทีเกี่ยวข้องเกิดความเชื่อถือศรัทธา และเป็นที่ยอมรับของผู้ที่มาติดต่อ สื่อสาร ไม่ว่าจะเป็นลูกค้าผู้ใช้บริการหรือนายจ้าง บุคลิกภาพของนักคอมพิวเตอร์จึงมีส่วนช่วยให้การทำงานประสบความสำเร็จ ฉะนั้น จึงควรมีการพัฒนาบุคลิกภาพในด้านต่างๆ ต่อไปนี้ 1. รู้จักพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รอบรู้ โดยเฉพาะความรอบรู้ที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ และต้องมีความทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ หมั่น ติดตามข่าวคราว และความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีพที่ทำอยู่ 17
  • 19. 2. รู้จักฝึกตนเองให้เป็นผู้มีมานะอดทน งานอาชีพคอมพิวเตอร์เป็นงานที่ทำอยู่กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ดังนั้นการนั่งทำงานนานๆ อาจ เกิดความเครียดเมื่อยล้าหรือเบื่อหน่ายได้ง่าย หากต้องการให้งานสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ นักคอมพิวเตอร์จะต้องเป็นผู้ที่มีความ มานะอดทนเป็นอย่างมาก 3. รู้จักฝึกตนเองให้เป็นผู้ที่มีความเชื่อมั่นในตนเอง นอกจากความรู้และทักษะแล้ว นักคอมพิวเตอร์จะต้องเป็นผู้ที่มีความเชื่อมั่นใน ตนเองด้วย เพราะงานบางอย่างต้องดำเนินการตัดสินใจทันที หากขาดความเชื่อมั่น ความกล้าที่จะเผชิญปัญหาและอุปสรรคทุกด้าน เกิด ความลังเลที่จะตัดสินใจ อาจทำให้พลาดโอกาสหรืออาจเกิดผลเสียขึ้นได้ 4. รู้จักปรับตัวในด้านความมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี เป็นการปรับสภาพภายในจิตใจให้มีความเป็นผู้ใหญ่ มีอารมณ์เยือกเย็น สุขุม รอบคอบ รู้จักการประนีประนอม การผ่อนสั้นผ่อนยาว รู้จักควบคุมตนเองนอกจากปรับตัวเพื่อให้มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีแล้ว ยังควรมี มารยาทในการติดต่อสื่อสารและมีศิลปะการพูดด้วย 5. รู้จักปรับตัวให้ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ โดยการเรียนรู้วิธีการที่จะทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างเป็นสุข มีการประสานงานกันอย่างราบรื่น มีเป้าหมายในการทำงานที่ตรงกัน ควรหลีกเลี่ยงความขัดแย้ง และรู้จักวิธีการอมชอมเมื่อเกิดความขัดแย้ง พยายามสร้างความเป็นมิตร กับผู้ร่วมงานทุกคน 6. รู้จักฝึกตนเองให้เป็นคนตรงต่อเวลาในการนัดหมาย ในชีวิตการทำงานการรักษาเวลาเป็นเรื่องที่สำคัญมาก และเป็นมารยาททาง สังคมอย่างหนึ่ง ดังนั้นเมื่อมีการนัดหมายเจรจา ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการประชุม การส่งมอบงานหรือการนัดหมายเจรจาใดๆ นัก คอมพิวเตอร์ควรให้ความสำคัญในตนเองการตรงต่อเวลาอย่างเคร่งครัด 7. รู้จักฝึกตนเองให้มีความรับผิดชอบในการทำงาน การทำงานไม่ว่าหน้าที่ใดๆ ก็ตาม หากปราศจากความรับผิดชอบ โอกาสที่จะ เกิดผลเสียย่อมมีขึ้นอย่างแน่นอน ดังนั้นในการปฏิบัติงานทุกชนิดจะต้องตั้งใจทำ และมีความรับผิดชอบในงานนั้นๆ อย่างจริงใจ 8. รู้จักตนเองในด้านการแต่งกายให้เหมาะสมกับงานและตำแหน่ง เครื่องแต่งกายที่เหมาะสมเป็นสิ่งที่ช่วยเสริมสร้างบุคลิกภาพให้ แก่ผู้สวมใส่ได้เป็นอย่างดี นอกจากจะช่วยสร้างบุคลิกภาพแล้ว ยังสร้างความประทับใจให้แก่ผู้ที่พบเห็นอีกด้วย 18
