SlideShare a Scribd company logo
1 of 107
Download to read offline
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดตอการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
นางสาวกตัญชลี เวชวิมล
วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาวิทยาศาสตรสภาวะแวดลอม สหสาขาวิชาวิทยาศาสตรสภาวะแวดลอม
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ปการศึกษา 2543
ISBN 974-13-1274-1
ลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
EFFECTS OF MOISTURE AND SUNLIGHT ON MURAL PAINTINGS IN TEMPLES
MISS KATUNCHALEE WECHWIMOL
A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements
for the Degree of Master of Science in Environmental Science
Inter-Departmental Program in Environmental Science
Graduate School
Chulalongkorn University
Academic Year 2000
ISBN 974-13-1274-1
หัวขอวิทยานิพนธ อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดตอการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝา
ผนังในวัด
โดย นางสาวกตัญชลี เวชวิมล
สาขาวิชา วิทยาศาสตรสภาวะแวดลอม
อาจารยที่ปรึกษา ผูชวยศาสตราจารย ดร. สุรพล สุดารา
อาจารยที่ปรึกษารวม นางจิราภรณ อรัณยะนาค
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อนุมัติใหนับวิทยานิพนธฉบับนี้เปนสวน
หนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต
……………………………………..คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
(ศาสตราจารย ดร. สุชาดา กีระนันทน)
คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ
……………………………………………..ประธานกรรมการ
(ผูชวยศาสตราจารย ดร. พิพัฒน พัฒนผลไพบูลย)
……………………………………………..อาจารยที่ปรึกษา
(ผูชวยศาสตราจารย ดร. สุรพล สุดารา)
………………………………………..อาจารยที่ปรึกษารวม
(นางจิราภรณ อรัณยะนาค)
……………………………………………..กรรมการ
(ผูชวยศาสตราจารย ดร. กําธร ธีรคุปต)
กตัญชลี เวชวิมล : อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดตอการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนัง
ในวัด. (EFFECTS OF MOISTURE AND SUNLIGHT ON MURAL PAINTINGS IN
TEMPLES) อ. ที่ปรึกษา : ผศ. ดร. สุรพล สุดารา อ. ที่ปรึกษารวม : นางจิราภรณ อรัณยะ
นาค, 96 หนา. ISBN 974-13 -1274-1.
เปนที่ทราบกันวาความชื้นและแสงแดดเปนสาเหตุหลักตอการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในประเทศ
ไทย การศึกษาปจจัยเหลานี้ไดเลือกวัดเปาโรหิตยใหเปนตัวอยางของวัดที่มีการตัดผนังโดยสอดแผนเหล็กไรสนิมเพื่อ
กันความชื้นจากใตดิน และเลือกวัดสุวรรณารามราชวรวิหารเปนตัวอยางของวัดที่ไมไดตัดผนังกันความชื้น เนื่องจาก
วัดทั้งสองอยูใกลแหลงน้ําและภาพจิตรกรรมอยูในสมัยใกลเคียงกัน โดยมีการศึกษาปริมาณความชื้นบนผนัง ความชื้น
สัมพัทธในอากาศ ปริมาณความเขมแสงบนผนัง และรังสีอัลตราไวโอเลตบนผนัง สวนการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝา
ผนังภายในอุโบสถนั้น ศึกษาจากเปอรเซ็นตการเสื่อมสภาพและชนิดของเกลือบนผนัง ผลการศึกษายืนยันวาการตัด
ผนังกันความชื้นโดยใชแผนเหล็กไรสนิมฝงในผนังนั้นสามารถกันน้ําซึมจากใตดินได แตยังคงมีปญหาจากเกลือที่ยัง
หลงเหลือในผนัง วัดเปาโรหิตยมีปริมาณความชื้นบนผนังนอยกวาวัดสุวรรณารามฯ แตความชื้นสัมพัทธในอากาศ
ภายในอุโบสถของทั้ง 2 วัดไมแตกตางกัน โดยที่วัดสุวรรณารามฯ มีความชื้นสัมพัทธในอากาศภายในอุโบสถนอยกวา
ภายนอกอุโบสถ ในขณะที่วัดเปาโรหิตยมีความชื้นสัมพัทธในอากาศทั้งภายในและภายนอกอุโบสถไมแตกตางกัน โดย
ปริมาณความชื้นบนผนังของทั้ง 2 วัด มีความสัมพันธแปรตามความชื้นสัมพัทธในอากาศภายในอุโบสถ การ
เปลี่ยนแปลงของปริมาณความชื้นบนผนังจะขึ้นอยูกับ ความสูงจากพื้นของตําแหนงที่วัดความชื้น ฤดูกาล และทิศที่ตั้ง
ของผนัง สําหรับชวงเวลาของวันนั้นพบวาไมมีผลตอการเปลี่ยนแปลงปริมาณความชื้นบนผนัง นอกจากนี้พบวาวัดเปา
โรหิตยมีปริมาณความเขมแสงและรังสีอัลตราไวโอเลตบนผนังมากกวาวัดสุวรรณาราม โดยที่การเปลี่ยนแปลงปริมาณ
ความเขมแสงและรังสีอัลตราไวโอเลตบนผนังขึ้นอยูกับฤดูกาล ชวงเวลาของวันและทิศที่ตั้งของผนัง ในวัดเปาโรหิตย
พบวาปริมาณความชื้นบนผนังมีความสัมพันธแปรตามปริมาณความเขมแสงและอัลตราไวโอเลต แตเปนความสัมพันธ
ในระดับนอยมาก ในขณะที่วัดสุวรรณารามฯ ปริมาณความชื้นบนผนังไมมีความสัมพันธกับปริมาณความเขมแสงและ
รังสีอัลตราไวโอเลต การเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัดสุวรรณารามฯคิดเปนเปอรเซ็นตพบวามีความสัมพันธ
แปรตามปริมาณความชื้นบนผนัง แตไมมีความสัมพันธกับปริมาณความเขมแสงและรังสีอัลตราไวโอเลตบนผนัง
ในขณะที่วัดเปาโรหิตย เปอรเซ็นตการเสื่อมสภาพไมสามารถหาความสัมพันธกับทั้ง 3 ปจจัยได เพราะสวนลางของ
จิตรกรรมฝาผนังไดถูกฉาบปูนไวจึงไมมีภาพเหลืออยูในสวนนี้แลว เกลือที่พบบนผนังของทั้ง 2 วัดนั้นพบวาเปนเกลือที่
เปนสวนประกอบของวัสดุกอสราง ไมใชเกลือที่มาจากน้ําใตดิน
สหสาขาวิชา…..วิทยาศาสตรสภาวะแวดลอม……ลายมือชื่อนิสิต……………………………………
สาขาวิชา…..วิทยาศาสตรสภาวะแวดลอม………ลายมือชื่ออาจารยที่ปรึกษา………………………
ปการศึกษา…..2543………………………………ลายมือชื่ออาจารยที่ปรึกษารวม…………………
# # 4172201923 : MAJOR INTER-DEPARTMENT OF ENVIRONMENTAL SCIENCE
KEY WORD: MURAL PAINTING / DETERIORATION / MOISTURE / SUNLIGHT / CULTURAL ENVIRONMENT
KATUNCHALEE WECHWIMOL : อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดตอการเสื่อมสภาพของ
จิตรกรรมฝาผนังในวัด (EFFECTS OF MOISTURE AND SUNLIGHT ON MURAL PAINTINGS IN
TEMPLES) THESIS ADVISOR : ASSIST. PROF. SURAPHOL SUDARA, Ph.D., THESIS
COADVISOR : CHIRAPORN ARANYANARK, 96 pp. ISBN 974-13-1274-1.
Moisture and sunlight are known to be the main factors causing deterioration to the mural
paintings in Thailand. To study these factors, Wat Paorohit, which already inserted stainless steel
sheets into the wall to prevent rising damp, had been selected to compare with Wat Suwannaram
Ratchaworaviharn, which did not do so. These two temples were selected since their locations were
closed to the water catchments and these two temples were decorated with the same age mural
paintings. The study involved moisture on surface wall, relative humidity, light intensity and UV
radiation on surface wall. The study on deterioration of the mural painting was the estimation in
percentage of deterioration space together with analyzing the component of various salt remained on
surface wall. The study revealed that waterproof membrane can prevent rising damp but the problem
still exists from the remaining salt on the wall. The moisture on surface wall in Wat Paorohit was lower
than in Wat Suwannaram. The relative humidity in the interior of both of temples was not different. The
interior relative humidity in Wat Suwannaram was higher than the exterior relative humidity, but the
interior relative humidity in Wat Paorohit was not different from the exterior relative humidity. Moisture
on surface wall of both temples related to interior relative humidity. Moisture on surface wall
depended on the height levels from ground, seasons and position of the wall. No difference on time
of the day for moisture on surface wall. Furthermore, light intensity and UV radiation in Wat Paorohit
were higher than Wat Suwannaram. Light intensity and UV radiation depended on seasons, time of
the day and position of wall. Moisture on surface wall in Wat Paorohit related to light intensity and UV
radiation but in a rather low level. While moisture on surface wall in Wat Suwannaram did not relate to
light intensity nor UV radiation. Percentage in deterioration of mural paintings in Wat Suwannaram
showed relation to moisture on surface wall but did not show relation to light intensity and UV
radiation on the wall. While in Wat Paorohit, percentage in deterioration could not be concluded on
the relationships to all of three factors because the lower part of mural painting in this temple used to
be cover with mortar. Varieties of salt found on the walls of both temples are composite of building
materials, which is not salt from rising damp.
Department..Inter-department of Environmental Science Student’s signature…………………………
Field of study…..Environmental Science………………… Advisor’s signature…………………………
Academic year……….2000……………………………….. Co-advisor’s signature……………………..
กิตติกรรมประกาศ
วิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี เนื่องจากความชวยเหลือของบุคคล และ
หนวยงาน ดังตอไปนี้
ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณเจาอาวาสวัดสุวรรณารามราชวรวิหาร และเจาอาวาสวัดเปา
โรหิตย ที่ใหความอนุเคราะหในการใชสถานที่ปฏิบัติการวิจัย รวมทั้งทานพระครูเมธังกร หลวงตา
ประเสริฐ และเณรขวัญ ที่ชวยอํานวยความสะดวกในการใชสถานที่
ขอกราบขอบพระคุณ อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุ
รพล สุดารา และผูชวยศาสตราจารย ดร.กําธร ธีรคุปต ที่ใหคําแนะนํา ปรึกษา และชวยเหลือ
ผูวิจัยดวยดีตลอดมา
ขอกราบขอบพระคุณ อาจารยจิราภรณ อรัณยะนาค ที่กรุณาสละเวลามาเปนอาจารยที่
ปรึกษาวิทยานิพนธรวม พรอมทั้งใหคําแนะนํา ปรึกษา และชวยเหลือเปนอยางดียิ่ง
ขอขอบพระคุณสวนวิทยาศาสตรเพื่อการอนุรักษ ที่ใหความอนุเคราะหเครื่องมือ
Thermohygrograph, Lux Meter และ UV Monitor ในการทําการวิจัย รวมทั้งขอขอบพระคุณ
คุณกิ่งกมล จุลประสิทธิ์พงษ คุณวาสนา สายัณหันสมิตร และเจาหนาที่ทุกทานที่ชวยอํานวยความ
สะดวกในการทําวิจัยครั้งนี้
ขอขอบพระคุณ สหสาขาวิชาวิทยาศาสตรสภาวะแวดลอม ที่ใหความอนุเคราะห
เครื่องมือ Moisture Meter ในการทําวิจัย และสนับสนุนทุนวิจัยบางสวน และขอขอบพระคุณ
บัณฑิตวิทยาลัยที่มอบทุนอุดหนุนการวิจัยในการทําวิทยานิพนธครั้งนี้ดวย
ขอขอบคุณ คุณเบญจมาศ วองวรกิจ คุณฐิติยา เทวัญอิทธิกร คุณปวีณา ดานกุล คุณศิ
ริวรรณ แกวงาม คุณชนิตรนันทน จั่นมณี คุณสรวุฒิ อัครวัชรางกูร คุณจิณัฐตา วัดคํา คุณพัชริ
นทร ฉัตรประเสริฐ คุณสมานชัย เลิศกมลวิทย และคุณกฤติมา ทศชนะ ที่คอยชวยเหลือและให
กําลังใจ รวมทั้งเพื่อน ๆ ทุกคนที่ใหกําลังใจเสมอมา
ขอขอบคุณ คุณภวีณา เวชวิมล คุณปวิณและคุณปวรรษ กมลเสรีรัตน ที่ชวยเก็บ
ตัวอยางตลอดระยะเวลาที่ทําการวิจัย และชวยลงแรงในดานตาง ๆ
ขอกราบขอบพระคุณ คุณประทม กมลเสรีรัตน คุณปาของผูวิจัย ที่คอยชวยเหลือและให
กําลังใจเสมอ
สุดทายนี้ ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณคุณพอและคุณแม ที่สนับสนุน และชวยเหลือในทุก
ๆ ดาน รวมทั้งใหความรัก ความหวงใย และเปนกําลังใจใหแกผูวิจัยตลอดมา
บทที่ 1
บทนํา
1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา
ประเทศไทยมีพุทธศาสนาเปนศาสนาคูบานคูเมืองมาชานาน โบราณสถานที่มีอยู
มากมายทั่วทุกภาคของประเทศจึงเปนสิ่งกอสรางประเภทวัดเสียเปนสวนใหญ โบราณสถาน
ดังกลาวมักมีจิตรกรรมฝาผนังที่สรางขึ้นเพื่อนอกจากประดับศาสนสถานใหงดงามแลว ยังทําให
ผูชมภาพเกิดความรูสึกเลื่อมใสศรัทธา และไดทราบเรื่องราววรรณกรรมและคําสั่งสอนใน
พระพุทธศาสนา ความงามของจิตรกรรมฝาผนังอันบงใหเห็นถึงรสนิยมและคุณลักษณะพิเศษที่
เปนเอกลักษณของชาติไทยโดยเฉพาะ นอกจากนี้จิตรกรรมฝาผนังยังมีคุณคาในฐานะเปน
แหลงขอมูลสําหรับการศึกษาทางวิชาการดานตาง ๆ ในอดีต ไมวาจะเปนดานประวัติศาสตร
โบราณคดี ชีวิตความเปนอยู จารีตประเพณี วัฒนธรรม ตลอดจนวิวัฒนาการในแตละยุคสมัย
เนื่องจากชางเขียนในสมัยใดยอมถายทอดสิ่งแวดลอม และความเปนไปในสมัยนั้นไวในจิตรกรรม
ที่ทานสรางขึ้น ดังนั้นจิตรกรรมฝาผนังซึ่งเปนหลักฐานสําคัญของชาติจึงควรไดรับการอนุรักษใหคง
อยูสืบไปจนถึงคนรุนหลัง
การอนุรักษจิตรกรรมฝาผนังเปนวิชาการที่นําความรูดานวิทยาศาสตรมาผสมผสานกับ
ความรูดานเทคนิคการชางไทยโบราณ ซึ่งสําหรับการทํางานดานวิทยาศาสตร วิธีที่ดีที่สุดของการ
อนุรักษตองเริ่มจากการหาสาเหตุของการเสื่อมสภาพ เพื่อจะไดหาวิธีปองกันและกําจัดสาเหตุ
ทั้งหลายเหลานั้น
การเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังสวนใหญมีสาเหตุมาจาก ปจจัยสิ่งแวดลอมตาง ๆ
ตามธรรมชาติ และจากการกระทําของมนุษย โดยถามีการจัดการที่ดีและมีการดูแลที่ เขมงวด
จะสามารถควบคุมการเสื่อมสภาพที่เกิดจากการกระทําของมนุษยไวได แตสําหรับการเสื่อมสภาพ
ที่เกิดจากปจจัยสิ่งแวดลอมตาง ๆ ตามธรรมชาตินั้น ความรูและขอมูลในเรื่องดังกลาวในเมืองไทย
ยังมีอยูนอย ทําใหการควบคุมและการจัดการเพื่ออนุรักษจิตรกรรมฝาผนังเปนไปไดยาก จึงควรมี
การศึกษาเรื่องปจจัยสิ่งแวดลอมที่มีผลตอการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังใหมากขึ้น
2
ประเทศไทยที่มีภูมิอากาศแบบรอนชื้น ปจจัยสิ่งแวดลอมที่เปนสาเหตุสําคัญตอการ
เสื่อมสภาพของโบราณสถาน รวมทั้งจิตรกรรมฝาผนังดวย คือ ความชื้น และแสงแดด เนื่องจาก
ประเทศไทยตั้งอยูในพื้นที่ที่ไดรับอิทธิพลของลมมรสุมเขตรอน และมีความแตกตางระหวางฤดูฝน
และฤดูแลงคอนขางมาก โดยในฤดูฝนมีฝนตกถึง 5 เดือน จากกลางเดือน พฤษภาคม ถึง
กลางเดือน ตุลาคม ขณะที่อีก 7 เดือนที่เหลือซึ่งเปนฤดูแลง มีฝนตกเพียงเล็กนอยเทานั้น ทําใหมี
การระเหยของน้ําสม่ําเสมอตลอดทั้งป ดังนั้น การมีฝนตกจึงเปนตัวแทนของฤดูฝนขณะที่การ
ระเหยของน้ําเปนตัวแทนในฤดูแลง (Meteorological Department, 1994 อางถึงใน Kuchitsu,
Ishizaki และ Nishiura, 1999) ซึ่งการมีฝนตกและการระเหยของน้ํายอมเกี่ยวของกับความชื้น
และแสงแดดอยางหลีกเลี่ยงไมได
ความชื้นเปนตัวการที่ทําใหวัสดุเกิดการเสื่อมสภาพทั้งกระบวนการทางกายภาพ เคมี
และชีววิทยา เชน การเกิดรอยความชื้นบนผนัง การเกิดผลึกเกลือโดยความชื้นชักนํามาจากใตดิน
การทําปฏิกิริยาระหวางวัสดุกับสารในบรรยากาศและในดินโดยใชความชื้นเปนตัวกลาง และการ
ใชความชื้นในการเจริญเติบโตบนวัสดุของพืช จุลินทรีย และแมลงตาง ๆ (Richardson, 1991)
สําหรับแสงแดดจะทําใหวัสดุที่ทําจากอินทรียวัตถุเสื่อมสภาพอยางเห็นไดชัด โดยจะเปลี่ยนแปลง
ลักษณะทั้งทางกายภาพและเคมีของวัสดุ เชน ทําใหผนังมีสภาพแหงกรอบ เปราะ บางครั้งเปอย
ยุย สีซีดจางหรือสีเปลี่ยนไปจากเดิม (จิราภรณ อรัณยะนาค, 2540) นอกจากนี้ยังมีผลตอการ
เปลี่ยนแปลงทางชีววิทยาดวย โดยแสงเปนปจจัยสําคัญในการสังเคราะหแสง ทําใหเอื้อตอการ
เจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตบนวัสดุ (โรจน คุณเอนก, 2540)
ไดเริ่มมีการศึกษาเกี่ยวกับการแกปญหาความชื้นในประเทศไทย คือการศึกษาเรื่องการ
ปองกันความชื้นจากน้ําใตดิน เพราะเปนอันตรายที่เกิดขึ้นอยางรายแรงกับจิตรกรรม ฝาผนัง วิธี
ปองกันคือการตัดความชื้นไมใหน้ําจากใตดินซึมขึ้นไปสูผนังได โดยการเจาะผนังแลวฝงแผนเหล็ก
ไรสนิมเขาไปวางไวในฝาผนัง เพื่อมิใหความชื้นมาจากพื้นสูผนังเหนือแผนเหล็กดังกลาว วัดใน
กรุงเทพมหานครที่ไดแกปญหาโดยการตัดความชื้นแลว ไดแก วัดบรมนิวาสราชวรวิหาร วัดบาง
ขุนเทียนใน วัดชองนนทรี วัดเปาโรหิตย และวัดในตางจังหวัด ไดแก วัดหนอพุทธางกูล จังหวัด
สุพรรณบุรี วัดเกาะแกวสุทธาราม และวัดใหญสุวรรณาราม จังหวัดเพชรบุรี วัดใหญอินทาราม
และวัดใตตนลาน จังหวัดชลบุรี เปนตน (จิราภรณ อรัณยะนาค, 23 กรกฎาคม 2542, สัมภาษณ)
3
การศึกษาครั้งนี้ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของการตัดความชื้นที่ผนัง และ เปรียบเทียบ
การเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังหลังจากการแกปญหาโดยการตัดความชื้นที่ผนัง ที่วัดเปา
โรหิตย โดยเปรียบเทียบกับวัดที่ยังไมไดตัดความชื้น ที่วัดสุวรรณารามราชวรวิหาร โดยศึกษาจาก
ปริมาณความชื้น ลักษณะการทําลายที่สังเกตเห็นไดบนผิวอาคาร และการเกิดผลึกเกลือ รวมทั้ง
ศึกษาลักษณะการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังที่มีสาเหตุมาจากแสงแดด โดยเปรียบเทียบ
ความเขมแสงและรังสีอัลตราไวโอเลตที่มีผลตอการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนัง
1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา
1. เปรียบเทียบปจจัยดานความชื้นและแสงแดดในวัดที่แกปญหาเรื่องความชื้นกับวัดที่
ไมไดแกปญหาเรื่องความชื้น
2. เพื่อศึกษาลักษณะการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังที่มีสาเหตุมาจากความชื้น ใน
วัดที่ทําการศึกษา ในรอบป
3. เพื่อศึกษาลักษณะการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังที่มีสาเหตุมาจากแสงแดด ใน
วัดที่ทําการศึกษา ในรอบป
1.3 ขอบเขตของการศึกษา
1. การศึกษาจะทําภายในอุโบสถของวัดเปาโรหิตย และวัดสุวรรณารามราชวรวิหาร
โดยจะศึกษาเฉพาะจิตรกรรมบนผนังชวงลางซึ่งเปนหองภาพระหวางชองประตูและหนาตาง
เทานั้น
2. ศึกษาปจจัยของความชื้น จะศึกษาโดยการวัดความชื้นสัมพัทธในอากาศภายใน
อุโบสถ และความชื้นบนผนัง
3. ศึกษาปจจัยของแสงแดด จะศึกษาโดยการวัดความเขมแสงและปริมาณรังสี
อัลตราไวโอเลตบนผนัง
4. ศึกษาลักษณะการเสื่อมสภาพจากความชื้นและแสงแดด จะศึกษาโดยการประเมิน
เปอรเซ็นตการเสื่อมสภาพของผนัง และการหาชนิดของเกลือบนผนังเทานั้น
4
1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1. เปนการประเมินความเหมาะสมของวิธีตัดความชื้นโดยใชแผนเหล็กสอดกั้นเพื่อ
แกปญหาความชื้นกับจิตรกรรมฝาผนัง
2. เปนขอมูลพื้นฐานในการศึกษาการเสื่อมสภาพที่มีสาเหตุมาจากความชื้น และ
แสงแดด ในโบราณสถานแหลงอื่น ๆ ตอไป
3. ใชเปนแนวทางในการอนุรักษโบราณสถาน บานเรือน และอาคารสํานักงานตาง ๆ
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
2.1 จิตรกรรมฝาผนัง