  • 20. 9. รู้จักคิดและพัฒนาอุปนิสัยให้เป็นคนที่ซื่อสัตย์ และมีความ จริงใจต่อผู้อื่น เพราะจะช่วยสร้างมิตรภาพและความไว้วางใจ ในการติดต่อหรือคบค้าสมาคมกัน ความจริงใจจะต้องไม่เส แสร้ง ควรแสดงออกอย่างเป็นธรรมชาติ เพราะอีกฝ่ายหนึ่งจะ สามารถสังเกตเห็นจากพฤติกรรมที่แสดงออกและจากทาง สายตา 10. รู้จักทำตนให้เป็นคนกล้ายอมรับความจริง คนเราย่อมมี ความผิดพลาด หรือข้อบกพร่องที่แตกต่างกันออกไป การกล้าที่ จะยอมรับ แล้วปรับปรุงข้อบกพร่องหรือความผิดต่างๆ เหล่านั้น นับว่าเป็นคนที่มีเหตุผล จิตใจหนักแน่น ดังนั้นจึงมีโอกาสที่จะ ก้าวหน้า ประสบความสำเร็จใจอาชีพการงานมากกว่าคนที่ไม่ กล้ายอมรับความจริง 19
  • 22. สิ่งแวดล้อมต่างๆ ในการทำงานจะเป็นปัจจัยในการตัดสิน สมรรถภาพ ในการทำงานของเรา อีกทั้งยังเป็นตัวบ่งชี้ว่าเรามี นิสัยการทำงานที่ถูกสุขลักษณะ และปลอดภัยหรือไม่ การ ปฎิบัติตามคำแนะนำ จะทำให้เกิดสิ่งแวดล้อมที่ถูกสูขลักษณะ  ซึ่งจะทำให้เกิดประสิธิภาพ และความปลอดภัยในการทำงาน 
 สิ่งแวดล้อมและความ ปลอดภัยในการทำงาน
  • 23. ความปลอดภัยในการทำงาน คืออะไร สภาพที่ปลอดภัยจากอุบติเหตุต่าง ๆ อันจะเกิดแก่ร่างกาย ชีวิตหรือทรัพย์สิน ในขณะที่ปฏิบัติงาน ซึ่งก็คือ สภาพการทำงานที่ถูกต้องโดยปราศจากอุบัตืเหตุ ในการทำงานนั่นเอง อุบัติเหตุ คือ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างไม่คาดหมายและเมื่อเกิดขึ้นแล้วจะมีผล กระทบกระเทือนต่อการทำงาน ทำให้ทรัพย์สินเสียหาย หรือบุคคลได้รับบบาด เจ็บ การเกิดอุบัติเหตุนั้นมักจะมีตัวการที่สำคัญอยู่ 3 ประการคือ 1. ตัวบุคคล คือ ผู้ประกอบการงานในหน้าที่ต่าง ๆ และเป็นสาเหตุหลักที่ก่อให้ เกิดอุบัติเหตุ 2. สิ่งแวดล้อม คือ ตัวองค์กรหรือโรงงานที่บุคคลนั้นทำงานอยู่ 3. เครื่องมือ เครื่องจักร คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการทำงาน 22
  • 24. “สถานที่น่าอยู่ น่าทำงาน” หมายถึง สถานที่ทำงานที่มีการจัดการสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการมี สุขภาพดีของคนทำงานทุกคน รวมทั้งจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพให้ เกิดความสุขกาย สบายใจในการทำงาน แนวทางในการดำเนินงาน ทำได้ดังนี้ 1. กำหนดนโยบายด้านการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 
 โดยผู้บริหารขององค์กร
 2. กำหนดกฎระเบียบในการทำงานที่เอื้อต่อสุขภาพและความ 
 ปลอดภัย เช่น ห้ามสูบบุหรี่ ห้ามดื่มสุราในสถานที่ทำงาน
 3. ทุกคนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสถานที่ทำงานให้น่าอยู่ น่าทำงาน
 4. ร่วมกันพัฒนาสิ่งแวดล้อมในการทำงานให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดี 
 และมีความปลอดภัย
 5. จัดกิจกรรม/โครงการจัดการสิ่งแวดล้อมและการส่งเสริมสุขภาพ
 ในที่ทำงาน เช่น โครงการ 5 ส.
 6. ประสานงานกับหน่วยบริการสุขภาพ เพื่อส่งเสริมให้คนทำงานมี
 สุขภาพจิตที่ดี ทั้งกายและใจ
 7. ติดตาม ตรวจสอบ การดำเนินงาน เพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง 23