จิตรกรรม คืองานศิลปะสาขาหนึ่ง ที่เรียกวาวิจิตรศิลป หรือวิสุทธิศิลป หมายถึงศิลปะ
บริสุทธิ์ ซึ่งเกิดจากการสรรคสรางของจิตรกร ทั้งทางความคิด ความบันดาลใจ และจินตนาการ จน
เกิดเปนมโนภาพ ซึ่งชางเขียนจะถายทอดมโนภาพนั้นใหปรากฏออกมาเปนภาพเขียน คือเปนการ
สรางสรรคสิ่งที่เปนนามธรรมใหปรากฏเปนรูปธรรม อันจะทําใหผูชมเกิดความประจักษแหงศิลปะ
นั้น และมีผลใหจิตใจเปนสุขในทางคุณธรรม จริยธรรม และสุนทรียศาสตร นั่นก็คือ จิตรกรรมเปน
เครื่องสงเสริมใหจิตใจสูงขึ้น (วรรณิภา ณ สงขลา, 2528)
การเขียนจิตรกรรมฝาผนังมีวัตถุประสงคเพื่อจะตกแตงพื้นผนังใหสวยงาม แตอยางไรก็
ดีลักษณะของจิตรกรรมนั้นก็ขึ้นอยูกับลักษณะของตัวอาคารที่สรางขึ้นดวย สําหรับในประเทศไทย
เรานั้น ภาพจิตรกรรมฝาผนังสวนใหญมักจะปรากฏอยูภายในโบสถหรือวิหาร ซึ่งเปนการเขียนเรื่อง
เกี่ยวกับศาสนาเปนสวนใหญ เปนตนวาเขียนเปนรูปพระพุทธเจา หรือเรื่องราวที่มีอยูในพุทธ
ประวัติและในนิทานชาดก ทั้งนี้ก็เพื่อจะนอมนําชักจูงใหผูดูเกิดความเลื่อมใสและซาบซื้งในรสพระ
ธรรมคําสั่งสอนยิ่งขึ้น และอีกประการหนึ่ง ภายในโบสถวิหาร เมื่อไดเขาไปแลวจะตองชวยให
คนเราเกิดความรูสึกปลีกตนไปเสียจากโลกภายนอก เพราะเหตุนี้ภาพจิตรกรรมในโบสถวิหารจึง
ตองใหความรูสึกสงบและลี้ลับดวย (ชมพูนุท พงษประยูร, 2512)
2.1.1 ลักษณะของจิตรกรรมสมัยตาง ๆ ในประเทศไทย
วรรณิภา ณ สงขลา (2528) กลาววาลักษณะของจิตรกรรมสมัยตาง ๆ มีระเบียบแบบ
แผน เปนเอกลักษณของแตละยุคแตละสมัย จําแนกไดดังนี้
สมัยกอนประวัติศาสตร ในสมัยยุคหินยังไมพบหลักฐานที่ชัดเจนเกี่ยวกับจิตรกรรม
ฝาผนัง จิตรกรรมที่พบสวนใหญอยูในยุคสําริด ซึ่งมีอายุประมาณ 4500-2000 ป เปนจิตรกรรมบน
หิน ผนังถ้ํา เพิงผา หรือภาชนะดินเผา การเขียนภาพในยุคนี้ ใชวิธีเขียนสีผสมกาวลงบนฝาผนังหิน
ไมมีรองพื้น สําหรับลวดลายที่เขียนบนภาชนะดินเผา เปนเทคนิคอยางหนึ่ง ซึ่งเขียนดวยสีดินแดง
บนภาชนะดินดิบ เสร็จเรียบรอยแลวจึงนําไปเผา
6
สมัยทวารวดี เปนงานจิตรกรรมเริ่มแรกของสมัยประวัติศาสตร จิตรกรรมเปนภาพ
ลายเสนสลักบนแผนหิน แผนอิฐ แผนโลหะ และลวดลายปูนปน โดยเขียนเปนรูปลวดลาย รูปคน
และสัตวตาง ๆ จิตรกรรมมีอิทธิพลของศิลปะแบบคุปตะของอินเดีย มีอายุประมาณพุทธศตวรรษที่
11-13 สีที่ใชเขียนมีสีดินแดง ดินเหลือง ดํา(เขมา) และขาว(หินปูน) จิตรกรรมบางแหงในสมัยทวาร
วดีนี้มีลักษณะนาสันนิษฐานวาเขียนขึ้นดวยเทคนิคการเขียนสีปูนเปยก (Real Fresco
Technique)
สมัยศรีวิชัย จิตรกรรมฝาผนังในถ้ําศิลปะ จังหวัดยะลา มีอายุประมาณพุทธศตวรรษที่
13-18 มีรูปแบบและลักษณะของจิตรกรรมเปนแบบศรีวิชัย เขียนสีเอกรงค วรรณะสวนใหญเปนสี
ดินแดง และมีสีดินเหลือง ขาว ดํา เปนสวนประกอบ เทคนิคการเขียนภาพเขียนดวยสีฝุนบนพื้น
ผนังถ้ําที่เตรียมรองพื้นดวยสีขาว ภาพเปนเรื่องพระพุทธประวัติ ภาพพระพุทธรูปมีลักษณะคลาย
ประติมากรรมชวา
สมัยสุโขทัย มีอายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 18-19 จิตรกรรมเปนเรื่องชาดกและภาพ
พระพุทธรูป ซึ่งมีลักษณะคลายแบบพระพุทธรูปอินเดียและลังกา การเขียนภาพใชเทคนิคสีฝุน
ผสมกาว วรรณะของสีเปนเอกรงคและปดทอง สีที่ใชมีสีแดง เหลือง ดําและขาว
สมัยอยุธยา พุทธศตวรรษที่ 20 - พ.ศ. 2310 จิตรกรรมไทยไดมีวิวัฒนาการอยาง
กวางขวางและชัดเจน เริ่มตั้งแตกลางพุทธศตวรรษที่ 20 สามารถจัดแยกเปน 3 ยุค ดังนี้
ยุคที่ 1 (พ.ศ. 1895 - 2031) จิตรกรรมฝาผนังมีรูปแบบเปนภาพเทวดาขนาดเล็ก อาจทํา
ตามแบบภาพในสมุดไตรภูมิ นิยมเขียนภาพพระพุทธรูป พระสาวก ชาดกพระโพธิสัตว และ
ลวดลายประดับแบบตางๆ วรรณะของสีเปนเอกรงค สีที่ใชมีสีแดง เหลือง ดํา ขาว และปดทอง
การเขียนภาพใชเขียนดวยสีฝุนผสมกาว และมีจุดประสงคในการสรางขึ้นเพื่อการกราบไหวบูชา
ยุคที่ 2 (พ.ศ. 2034-2172) จิตรกรรมยังเปนสีเอกรงค นิยมเขียนตามแบบเดิม คือ เขียน
ภาพพระพุทธรูป พระสาวก พระโพธิสัตว พระอดีตพุทธชาดก และลวดลายตางๆ พื้นหลังเปนสี
ออน ภาพเขียนเปนแบบ 2 มิติ แบนราบ เขียนสีบาง รองพื้นบาง บางแหงไมมีรองพื้น สีที่ใชมี 4 สี
เหมือนเดิม และมีสีแดงชาดเพิ่มขึ้นอีก 1 สี ลักษณะจิตรกรรมมีอิทธิพลศิลปะอูทองและลพบุรีผสม
อยูมาก
7
ยุคที่ 3 (พ.ศ. 2177-2310) งานชางศิลปกรรมของอยุธยาไดเจริญขึ้นอยางมาก
เนื่องจากมีการติดตอกับชาวตางประเทศ และไดรับเอาความเจริญทางดานศิลปวิทยาการ
ตลอดจนวัสดุและเครื่องมืออุปกรณตาง ๆ เขามาประยุกตใชในงานชางไทย จึงเกิดการ
เปลี่ยนแปลงขึ้นหลายอยางในจิตรกรรมไทย คือ
- จิตรกรรมเดิมเปนสีเอกรงค เปลี่ยนเปนพหุรงค มีสีเขียวออน ดินเขียว ฟา และมวง
เพิ่มขึ้น
- ภาพเปน 2 มิติตามเดิม แตพื้นหลังของภาพและทิวทัศนมีความลึกไกล เปน ทัศนีย
วิสัยแบบภาพเขียนจีน ภาพตนไมและสายน้ํามีลักษณะออนไหวเลื่อนไหล
- มีภาพชาวตางประเทศและเรือเดินสมุทรชาติตาง ๆ เปนภาพแปลกใหมในจิตรกรรม
ไทย แตเปนภาพที่เขียนขึ้นจากความเปนจริงในยุคนั้น
สมัยรัตนโกสินทร (พ.ศ.2325 - ปจจุบัน) จิตรกรรมดําเนินตามแบบอยางจิตรกรรม
สมัยอยุธยาตอนปลาย วรรณะของสีใชสีสดจัดและตัดกันแรงกลา มีองคประกอบของกลุมภาพที่
งดงาม และมีรายละเอียดที่วิจิตรประณีตเปนพิเศษ
จิตรกรรมในสมัยรัชกาลที่ 1-3 ชางเขียนไดรับความบันดาลใจจากสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้น
ในสมัยนั้น เชน เหตุการณบานเมือง ชีวิตความเปนอยู สังคม ประเพณี การแตงกาย ลักษณะ
บานเรือน วัดวาอาราม ปราสาทพระราชวัง ธรรมชาติและหมูสัตวตาง ๆ เปนแบบในการสรางสรรค
ภาพเขียน ทําใหจิตรกรรมมีลักษณะพิเศษ คือ สีพื้นเปนสีเขม ภาพคนและสถาปตยกรรมเดน
ออกมาเปนกลุม ๆ ใชสีจัด และนิยมใชสีตรงขามตัดกันอยางรุนแรง แตน้ําหนักของสีที่ตัดกันนั้น
ประสานกันอยางกลมกลืน และเพิ่มความละเอียดประณีตในสวนที่เปนลวดลายเครื่องประดับ
ยิ่งขึ้น ในยุคนี้การเขียนภาพนิยมเขียนภาพพระพุทธประวัติ ชาดกและวรรณกรรมทางศาสนา โดย
ไดจัดระเบียบเปนแบบอยางยึดถือกันเปนหลัก คือผนังดานขางชวงบนติดฝาเพดานเขียนวิทยาธร
มีสินเทาคั่น แลวมีเทพชุมนุม 1-5 ชั้น ตามความสูงของฝาผนังชวงเหนือหนาตางขึ้นไป ระหวาง
ชองหนาตางและประตูเปนภาพชาดก หรือพระพุทธประวัติเปนตอน ๆ เรียงลําดับกันไป สวนฝา
ผนังดานหนาเขียนภาพมารผจญ ดานหลังเขียนไตรภูมิหรือเสด็จจากดาวดึงส การเขียนตามแบบนี้
เปนแบบที่นิยมเขียนกันมากที่สุด
จิตรกรรมในสมัยรัชกาลที่ 4 เปนตนมาถึงปจจุบัน จิตรกรรมฝาผนังแบบประเพณีเริ่ม
เปลี่ยนไป เนื่องจากมีอิทธิพลศิลปกรรมแบบตะวันตกเขามาผสมผสานอยางมาก ลักษณะ
8
จิตรกรรมซึ่งเปนภาพแบนราบกลับมีทัศนียวิสัย ภาพมีความลึกไกล เปนภาพ 3 มิติ ลักษณะตัว
ภาพบุคคล สิ่งแวดลอม สถาปตยกรรมก็เปนแบบตะวันตก และมีลักษณะเหมือนจริงมากกวา
แบบเดิม ซึ่งเขียนขึ้นตามแบบอุดมคติ ภาพอาคารสถาปตยกรรมเหมือนกับแบบที่มีปรากฏอยูจริง
ในสมัยนั้น เชน จิตรกรรมฝาผนังในพระราชอุโบสถวัดราชประดิษฐมีภาพพระที่นั่งตาง ๆ ใน
พระบรมมหาราชวัง วัดพระศรีรัตนศาสดาราม วัดราชประดิษฐ วัดราชบพิธ และภาพวัดสุทัศน
ปรากฏอยู เปนตน
2.1.2 วิธีการเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนัง ชมพูนุท พงษประยูร (2512) กลาววา
จิตรกรรมที่นิยมเขียนในประเทศไทยคือ วิธีเขียนแบบสีฝุน (TEMPERA) ซึ่งการเขียนแบบสีฝุนนี้
เปนวิธีการที่ละเอียดและประณีตที่สุด การใชสีฝุนจะตองมีการตระเตรียมพื้นผนัง คือ ในตอนแรก
จะตองราดลางดวยน้ําผสมใบขี้เหล็กตํา วิธีนี้จะตองทําทั้งเชาทั้งเย็นตลอดเวลา 7 วัน ตอจากนั้น
จะตองมีการทดสอบดูวาผนังยังมีความเค็มอยูอีกหรือเปลา วิธีทดสอบก็คือใชขมิ้นถู ถาขมิ้น
กลายเปนสีแดงก็แสดงวา ยังมีความเค็มอยู และตองใชน้ําผสมใบขี้เหล็กราดลางตอไปอีก ขั้น
ตอไปก็คือลางผนังดวยน้ําเปลา แลวจึงทาผนังดวยปูนขาวผสมกับเม็ดมะขามซึ่งคั่วเมล็ดเสียกอน
แลวตม หลังจากนั้นขัดพื้นใหเรียบแลวเริ่มตนเขียนภาพได สีที่จะใชเขียนก็ตองผสมกับยางไมชนิด
หนึ่งคือยางมะขวิดหรือกาว ถาผนังแหงสนิทแลวและไดที่ดีแลว พื้นผนังที่เขียนภาพสีฝุนไวจะแข็ง
มากและคงทนอยูไดนับเปนเวลารอย ๆ ป แตถาฝาผนังเปยกชื้น ภาพผนังจะคอย ๆ เสื่อมสูญไป นี้
เปนมูลเหตุสําคัญที่ภาพเขียนเกา ๆ ในประเทศไทยเหลือแตเพียงสวนนอย
สําหรับสีที่ใชเขียน ชางเขียนแตกอนใชดินหรือสีจากใบไมและเปลือกไม สีทั้ง 2 ชนิดนี้
เปนสีธรรมชาติซึ่งประสานกันไดดี ดวยเหตุนี้เราจะไมเห็นสีที่ขัดกันในจิตรกรรมแบบโบราณ
สําหรับพูกันที่ใชในการเขียนภาพนั้น เปนพูกันที่ทําขึ้นจากขนหูวัว
2.2 การเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนัง
การเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนัง เชนเดียวกับการเสื่อมสภาพของสิ่งแวดลอม
ศิลปกรรมอื่น ๆ คือมีสาเหตุมาจาก 2 ปจจัยหลัก ดังนี้
9
1. การเสื่อมสภาพที่มีสาเหตุมาจากมนุษย ทั้งจากการทําลายโดยเจตนาและไมเจตนา
การบํารุงรักษาไมเหมาะสม การบูรณะซอมแซมผิดวิธี การจับตองที่ขาดความระมัดระวัง ตลอดจน
ความบกพรองของวัสดุอุปกรณและเทคนิคการสรางงานจิตรกรรม ปญหาการเสื่อมสภาพที่มี
สาเหตุมาจากมนุษยนี้ สามารถปองกันหรือทําการควบคุมได หากมีการใหความรูและรวมมือกัน
อยางจริงจังในทุกหนวยงาน
2. การเสื่อมสภาพที่มีสาเหตุมาจากปจจัยทางสิ่งแวดลอม ไดแกอุณหภูมิ ความชื้น
แสงแดด ความรอน มลภาวะทางอากาศ เปนตน โดยปจจัยเหลานี้นอกจากมีผลตอการ
เสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังโดยตรง เชนทําใหเกิดการเสียรูปราง บิดงอ ภาพลบ สีซีด เนื้อวัสดุ
กรอบเปราะ ยังสงผลใหเกิดปจจัยอื่นที่มีผลตอการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังตามมา ดวย
ซึ่งการเสื่อมสภาพเนื่องจากปจจัยทางสิ่งแวดลอมควบคุมไดยาก จึงตองมีการศึกษาเพื่อหาวิธีมา
จัดการกับสาเหตุนี้
2.2.1 ความชื้น
ความชื้นเปนสาเหตุสําคัญที่สุดในการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนัง เนื่องจาก
ความชื้นสามารถเคลื่อนที่ไดหลายรูปแบบ และสามารถกระตุนปฏิกิริยาขั้นอื่น ๆ ตอไป ทําใหมีผล
ตอการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังได เชน การเกิดผลึกเกลือบนผนัง การเจริญเติบโตของ
สาหราย และราบนผนัง เปนตน (Mora, 1974)
โดยปกติ วัสดุที่ใชในการกอสรางสวนใหญจะมีรูพรุน ทําใหน้ําสามารถผานเขาออกได
วัสดุเหลานี้จะแลกเปลี่ยนความชื้นกับอากาศตลอดเวลา ซึ่งวัสดุจะทั้งรับและสูญเสียความชื้น
ขึ้นอยูกับขณะนั้นอากาศมีความชื้นมากหรือนอยกวาวัสดุ และในที่สุดเมื่อความชื้นสัมพันธใน
อากาศไมเปลี่ยนแปลง ปริมาณความชื้นในวัสดุจะคงที่เรียกวา อยูในสภาวะสมดุลกับอากาศ ถา
ความชื้นสัมพัทธในอากาศเปลี่ยนแปลงอีกครั้ง ปริมาณความชื้นในวัสดุจะคอย ๆ เปลี่ยนดวย
ดังนั้นความชื้นสัมพัทธในอากาศแตละคาจะมีคาปริมาณความชื้นที่แนนอนที่ทําใหวัสดุอยูใน
สภาวะสมดุลกับอากาศ โดยคาเหลานี้จะแตกตางกันออกไปในวัสดุกอสรางแตละชนิด โดยปกติจะ
ถือวาวัสดุชื้น เมื่อความชื้นในวัสดุมีคามากกวาความชื้นที่วัสดุสามารถมีไดในสภาวะที่สมดุลกับ
อากาศ (Oxley and Gobert, 1983)
10
2.2.1.1 ประเภทของความชื้นที่ทําลายผนัง
รูปที่ 2-1 ประเภทของความชื้นในผนัง 1. ความชื้นที่ไหลซึมไปสูผนัง (Infiltration) 2.ความชื้นที่ขึ้นไปตามแรง
ดึงในรูพรุนของผนัง (Capillarity) 3. ความชื้นที่กลั่นตัวจับอยูบนผนัง (Condensation) 4. ฝนและลม
5. ฝนและลมทําใหผนังเย็นจัดจนเกิดการกลั่นตัวที่ผนังดานใน. E. ผนังภายนอกอาคาร (External) I.
ผนังภายในอาคาร (Internal)
ที่มา : Poulo Mora (1974)
11
1. ความชื้นที่ปะทะ/สัมผัสกับผนังโดยตรง ความชื้นประเภทนี้จะมาจากน้ําฝนที่สาด
โดนผิวหนาของผนังดานนอกอาคาร (รูปที่ 2-1) ถาดานนอกอาคารมีภาพวาดบนผนังจะถูกน้ําฝน
ทําลายไดงาย เชน โบสถบางแหงใน Moldavia ซึ่งมีภาพวาดแบบ fresco อยูบนผนังดานนอก
(Mora, 1974)
นอกจากกรณีที่ฝนสาดโดนผนังโดยตรงแลว ฝนอาจจะตกลงบนที่อื่นบนอาคารแลวไหล
มาที่ผนังอีกที ซึ่งกรณีนี้นับวาอันตรายมาก เพราะน้ําฝนสามารถละลายสารที่ละลายน้ําไดมาตาม
ทาง และเมื่อน้ําระเหยไป เกลือจะตกผลึกอยูบนผิวหนาของผนัง ทําใหผนังชํารุดเสียหายได
(Bernard, 1982)
อยางไรก็ตามจิตรกรรมฝาผนังของวัดในประเทศไทย เปนจิตรกรรมที่วาดบนผนังดานใน
อาคาร เพราะฉะนั้นความชื้นประเภทนี้จะไมนํามาพิจารณาในการศึกษาครั้งนี้
2. ความชื้นที่ไหลซึมไปสูผนัง (Infiltration) แหลงกําเนิดที่สําคัญของความชื้น
ประเภทนี้คือน้ําฝน โดยน้ําฝนสามารถไหลซึมเขาไปในผนังไดจากการชํารุดเสียหายของอาคาร
เชนจากหลังคา (ดังรูปที่ 2-2) ทางสันกําแพงและรอยแตกราวของผนังดานนอก นอกจากนี้
ความชื้นสามารถมาจากน้ําในระบบน้ําของอาคารดวย เชนจากรอยรั่วของระบบระบายน้ํา หรือ
รอยรั่วจากทอประปา เปนตน (Mora,1974)
วรรณิภา ณ สงขลา (2531) ไดจําแนกลักษณะการเสื่อมสภาพของจิตรกรรม ฝาผนัง
ในประเทศไทยที่มีสาเหตุจากน้ําฝนไหลซึมไวดังนี้
1. น้ําฝนรั่วจากหลังคาไหลลงมาตามผนัง จิตรกรรมชํารุดตามทางน้ําไหลจากเพดานลง
มาเปนแนวเสนดิ่ง
2. น้ําฝนรั่วซึมเขาทางสันกําแพงผนัง ทําใหผนังตอนบนชื้น จิตรกรรมและวัสดุ
กอสรางชวงบนจะเสื่อมยุยสลายตัวเปนแถบ หรือเปนวง หรือเปนแนวโคงแบบรอยน้ําซึม
3. น้ําฝนซึมเขาทางรอยแตกราวของฝาผนังดานนอก ลักษณะของการชํารุดเปนแบบ
เดียวกันกับขอ 2 แตเกิดขึ้นทั่วไปทุกสวนของฝาผนังที่ปรากฏวามีรอยแตกราวของฝาผนัง ดาน
นอก
12
รูปที่ 2-2 รอยน้ําฝนรั่วจากหลังคา วัดสุวรรณารามราชวรวิหาร
3. ความชื้นที่กลั่นตัวจับอยูบนผนัง (Condensation) (รูปที่ 2-1) จะเกิดในกรณีที่
อุณหภูมิที่ผิวหนาผนังลดลงจนต่ํากวาจุดน้ําคางของอากาศ อากาศที่มาสัมผัสกับผนังจะเย็นลง
จนถึงจุดน้ําคางและหยดน้ําจะกลั่นตัวออกมาจับอยูบนผนัง (Oxley and Gobert, 1983)
อยางไรก็ตาม Mora (1974) กลาววาการกลั่นตัวของความชื้นที่จับอยูบนผนัง จะเกิดขึ้น
ไดในสภาวะที่ผนังมีความหนานอยมาก หรือความตานทานต่ําหรือการนําความรอนสูง จึงจะ
สามารถเกิดการกลั่นตัวที่จะใหความชื้นจับตัวบนผนังดานในได ซึ่งโดยทั่วไปโบราณสถานมีผนัง
หนาเกินกวาจะเกิดเหตุการณดังกลาว นอกจากนี้การเกิดปรากฏการณการจับตัวของความชื้นที่
ผนังจากการกลั่นตัวของหยดน้ํา มักจะเกิดขึ้นในประเทศซึ่งมีอุณหภูมิเฉลี่ยในเดือนมกราคมต่ํา
กวา 2 ๐
C จึงไมนําความชื้นประเภทนี้มาพิจารณาในการศึกษาครั้งนี้
4. ความชื้นที่ขึ้นไปตามแรงดึงในรูพรุนของผนัง (Capillarity) (รูปที่ 2-1) ความชื้น
ประเภทนี้มีแหลงกําเนิดมาจากน้ําในดิน ใตดินหรือน้ําฝนที่ทวมขังบริเวณฐานอาคาร โดยน้ํา
เหลานี้จะขึ้นมาตามรูพรุนในผนังและจะปรากฎใหเห็นรอยชํารุดเปนแนวทางยาวจากพื้นถึงที่ความ
สูงระดับหนึ่ง ๆ ดังรูป 2-3 หรือบางครั้งจะปรากฎเกลือตกผลึกอยูดวย โดยปกติเมื่อน้ําสัมผัสกับ
วัสดุที่แหง น้ําจะพยายามแพรกระจายไปทั่วผิวหนาที่เปยกน้ําไดของวัสดุ และตอจากนั้นจะซึม
ผานเขาไปในวัสดุ สําหรับในรูพรุนของวัสดุกอสราง น้ําจะพยายามแพรกระจายไปทั่วผิวหนาที่
13
เปยกน้ําไดเชนเดียวกัน ทําใหเกิดแรงดันน้ําขึ้น แตดวยแรงดึงดูดของโลกจะดึงน้ําลงมา ทําใหน้ําใน
รูพรุนเกิดการเวาลง ดังรูป 2-4 ดังนั้นจึงกลาวไดวาน้ําสามารถขึ้นไปตามรูพรุนไดเนื่องจากอาศัย
แรงดึงของรูพรุน หรือ Capillary Attraction (Oxley and Gobert, 1983) แตเนื่องจากในความ
เปนจริง รูพรุนและรอยแตกหักในผนังไมตอเนื่องกัน กระบวนการที่เกิดขึ้นจึงเปนไปอยางชา ๆ
รูปที่ 2-3 รอยความชื้นจากน้ําใตดิน
โดยปกติการเคลื่อนที่ของความชื้นขึ้นไปตามรูพรุนจะมีคาไมเกินครึ่งถึง 1 เมตร ถาไมมี
การปดกั้นการระเหยของน้ําจากผนัง แตถาการระเหยของน้ําถูกปดกั้น เชน มีการบุผนังดวย
กระเบื้องเคลือบหรือหินออน น้ําจะระเหยตรงผิวที่อยูเหนือวัสดุเหลานี้ ทําใหระดับของน้ําที่ขึ้นไป
ตามรูพรุนสูงมากขึ้น (Oxley and Gobert, 1983)
การระเหยของน้ําออกจากผนัง จะเกิดที่ผิวหนาของผนัง โดยความชื้นขางในวัสดุตอง
เคลื่อนที่มาที่ผิวหนาของผนังเพื่อจะสามารถระเหยไปสูอากาศได ถาการเคลื่อนที่ของน้ําเกิดจาก
แรงดึงในรูพรุน ผิวหนาจะไดรับน้ําอยางสม่ําเสมอ ทําใหมีการระเหยที่ผิวหนาอยางตอเนื่อง แตถา
แรงดึงในรูพรุนนอย ความชื้นจะมาไมถึงผิวหนา ผิวหนาจะแหงและแนวการระเหยจะเลื่อนลงมา
เกิดที่ใตผนัง ไอน้ําจากการระเหยจะเกิดในรูพรุนระหวางแนวการระเหยกับผิวหนาของผนัง กอนที่
จะเคลื่อนที่ไปที่ผิวหนาและระเหยในที่สุด ซึ่งปจจัยที่มีผลตอการระเหยของน้ําออกจากวัสดุที่มีรู
พรุน มีดังนี้
14
1. ลักษณะของสภาวะแวดลอมโดยรอบ ไดแก อุณหภูมิ ความชื้นสัมพันธในอากาศ และ
ปริมาณการระบายอากาศ
2. ลักษณะของโครงสรางของวัสดุที่มีผลตอการเคลื่อนที่ของน้ําไปยังผิวหนา เชนความ
เปนรูพรุนของวัสดุทั้งจํานวนและขนาดของรูพรุน โดยวัสดุที่มีรูพรุนขนาดเล็กจะทําใหน้ําเคลื่อนที่
มาถึงผิวหนาของผนังไดมาก ทําใหน้ําระเหยออกไดมาก ในขณะที่วัสดุที่มีรูพรุนขนาดใหญและ
วัสดุที่มีจํานวนรูพรุนนอย จะตานทานการเคลื่อนที่ของน้ําไดมาก ทําใหน้ําระเหยออกไดนอย
(Mora, 1974)
รูปที่ 2-4 แรงดึงในรูพรุน
ที่มา : Oxley and Gobert (1983)
ดังไดกลาวมาแลววา แหลงกําเนิดของความชื้นประเภทนี้มาจากน้ําในดินหรือใตดิน น้ํา
เหลานี้จะสามารถละลายสารที่ละลายน้ําได เชน เกลือตาง ๆ ในดิน เมื่อน้ําขึ้นไปตามแรงดึงในรู
พรุน หรือรอยแตกของผนัง สารละลายหรือสารผสมของเกลือในน้ําจะถูกสงผานขึ้นมาดวย ในฤดู
แลงน้ําจะระเหยออกจากผนัง เกลือไมสามารถระเหยได จะตกผลึกอยูบนผิวหนาของผนัง หรือ
ภายในรูพรุน หรือเกิดทั้ง 2 แหง การเกิดเกลือบนผิวหนาของผนัง เรียกวา Efflorescence สวนการ
เกิดเกลือภายในรูพรุนซึ่งมองไมเห็นนั้น เรียกวา Cryptoflorescence ปรากฏการณทั้ง 2 แบบนี้
สามารถเกิดพรอมกันได (Honeyborne, 1991)
การเกิดผลึกเกลือในชวงแรก อาจมองดวยตาเปลาไมเห็น แตหลังจากที่ผาน วัฏจักร
ของฤดูฝนและฤดูแลงหลายครั้ง ทําใหเกลือละลายและตกผลึกซ้ําแลวซ้ําเลา ผลึกจะมีขนาดโตขึ้น
ทําใหสามารถมองเห็นผลึกเกลือบริเวณผิวหนาวัสดุได การละลายของผลึกเกลือนี้ ไมจําเปนตอง
ไดรับมาจากน้ําที่ผานผนัง เกลือบางชนิดสามารถดูดน้ําจากอากาศได เมื่อปริมาณมากพอจะ
ละลายและจะทําใหผนังเปยกไดเชนเดียวกัน แมไมมีแหลงกําเนิดความชื้นเลยก็ตาม เกลือเหลานี้
15
จะดูดน้ําก็ตอเมื่อความชื้นสัมพัทธในอากาศสูงพอ ในทางกลับกันเกลือจะสูญเสียน้ําและเกิดเปน
ผลึกเกลืออีกครั้งถาความชื้นสัมพัทธในอากาศลดต่ําพอ คาความชื้นสัมพัทธในอากาศที่เกลือเริ่ม
จะดูดน้ําจากอากาศเรียกวา ความชื้นที่เกลืออยูในสภาวะสมดุลกับอากาศ (Equilibrium Relative
Humidity, ERH ของเกลือ) (Honeyborne, 1991)
สาเหตุที่ผลึกเกลือมีผลทําใหผนังเกิดการชํารุดเสียหายได เนื่องจากเกิดแรงดันของผลึก
เกลือในรูพรุน โดยปจจัยหนึ่งที่ทําใหกระบวนการนี้เกิดขึ้น คือ แรงดึงในรูพรุน ซึ่งแรงดึงในรูพรุนจะ
ทําใหรูพรุนไดรับสารละลายเกลือเพิ่มขึ้นตลอดเวลา ทําใหผลึกเกลือมีขนาดโตขึ้นเรื่อย ๆ แมวาจะ
มีเกลือตกผลึกอยูเต็มรูพรุนแลวก็ตาม ผลึกเกลือที่มีขนาดโตขึ้นเรื่อย ๆ นี้ จะออกแรงดันตอรูพรุน
ทําใหรูพรุนเกิดการผุกรอนและสงผลทําใหผนังเกิดการชํารุดเสียหายตามมา อีกปจจัยหนึ่งที่ทําให
เกิดแรงดันในรูพรุนได คือ การดูดน้ําของเกลือในสภาวะที่เหมาะสม ดังไดกลาวแลววา เกลือบาง
ชนิดสามารถดูดน้ําจากอากาศได เมื่อผลึกเกลือดูดน้ําจะมีปริมาตรเพิ่มขึ้น ทําใหแรงดันตอรูพรุน
เพิ่มขึ้นดวย สงผลใหผนังชํารุดเสียหายไดเชนเดียวกัน ผลของแรงดันที่เกิดขึ้นในแตละกรณี จะ
ขึ้นอยูกับความแข็งแรงของผลึกเกลือกับความแข็งแรงของรูพรุนในผนัง ถารูพรุนมีความแข็งแรง
มากกวา ผลึกเกลือจะถูกดันออกมาขางนอก ปรากฏเปนผลึกเกลือบนผนังขึ้น ถาผลึกเกลือมี
ความแข็งแรงมากกวา รูพรุนจะถูกผลึกเกลือดันใหแตกออก และเกิดการผุกรอน สงผลใหผนัง
ชํารุดเสียหายตามมา (Mora, 1974)
ผลึกเกลือที่ปรากฏบนผนังมีหลายชนิดดังนี้ (Mora, 1974)
1. เกลือซัลเฟตของโซเดียม โปแตสเซียม แมกนีเซียม และแคลเซียม เกลือกลุมนี้เปน
อันตรายตอผิวหนาของผนังมากที่สุด เนื่องจากถาเกลือกลุมนี้ตกผลึกบริเวณใด บริเวณนั้นก็จะ
แตกหักออกจากกัน ไดรับความเสียหายมาก เกลือแคลเซียมซัลเฟตสามารถรวมตัวเปนคราบสีขาว
บนผนังหรือสามารถตกผลึกภายในผนังไดจากปฏิกิริยาของซัลเฟตกับแคลเซียมคารบอเนตซึ่งมี
มลพิษทางอากาศเปนตัวกระตุน
2. เกลือไนเตรตของโซเดียม โปแตสเซียม และแคลเซียม เกลือกลุมนี้เปนเกลือที่
สามารถละลายน้ําได ซึ่งโดยปกติจะเกิดเปนผงเกลือหนาที่กําจัดออกไดงาย และการทําลายของ
เกลือกลุมนี้จะไมรุนแรงเทาของเกลือซัลเฟต
3. เกลือแคลเซียมคารบอเนต เปนเกลือที่เปนสวนประกอบหลักของวัสดุกอสราง ทั้งนี้
ดวยตัวของเกลือชนิดนี้เองจะไมมีผลทําใหผนังแตกกรอนเสียหาย แตสามารถทําใหเกิดแผนแข็ง
ของเกลือที่แข็งมากและยากตอการกําจัด
16
4. เกลือโซเดียมคลอไรด มีที่มาจากอากาศในบริเวณทะเล หรือในบริเวณที่มีเกลือ
สินเธาว โดยปกติจะตกผลึกบนผิวหนาของผนัง จริง ๆ แลวตัวมันเองไมทําใหผนังเกิดการแตก
กรอน แตถาผลึกเกลือผานกระบวนการดูดน้ําและคายน้ําจากอากาศ จะสามารถทําใหผิวหนา
ของผนังแตกออกได
นอกจากนี้ จิราภรณ อรัณยะนาค (2535) ไดกลาววามีเกลืออีกประเภทหนึ่งที่
ปรากฏบนผนังคือ เกลือฟอสเฟต เชน แคลเซียมฟอสเฟต โปแตสเซียมฟอสเฟต เกลือเหลานี้มีที่มา
จากโรงงานอุตสาหกรรม ปุย ผงซักฟอก และสารเคมี
2.2.1.2 การวัดความชื้น
เครื่องมือที่ใชวัดความชื้นมี 2 ประเภท คือ เครื่องมือที่ใชวัดความชื้นสัมพัทธในอากาศ
และเครื่องมือที่ใชวัดความชื้นของผนัง (Massari, 1977)
ทั้งนี้ Mora (1974) กลาวไววาการวัดความชื้นของผนังนั้น มี 2 แบบ คือ
1. การวัดความชื้นในผนัง ในการประเมินวิธีนี้ จะตองเก็บชิ้นตัวอยางของผนังขนาด 25-
30 กรัม ออกมาโดยการเจาะรู เมื่อเก็บตัวอยางมาทดสอบจะตองเก็บทันทีในขวด สูญญากาศ
แลวนําไปชั่งน้ําหนัก จากนั้นนําชิ้นตัวอยางไปอบในเตาอบที่ใหความรอน 100๐
C เปนเวลา 7
ชั่วโมง เมื่อปลอยไวใหแหงแลวจึงนําออกมาชั่งน้ําหนักอีกที ผลตางของปริมาณความชื้นกอนนําไป
อบและหลังอบเทียบดวยปริมาณความชื้นกอนนําไปอบ คูณดวย 100 จะไดปริมาณความชื้นใน
ผนังออกมาเปนเปอรเซ็นต
2. การวัดความชื้นที่พื้นผิว มีเครื่องมือหลายชนิดที่ใชในการวัดความชื้นที่พื้นผิว ซึ่งสราง
ขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของการนําไฟฟาที่ผนังซึ่งขึ้นอยูกับปริมาณความชื้นที่ปรากฏอยูในผนังนั้น
เครื่องมืออยางหนึ่งคือเครื่องแบบหัวสัมผัส ซึ่งสามารถสัมผัสกับผนังไดโดยตรง กับเครื่องอีกแบบ
คือเครื่องที่มีหัวเปนเข็มที่ใชเจาะทะลุเขาไปในผนัง ซึ่งจะทําใหผนังเสียหายได
2.2.1.3 การตัดผนังเพื่อกันความชื้นจากใตดิน
การตัดผนังเพื่อปองกันความชื้นจากใตดินซึมขึ้นมาในวัดเปาโรหิตย ทําโดยเจาะผนัง
อุโบสถ โดยเจาะใหสูงจากพื้นภายใน 35 เซนติเมตร แลวฝงแผนเหล็กไรสนิมเขาไป ซึ่ง วีระ
โรจนพจนรัตน (2527) อธิบายวามีวิธีการดังตอไปนี้
17
1. ทําการเจาะผนัง ณ จุดที่กําหนดโดยเจาะใหทะลุถึงผนังดานนอกแลวใชสอดเลื่อยซึ่ง
เปนเลื่อยมือใหไปในทิศทางที่กําหนด 1 เมตร การเลื่อยผนังจะเลื่อยจะเลื่อยชองละเมตรเวนเมตร
2. ทําการสอดแผนอาซีเตทอยางหนา ณ ชองวางที่เลื่อยไว หลังจากนั้นวางแผนเหล็กไร
สนิทรอง ณ จุดตอของแผนเหล็กไรสนิท หลังจากนั้นใหสอดเหล็กไรสนิมซึ่งกําหนดใหมีความชอง
ละ 1 เมตร แลวสอดแผนเหล็กไรสนิมทับอีกครั้ง ณ รอยตอ แผนเหล็กไรสนิมใชเบอร 0.5
3. เสริมวัสดุแทรกในชองวางที่เหลือโดยสวนผสมของปูนซีเมนต : ปูนขาว : ทราย อัตรา
1 : 6 : 10 ใหผสมน้ํายาเพิ่มความแข็งแรง เรงปฏิกิริยาใหแหงเร็วขึ้น และผสมน้ํายา CONBEX
4. สวนของวงกบลางของประตู หนาตางที่ผุ ใหสกัดออกแลวใชวัสดุตามขอ 3 เสริมเขา
ไปแทน
5. ใหทําการแตงแนวผนังทั้งขางนอกขางในใหเหมือนของเดิม แลวแตงสีให กลมกลืน
กับของเดิม
2.2.2 แสงแดด
จิราภรณ อรัณยะนาค (2540) กลาววาแสงสวางและรังสีอัลตราไวโอเลตมีความยาว
คลื่นอยูในชวงที่มีอันตรายตอศิลปโบราณวัตถุที่ทําจากอินทรียวัตถุแทบทุกชนิด โดยเฉพาะรังสี
อัลตราไวโอเลต มีความยาวคลื่นอยูในชวงที่มีอันตรายสูงสุด ซึ่งนิภาพร สุนทรพิทักษกุล (2541)
ไดกลาวไววาแสงแดดที่ผานชั้นบรรยากาศลงมาถึงผิวโลกจะมีความยาวคลื่นมากกวา 290 นาโน
เมตร โดยรังสีอัลตราไวโอเลตจะอยูในชวงความยาวคลื่น 290 – 400 นาโนเมตร
นอกจากนี้ กุลพันธาดา จันทรโพธิศรี (2531 อางถึงใน นิภาพร สุนทรพิทักษกุล, 2541)
ไดกลาวไววาแสงสวาง ไมวาจะเปนแสงจากหลอดไฟหรือแสงธรรมชาติจากดวงอาทิตย ซึ่งรวมทั้ง
แสงที่ไมสามารถมองเห็นไดดวยตาเปลา เชน รังสีอัลตราไวโอเลต และรังสีอินฟราเรด จะสามารถ
ทําใหศิลปกรรมเสื่อมสภาพลงได และสามารถกอใหเกิดความเสียหายไดมากขึ้นกับวัตถุอินทรีย
แตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนั้นจะเกิดขึ้นอยางชา ๆ ทําใหสังเกตเห็นยาก ตอเมื่อสามารถ
สังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นแลว มักจะทําการแกไขใหกลับมามีสภาพเหมือนเดิมไดยาก
แลว เชน สีซีด เนื้อวัตถุกรอบ เปราะ เหลือง เปนตน ทั้งนี้เนื่องจากแสงจะไปทําใหเกิดการ
เปลี่ยนแปลงทางเคมีขึ้นบนเนื้อวัตถุ โดยเฉพาะอินทรียวัตถุที่มีเซลลูโลสเปนสวนประกอบ ยิ่งมี
ความชื้นและออกซิเจนดวย การเสื่อมโทรมในลักษณะนี้จะเปนไปอยางรวดเร็ว การเสื่อมสภาพ
แบบนี้เรียกวา “ Photochemical Degradation ” การชํารุดเสียหายที่เกิดขึ้นจะมากหรือนอยขึ้นอยู
18
กับชนิดของแสง ระยะเวลาที่วัตถุถูกแสง ตลอดจนลักษณะหรือปริมาณของแสงที่ตกลงมาถูกวัตถุ
และชนิดของวัตถุ
สําหรับการทาผนังในภาพจิตรกรรมฝาผนังตองใชปูนขาวผสมกับเม็ดมะขาม สวนสีที่ใช
เขียนภาพตองผสมกับยางมะขวิดหรือกาว ซึ่งเม็ดมะขามและยางมะขวิดเปนอินทรียวัตถุ รังสี
อัลตราไวโอเลตจากแสงแดด จึงมีผลทําใหภาพจิตรกรรมฝาผนังเกิดการเสื่อมสภาพได
เชนเดียวกัน แตการเสื่อมสภาพเปนไปอยางชา ๆ (จิราภรณ อรัณยะนาค, 8 พฤษภาคม 2544,
สัมภาษณ)
เนื่องจากทั้งแสงแดดและรังสีอัลตราไวโอเลต เปนรูปแบบหนึ่งของพลังงาน ดังนั้นวิธีที่
ตรงที่สุดที่จะวัดแสงแดดและรังสีอัลตราไวโอเลต คือการวัดอัตราที่พลังงานของแสงแดดและรังสี
อัลตราไวโอเลตตกลงไปบนพื้นที่หนึ่ง ๆ สําหรับแสงแดดจะใชเครื่องมือที่เรียกวา “Light Meter”
หรือ “Lux Meter“ ซึ่งไมไดเปนการวัดพลังงานโดยตรงแตเปนการวัดสิ่งที่ตามองเห็นได ซึ่งในความ
เปนจริงตาของคนจะไมสามารถมองเห็นรังสีอัลตราไวโอเลตหรืออินฟราเรดได ดังนั้นเครื่องวัดนี้จะ
ไมตอบสนองกับชวงความยาวคลื่นของรังสีอัลตราไวโอเลตและอินฟราเรด แตจะไวกับแสงสีเขียว
มากกวาแสงสีน้ําเงินหรือแดงซึ่งเปนคุณสมบัติของตามนุษย เครื่องวัดแสงที่ดีที่สุดคือเครื่องวัดที่
ใกลเคียงกับความไวของตามนุษยมากที่สุด โดยมีหนวยในการวัดเปนลักซ (Lux) หรือลูเมนตอ
ตารางเมตร (Lumen/m2
) (Thomson, 1981)
สําหรับเครื่องวัดรังสีอัลตราไวโอเลต จะใชเครื่องมือที่เรียกวา “ UV Monitor” โดยปกติ
จะมี 2 ชนิด ชนิดหนึ่งจะวัดระดับของรังสีอัลตราไวโอเลต มีหนวยเปนไมโครวัตต (μW)กับอีกชนิด
หนึ่งจะเปนการวัดสัดสวนของรังสีอัลตราไวโอเลตที่มีในแสง มีหนวยเปนไมโครวัตตตอลูเมน
(μW/Lumen) ซึ่งเครื่องวัดชนิดที่ 2 นี้จะเปนที่นิยมกวาเพราะเปนการวัดโดยไมคํานึงถึงระยะทาง
จากแหลงกําเนิดแสง
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด
อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด

More Related Content

Featured

Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Featured (20)

PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy Presentation
 

อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดต่อการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด

  • 1. อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดตอการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัด นางสาวกตัญชลี เวชวิมล วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรสภาวะแวดลอม สหสาขาวิชาวิทยาศาสตรสภาวะแวดลอม บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปการศึกษา 2543 ISBN 974-13-1274-1 ลิขสิทธิ์ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
  • 2. EFFECTS OF MOISTURE AND SUNLIGHT ON MURAL PAINTINGS IN TEMPLES MISS KATUNCHALEE WECHWIMOL A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Master of Science in Environmental Science Inter-Departmental Program in Environmental Science Graduate School Chulalongkorn University Academic Year 2000 ISBN 974-13-1274-1
  • 3. หัวขอวิทยานิพนธ อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดตอการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝา ผนังในวัด โดย นางสาวกตัญชลี เวชวิมล สาขาวิชา วิทยาศาสตรสภาวะแวดลอม อาจารยที่ปรึกษา ผูชวยศาสตราจารย ดร. สุรพล สุดารา อาจารยที่ปรึกษารวม นางจิราภรณ อรัณยะนาค บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อนุมัติใหนับวิทยานิพนธฉบับนี้เปนสวน หนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ……………………………………..คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย (ศาสตราจารย ดร. สุชาดา กีระนันทน) คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ ……………………………………………..ประธานกรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร. พิพัฒน พัฒนผลไพบูลย) ……………………………………………..อาจารยที่ปรึกษา (ผูชวยศาสตราจารย ดร. สุรพล สุดารา) ………………………………………..อาจารยที่ปรึกษารวม (นางจิราภรณ อรัณยะนาค) ……………………………………………..กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารย ดร. กําธร ธีรคุปต)
  • 4. กตัญชลี เวชวิมล : อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดตอการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนัง ในวัด. (EFFECTS OF MOISTURE AND SUNLIGHT ON MURAL PAINTINGS IN TEMPLES) อ. ที่ปรึกษา : ผศ. ดร. สุรพล สุดารา อ. ที่ปรึกษารวม : นางจิราภรณ อรัณยะ นาค, 96 หนา. ISBN 974-13 -1274-1. เปนที่ทราบกันวาความชื้นและแสงแดดเปนสาเหตุหลักตอการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในประเทศ ไทย การศึกษาปจจัยเหลานี้ไดเลือกวัดเปาโรหิตยใหเปนตัวอยางของวัดที่มีการตัดผนังโดยสอดแผนเหล็กไรสนิมเพื่อ กันความชื้นจากใตดิน และเลือกวัดสุวรรณารามราชวรวิหารเปนตัวอยางของวัดที่ไมไดตัดผนังกันความชื้น เนื่องจาก วัดทั้งสองอยูใกลแหลงน้ําและภาพจิตรกรรมอยูในสมัยใกลเคียงกัน โดยมีการศึกษาปริมาณความชื้นบนผนัง ความชื้น สัมพัทธในอากาศ ปริมาณความเขมแสงบนผนัง และรังสีอัลตราไวโอเลตบนผนัง สวนการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝา ผนังภายในอุโบสถนั้น ศึกษาจากเปอรเซ็นตการเสื่อมสภาพและชนิดของเกลือบนผนัง ผลการศึกษายืนยันวาการตัด ผนังกันความชื้นโดยใชแผนเหล็กไรสนิมฝงในผนังนั้นสามารถกันน้ําซึมจากใตดินได แตยังคงมีปญหาจากเกลือที่ยัง หลงเหลือในผนัง วัดเปาโรหิตยมีปริมาณความชื้นบนผนังนอยกวาวัดสุวรรณารามฯ แตความชื้นสัมพัทธในอากาศ ภายในอุโบสถของทั้ง 2 วัดไมแตกตางกัน โดยที่วัดสุวรรณารามฯ มีความชื้นสัมพัทธในอากาศภายในอุโบสถนอยกวา ภายนอกอุโบสถ ในขณะที่วัดเปาโรหิตยมีความชื้นสัมพัทธในอากาศทั้งภายในและภายนอกอุโบสถไมแตกตางกัน โดย ปริมาณความชื้นบนผนังของทั้ง 2 วัด มีความสัมพันธแปรตามความชื้นสัมพัทธในอากาศภายในอุโบสถ การ เปลี่ยนแปลงของปริมาณความชื้นบนผนังจะขึ้นอยูกับ ความสูงจากพื้นของตําแหนงที่วัดความชื้น ฤดูกาล และทิศที่ตั้ง ของผนัง สําหรับชวงเวลาของวันนั้นพบวาไมมีผลตอการเปลี่ยนแปลงปริมาณความชื้นบนผนัง นอกจากนี้พบวาวัดเปา โรหิตยมีปริมาณความเขมแสงและรังสีอัลตราไวโอเลตบนผนังมากกวาวัดสุวรรณาราม โดยที่การเปลี่ยนแปลงปริมาณ ความเขมแสงและรังสีอัลตราไวโอเลตบนผนังขึ้นอยูกับฤดูกาล ชวงเวลาของวันและทิศที่ตั้งของผนัง ในวัดเปาโรหิตย พบวาปริมาณความชื้นบนผนังมีความสัมพันธแปรตามปริมาณความเขมแสงและอัลตราไวโอเลต แตเปนความสัมพันธ ในระดับนอยมาก ในขณะที่วัดสุวรรณารามฯ ปริมาณความชื้นบนผนังไมมีความสัมพันธกับปริมาณความเขมแสงและ รังสีอัลตราไวโอเลต การเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังในวัดสุวรรณารามฯคิดเปนเปอรเซ็นตพบวามีความสัมพันธ แปรตามปริมาณความชื้นบนผนัง แตไมมีความสัมพันธกับปริมาณความเขมแสงและรังสีอัลตราไวโอเลตบนผนัง ในขณะที่วัดเปาโรหิตย เปอรเซ็นตการเสื่อมสภาพไมสามารถหาความสัมพันธกับทั้ง 3 ปจจัยได เพราะสวนลางของ จิตรกรรมฝาผนังไดถูกฉาบปูนไวจึงไมมีภาพเหลืออยูในสวนนี้แลว เกลือที่พบบนผนังของทั้ง 2 วัดนั้นพบวาเปนเกลือที่ เปนสวนประกอบของวัสดุกอสราง ไมใชเกลือที่มาจากน้ําใตดิน สหสาขาวิชา…..วิทยาศาสตรสภาวะแวดลอม……ลายมือชื่อนิสิต…………………………………… สาขาวิชา…..วิทยาศาสตรสภาวะแวดลอม………ลายมือชื่ออาจารยที่ปรึกษา……………………… ปการศึกษา…..2543………………………………ลายมือชื่ออาจารยที่ปรึกษารวม…………………
  • 5. # # 4172201923 : MAJOR INTER-DEPARTMENT OF ENVIRONMENTAL SCIENCE KEY WORD: MURAL PAINTING / DETERIORATION / MOISTURE / SUNLIGHT / CULTURAL ENVIRONMENT KATUNCHALEE WECHWIMOL : อิทธิพลของความชื้นและแสงแดดตอการเสื่อมสภาพของ จิตรกรรมฝาผนังในวัด (EFFECTS OF MOISTURE AND SUNLIGHT ON MURAL PAINTINGS IN TEMPLES) THESIS ADVISOR : ASSIST. PROF. SURAPHOL SUDARA, Ph.D., THESIS COADVISOR : CHIRAPORN ARANYANARK, 96 pp. ISBN 974-13-1274-1. Moisture and sunlight are known to be the main factors causing deterioration to the mural paintings in Thailand. To study these factors, Wat Paorohit, which already inserted stainless steel sheets into the wall to prevent rising damp, had been selected to compare with Wat Suwannaram Ratchaworaviharn, which did not do so. These two temples were selected since their locations were closed to the water catchments and these two temples were decorated with the same age mural paintings. The study involved moisture on surface wall, relative humidity, light intensity and UV radiation on surface wall. The study on deterioration of the mural painting was the estimation in percentage of deterioration space together with analyzing the component of various salt remained on surface wall. The study revealed that waterproof membrane can prevent rising damp but the problem still exists from the remaining salt on the wall. The moisture on surface wall in Wat Paorohit was lower than in Wat Suwannaram. The relative humidity in the interior of both of temples was not different. The interior relative humidity in Wat Suwannaram was higher than the exterior relative humidity, but the interior relative humidity in Wat Paorohit was not different from the exterior relative humidity. Moisture on surface wall of both temples related to interior relative humidity. Moisture on surface wall depended on the height levels from ground, seasons and position of the wall. No difference on time of the day for moisture on surface wall. Furthermore, light intensity and UV radiation in Wat Paorohit were higher than Wat Suwannaram. Light intensity and UV radiation depended on seasons, time of the day and position of wall. Moisture on surface wall in Wat Paorohit related to light intensity and UV radiation but in a rather low level. While moisture on surface wall in Wat Suwannaram did not relate to light intensity nor UV radiation. Percentage in deterioration of mural paintings in Wat Suwannaram showed relation to moisture on surface wall but did not show relation to light intensity and UV radiation on the wall. While in Wat Paorohit, percentage in deterioration could not be concluded on the relationships to all of three factors because the lower part of mural painting in this temple used to be cover with mortar. Varieties of salt found on the walls of both temples are composite of building materials, which is not salt from rising damp. Department..Inter-department of Environmental Science Student’s signature………………………… Field of study…..Environmental Science………………… Advisor’s signature………………………… Academic year……….2000……………………………….. Co-advisor’s signature……………………..
  • 6. กิตติกรรมประกาศ วิทยานิพนธฉบับนี้สําเร็จลุลวงไปไดดวยดี เนื่องจากความชวยเหลือของบุคคล และ หนวยงาน ดังตอไปนี้ ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณเจาอาวาสวัดสุวรรณารามราชวรวิหาร และเจาอาวาสวัดเปา โรหิตย ที่ใหความอนุเคราะหในการใชสถานที่ปฏิบัติการวิจัย รวมทั้งทานพระครูเมธังกร หลวงตา ประเสริฐ และเณรขวัญ ที่ชวยอํานวยความสะดวกในการใชสถานที่ ขอกราบขอบพระคุณ อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุ รพล สุดารา และผูชวยศาสตราจารย ดร.กําธร ธีรคุปต ที่ใหคําแนะนํา ปรึกษา และชวยเหลือ ผูวิจัยดวยดีตลอดมา ขอกราบขอบพระคุณ อาจารยจิราภรณ อรัณยะนาค ที่กรุณาสละเวลามาเปนอาจารยที่ ปรึกษาวิทยานิพนธรวม พรอมทั้งใหคําแนะนํา ปรึกษา และชวยเหลือเปนอยางดียิ่ง ขอขอบพระคุณสวนวิทยาศาสตรเพื่อการอนุรักษ ที่ใหความอนุเคราะหเครื่องมือ Thermohygrograph, Lux Meter และ UV Monitor ในการทําการวิจัย รวมทั้งขอขอบพระคุณ คุณกิ่งกมล จุลประสิทธิ์พงษ คุณวาสนา สายัณหันสมิตร และเจาหนาที่ทุกทานที่ชวยอํานวยความ สะดวกในการทําวิจัยครั้งนี้ ขอขอบพระคุณ สหสาขาวิชาวิทยาศาสตรสภาวะแวดลอม ที่ใหความอนุเคราะห เครื่องมือ Moisture Meter ในการทําวิจัย และสนับสนุนทุนวิจัยบางสวน และขอขอบพระคุณ บัณฑิตวิทยาลัยที่มอบทุนอุดหนุนการวิจัยในการทําวิทยานิพนธครั้งนี้ดวย ขอขอบคุณ คุณเบญจมาศ วองวรกิจ คุณฐิติยา เทวัญอิทธิกร คุณปวีณา ดานกุล คุณศิ ริวรรณ แกวงาม คุณชนิตรนันทน จั่นมณี คุณสรวุฒิ อัครวัชรางกูร คุณจิณัฐตา วัดคํา คุณพัชริ นทร ฉัตรประเสริฐ คุณสมานชัย เลิศกมลวิทย และคุณกฤติมา ทศชนะ ที่คอยชวยเหลือและให กําลังใจ รวมทั้งเพื่อน ๆ ทุกคนที่ใหกําลังใจเสมอมา ขอขอบคุณ คุณภวีณา เวชวิมล คุณปวิณและคุณปวรรษ กมลเสรีรัตน ที่ชวยเก็บ ตัวอยางตลอดระยะเวลาที่ทําการวิจัย และชวยลงแรงในดานตาง ๆ ขอกราบขอบพระคุณ คุณประทม กมลเสรีรัตน คุณปาของผูวิจัย ที่คอยชวยเหลือและให กําลังใจเสมอ สุดทายนี้ ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณคุณพอและคุณแม ที่สนับสนุน และชวยเหลือในทุก ๆ ดาน รวมทั้งใหความรัก ความหวงใย และเปนกําลังใจใหแกผูวิจัยตลอดมา
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14. บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ประเทศไทยมีพุทธศาสนาเปนศาสนาคูบานคูเมืองมาชานาน โบราณสถานที่มีอยู มากมายทั่วทุกภาคของประเทศจึงเปนสิ่งกอสรางประเภทวัดเสียเปนสวนใหญ โบราณสถาน ดังกลาวมักมีจิตรกรรมฝาผนังที่สรางขึ้นเพื่อนอกจากประดับศาสนสถานใหงดงามแลว ยังทําให ผูชมภาพเกิดความรูสึกเลื่อมใสศรัทธา และไดทราบเรื่องราววรรณกรรมและคําสั่งสอนใน พระพุทธศาสนา ความงามของจิตรกรรมฝาผนังอันบงใหเห็นถึงรสนิยมและคุณลักษณะพิเศษที่ เปนเอกลักษณของชาติไทยโดยเฉพาะ นอกจากนี้จิตรกรรมฝาผนังยังมีคุณคาในฐานะเปน แหลงขอมูลสําหรับการศึกษาทางวิชาการดานตาง ๆ ในอดีต ไมวาจะเปนดานประวัติศาสตร โบราณคดี ชีวิตความเปนอยู จารีตประเพณี วัฒนธรรม ตลอดจนวิวัฒนาการในแตละยุคสมัย เนื่องจากชางเขียนในสมัยใดยอมถายทอดสิ่งแวดลอม และความเปนไปในสมัยนั้นไวในจิตรกรรม ที่ทานสรางขึ้น ดังนั้นจิตรกรรมฝาผนังซึ่งเปนหลักฐานสําคัญของชาติจึงควรไดรับการอนุรักษใหคง อยูสืบไปจนถึงคนรุนหลัง การอนุรักษจิตรกรรมฝาผนังเปนวิชาการที่นําความรูดานวิทยาศาสตรมาผสมผสานกับ ความรูดานเทคนิคการชางไทยโบราณ ซึ่งสําหรับการทํางานดานวิทยาศาสตร วิธีที่ดีที่สุดของการ อนุรักษตองเริ่มจากการหาสาเหตุของการเสื่อมสภาพ เพื่อจะไดหาวิธีปองกันและกําจัดสาเหตุ ทั้งหลายเหลานั้น การเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังสวนใหญมีสาเหตุมาจาก ปจจัยสิ่งแวดลอมตาง ๆ ตามธรรมชาติ และจากการกระทําของมนุษย โดยถามีการจัดการที่ดีและมีการดูแลที่ เขมงวด จะสามารถควบคุมการเสื่อมสภาพที่เกิดจากการกระทําของมนุษยไวได แตสําหรับการเสื่อมสภาพ ที่เกิดจากปจจัยสิ่งแวดลอมตาง ๆ ตามธรรมชาตินั้น ความรูและขอมูลในเรื่องดังกลาวในเมืองไทย ยังมีอยูนอย ทําใหการควบคุมและการจัดการเพื่ออนุรักษจิตรกรรมฝาผนังเปนไปไดยาก จึงควรมี การศึกษาเรื่องปจจัยสิ่งแวดลอมที่มีผลตอการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังใหมากขึ้น
  • 15. 2 ประเทศไทยที่มีภูมิอากาศแบบรอนชื้น ปจจัยสิ่งแวดลอมที่เปนสาเหตุสําคัญตอการ เสื่อมสภาพของโบราณสถาน รวมทั้งจิตรกรรมฝาผนังดวย คือ ความชื้น และแสงแดด เนื่องจาก ประเทศไทยตั้งอยูในพื้นที่ที่ไดรับอิทธิพลของลมมรสุมเขตรอน และมีความแตกตางระหวางฤดูฝน และฤดูแลงคอนขางมาก โดยในฤดูฝนมีฝนตกถึง 5 เดือน จากกลางเดือน พฤษภาคม ถึง กลางเดือน ตุลาคม ขณะที่อีก 7 เดือนที่เหลือซึ่งเปนฤดูแลง มีฝนตกเพียงเล็กนอยเทานั้น ทําใหมี การระเหยของน้ําสม่ําเสมอตลอดทั้งป ดังนั้น การมีฝนตกจึงเปนตัวแทนของฤดูฝนขณะที่การ ระเหยของน้ําเปนตัวแทนในฤดูแลง (Meteorological Department, 1994 อางถึงใน Kuchitsu, Ishizaki และ Nishiura, 1999) ซึ่งการมีฝนตกและการระเหยของน้ํายอมเกี่ยวของกับความชื้น และแสงแดดอยางหลีกเลี่ยงไมได ความชื้นเปนตัวการที่ทําใหวัสดุเกิดการเสื่อมสภาพทั้งกระบวนการทางกายภาพ เคมี และชีววิทยา เชน การเกิดรอยความชื้นบนผนัง การเกิดผลึกเกลือโดยความชื้นชักนํามาจากใตดิน การทําปฏิกิริยาระหวางวัสดุกับสารในบรรยากาศและในดินโดยใชความชื้นเปนตัวกลาง และการ ใชความชื้นในการเจริญเติบโตบนวัสดุของพืช จุลินทรีย และแมลงตาง ๆ (Richardson, 1991) สําหรับแสงแดดจะทําใหวัสดุที่ทําจากอินทรียวัตถุเสื่อมสภาพอยางเห็นไดชัด โดยจะเปลี่ยนแปลง ลักษณะทั้งทางกายภาพและเคมีของวัสดุ เชน ทําใหผนังมีสภาพแหงกรอบ เปราะ บางครั้งเปอย ยุย สีซีดจางหรือสีเปลี่ยนไปจากเดิม (จิราภรณ อรัณยะนาค, 2540) นอกจากนี้ยังมีผลตอการ เปลี่ยนแปลงทางชีววิทยาดวย โดยแสงเปนปจจัยสําคัญในการสังเคราะหแสง ทําใหเอื้อตอการ เจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตบนวัสดุ (โรจน คุณเอนก, 2540) ไดเริ่มมีการศึกษาเกี่ยวกับการแกปญหาความชื้นในประเทศไทย คือการศึกษาเรื่องการ ปองกันความชื้นจากน้ําใตดิน เพราะเปนอันตรายที่เกิดขึ้นอยางรายแรงกับจิตรกรรม ฝาผนัง วิธี ปองกันคือการตัดความชื้นไมใหน้ําจากใตดินซึมขึ้นไปสูผนังได โดยการเจาะผนังแลวฝงแผนเหล็ก ไรสนิมเขาไปวางไวในฝาผนัง เพื่อมิใหความชื้นมาจากพื้นสูผนังเหนือแผนเหล็กดังกลาว วัดใน กรุงเทพมหานครที่ไดแกปญหาโดยการตัดความชื้นแลว ไดแก วัดบรมนิวาสราชวรวิหาร วัดบาง ขุนเทียนใน วัดชองนนทรี วัดเปาโรหิตย และวัดในตางจังหวัด ไดแก วัดหนอพุทธางกูล จังหวัด สุพรรณบุรี วัดเกาะแกวสุทธาราม และวัดใหญสุวรรณาราม จังหวัดเพชรบุรี วัดใหญอินทาราม และวัดใตตนลาน จังหวัดชลบุรี เปนตน (จิราภรณ อรัณยะนาค, 23 กรกฎาคม 2542, สัมภาษณ)
  • 16. 3 การศึกษาครั้งนี้ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของการตัดความชื้นที่ผนัง และ เปรียบเทียบ การเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังหลังจากการแกปญหาโดยการตัดความชื้นที่ผนัง ที่วัดเปา โรหิตย โดยเปรียบเทียบกับวัดที่ยังไมไดตัดความชื้น ที่วัดสุวรรณารามราชวรวิหาร โดยศึกษาจาก ปริมาณความชื้น ลักษณะการทําลายที่สังเกตเห็นไดบนผิวอาคาร และการเกิดผลึกเกลือ รวมทั้ง ศึกษาลักษณะการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังที่มีสาเหตุมาจากแสงแดด โดยเปรียบเทียบ ความเขมแสงและรังสีอัลตราไวโอเลตที่มีผลตอการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนัง 1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา 1. เปรียบเทียบปจจัยดานความชื้นและแสงแดดในวัดที่แกปญหาเรื่องความชื้นกับวัดที่ ไมไดแกปญหาเรื่องความชื้น 2. เพื่อศึกษาลักษณะการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังที่มีสาเหตุมาจากความชื้น ใน วัดที่ทําการศึกษา ในรอบป 3. เพื่อศึกษาลักษณะการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังที่มีสาเหตุมาจากแสงแดด ใน วัดที่ทําการศึกษา ในรอบป 1.3 ขอบเขตของการศึกษา 1. การศึกษาจะทําภายในอุโบสถของวัดเปาโรหิตย และวัดสุวรรณารามราชวรวิหาร โดยจะศึกษาเฉพาะจิตรกรรมบนผนังชวงลางซึ่งเปนหองภาพระหวางชองประตูและหนาตาง เทานั้น 2. ศึกษาปจจัยของความชื้น จะศึกษาโดยการวัดความชื้นสัมพัทธในอากาศภายใน อุโบสถ และความชื้นบนผนัง 3. ศึกษาปจจัยของแสงแดด จะศึกษาโดยการวัดความเขมแสงและปริมาณรังสี อัลตราไวโอเลตบนผนัง 4. ศึกษาลักษณะการเสื่อมสภาพจากความชื้นและแสงแดด จะศึกษาโดยการประเมิน เปอรเซ็นตการเสื่อมสภาพของผนัง และการหาชนิดของเกลือบนผนังเทานั้น
  • 17. 4 1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. เปนการประเมินความเหมาะสมของวิธีตัดความชื้นโดยใชแผนเหล็กสอดกั้นเพื่อ แกปญหาความชื้นกับจิตรกรรมฝาผนัง 2. เปนขอมูลพื้นฐานในการศึกษาการเสื่อมสภาพที่มีสาเหตุมาจากความชื้น และ แสงแดด ในโบราณสถานแหลงอื่น ๆ ตอไป 3. ใชเปนแนวทางในการอนุรักษโบราณสถาน บานเรือน และอาคารสํานักงานตาง ๆ
  • 18. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ 2.1 จิตรกรรมฝาผนัง จิตรกรรม คืองานศิลปะสาขาหนึ่ง ที่เรียกวาวิจิตรศิลป หรือวิสุทธิศิลป หมายถึงศิลปะ บริสุทธิ์ ซึ่งเกิดจากการสรรคสรางของจิตรกร ทั้งทางความคิด ความบันดาลใจ และจินตนาการ จน เกิดเปนมโนภาพ ซึ่งชางเขียนจะถายทอดมโนภาพนั้นใหปรากฏออกมาเปนภาพเขียน คือเปนการ สรางสรรคสิ่งที่เปนนามธรรมใหปรากฏเปนรูปธรรม อันจะทําใหผูชมเกิดความประจักษแหงศิลปะ นั้น และมีผลใหจิตใจเปนสุขในทางคุณธรรม จริยธรรม และสุนทรียศาสตร นั่นก็คือ จิตรกรรมเปน เครื่องสงเสริมใหจิตใจสูงขึ้น (วรรณิภา ณ สงขลา, 2528) การเขียนจิตรกรรมฝาผนังมีวัตถุประสงคเพื่อจะตกแตงพื้นผนังใหสวยงาม แตอยางไรก็ ดีลักษณะของจิตรกรรมนั้นก็ขึ้นอยูกับลักษณะของตัวอาคารที่สรางขึ้นดวย สําหรับในประเทศไทย เรานั้น ภาพจิตรกรรมฝาผนังสวนใหญมักจะปรากฏอยูภายในโบสถหรือวิหาร ซึ่งเปนการเขียนเรื่อง เกี่ยวกับศาสนาเปนสวนใหญ เปนตนวาเขียนเปนรูปพระพุทธเจา หรือเรื่องราวที่มีอยูในพุทธ ประวัติและในนิทานชาดก ทั้งนี้ก็เพื่อจะนอมนําชักจูงใหผูดูเกิดความเลื่อมใสและซาบซื้งในรสพระ ธรรมคําสั่งสอนยิ่งขึ้น และอีกประการหนึ่ง ภายในโบสถวิหาร เมื่อไดเขาไปแลวจะตองชวยให คนเราเกิดความรูสึกปลีกตนไปเสียจากโลกภายนอก เพราะเหตุนี้ภาพจิตรกรรมในโบสถวิหารจึง ตองใหความรูสึกสงบและลี้ลับดวย (ชมพูนุท พงษประยูร, 2512) 2.1.1 ลักษณะของจิตรกรรมสมัยตาง ๆ ในประเทศไทย วรรณิภา ณ สงขลา (2528) กลาววาลักษณะของจิตรกรรมสมัยตาง ๆ มีระเบียบแบบ แผน เปนเอกลักษณของแตละยุคแตละสมัย จําแนกไดดังนี้ สมัยกอนประวัติศาสตร ในสมัยยุคหินยังไมพบหลักฐานที่ชัดเจนเกี่ยวกับจิตรกรรม ฝาผนัง จิตรกรรมที่พบสวนใหญอยูในยุคสําริด ซึ่งมีอายุประมาณ 4500-2000 ป เปนจิตรกรรมบน หิน ผนังถ้ํา เพิงผา หรือภาชนะดินเผา การเขียนภาพในยุคนี้ ใชวิธีเขียนสีผสมกาวลงบนฝาผนังหิน ไมมีรองพื้น สําหรับลวดลายที่เขียนบนภาชนะดินเผา เปนเทคนิคอยางหนึ่ง ซึ่งเขียนดวยสีดินแดง บนภาชนะดินดิบ เสร็จเรียบรอยแลวจึงนําไปเผา
  • 19. 6 สมัยทวารวดี เปนงานจิตรกรรมเริ่มแรกของสมัยประวัติศาสตร จิตรกรรมเปนภาพ ลายเสนสลักบนแผนหิน แผนอิฐ แผนโลหะ และลวดลายปูนปน โดยเขียนเปนรูปลวดลาย รูปคน และสัตวตาง ๆ จิตรกรรมมีอิทธิพลของศิลปะแบบคุปตะของอินเดีย มีอายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 11-13 สีที่ใชเขียนมีสีดินแดง ดินเหลือง ดํา(เขมา) และขาว(หินปูน) จิตรกรรมบางแหงในสมัยทวาร วดีนี้มีลักษณะนาสันนิษฐานวาเขียนขึ้นดวยเทคนิคการเขียนสีปูนเปยก (Real Fresco Technique) สมัยศรีวิชัย จิตรกรรมฝาผนังในถ้ําศิลปะ จังหวัดยะลา มีอายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-18 มีรูปแบบและลักษณะของจิตรกรรมเปนแบบศรีวิชัย เขียนสีเอกรงค วรรณะสวนใหญเปนสี ดินแดง และมีสีดินเหลือง ขาว ดํา เปนสวนประกอบ เทคนิคการเขียนภาพเขียนดวยสีฝุนบนพื้น ผนังถ้ําที่เตรียมรองพื้นดวยสีขาว ภาพเปนเรื่องพระพุทธประวัติ ภาพพระพุทธรูปมีลักษณะคลาย ประติมากรรมชวา สมัยสุโขทัย มีอายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 18-19 จิตรกรรมเปนเรื่องชาดกและภาพ พระพุทธรูป ซึ่งมีลักษณะคลายแบบพระพุทธรูปอินเดียและลังกา การเขียนภาพใชเทคนิคสีฝุน ผสมกาว วรรณะของสีเปนเอกรงคและปดทอง สีที่ใชมีสีแดง เหลือง ดําและขาว สมัยอยุธยา พุทธศตวรรษที่ 20 - พ.ศ. 2310 จิตรกรรมไทยไดมีวิวัฒนาการอยาง กวางขวางและชัดเจน เริ่มตั้งแตกลางพุทธศตวรรษที่ 20 สามารถจัดแยกเปน 3 ยุค ดังนี้ ยุคที่ 1 (พ.ศ. 1895 - 2031) จิตรกรรมฝาผนังมีรูปแบบเปนภาพเทวดาขนาดเล็ก อาจทํา ตามแบบภาพในสมุดไตรภูมิ นิยมเขียนภาพพระพุทธรูป พระสาวก ชาดกพระโพธิสัตว และ ลวดลายประดับแบบตางๆ วรรณะของสีเปนเอกรงค สีที่ใชมีสีแดง เหลือง ดํา ขาว และปดทอง การเขียนภาพใชเขียนดวยสีฝุนผสมกาว และมีจุดประสงคในการสรางขึ้นเพื่อการกราบไหวบูชา ยุคที่ 2 (พ.ศ. 2034-2172) จิตรกรรมยังเปนสีเอกรงค นิยมเขียนตามแบบเดิม คือ เขียน ภาพพระพุทธรูป พระสาวก พระโพธิสัตว พระอดีตพุทธชาดก และลวดลายตางๆ พื้นหลังเปนสี ออน ภาพเขียนเปนแบบ 2 มิติ แบนราบ เขียนสีบาง รองพื้นบาง บางแหงไมมีรองพื้น สีที่ใชมี 4 สี เหมือนเดิม และมีสีแดงชาดเพิ่มขึ้นอีก 1 สี ลักษณะจิตรกรรมมีอิทธิพลศิลปะอูทองและลพบุรีผสม อยูมาก
  • 20. 7 ยุคที่ 3 (พ.ศ. 2177-2310) งานชางศิลปกรรมของอยุธยาไดเจริญขึ้นอยางมาก เนื่องจากมีการติดตอกับชาวตางประเทศ และไดรับเอาความเจริญทางดานศิลปวิทยาการ ตลอดจนวัสดุและเครื่องมืออุปกรณตาง ๆ เขามาประยุกตใชในงานชางไทย จึงเกิดการ เปลี่ยนแปลงขึ้นหลายอยางในจิตรกรรมไทย คือ - จิตรกรรมเดิมเปนสีเอกรงค เปลี่ยนเปนพหุรงค มีสีเขียวออน ดินเขียว ฟา และมวง เพิ่มขึ้น - ภาพเปน 2 มิติตามเดิม แตพื้นหลังของภาพและทิวทัศนมีความลึกไกล เปน ทัศนีย วิสัยแบบภาพเขียนจีน ภาพตนไมและสายน้ํามีลักษณะออนไหวเลื่อนไหล - มีภาพชาวตางประเทศและเรือเดินสมุทรชาติตาง ๆ เปนภาพแปลกใหมในจิตรกรรม ไทย แตเปนภาพที่เขียนขึ้นจากความเปนจริงในยุคนั้น สมัยรัตนโกสินทร (พ.ศ.2325 - ปจจุบัน) จิตรกรรมดําเนินตามแบบอยางจิตรกรรม สมัยอยุธยาตอนปลาย วรรณะของสีใชสีสดจัดและตัดกันแรงกลา มีองคประกอบของกลุมภาพที่ งดงาม และมีรายละเอียดที่วิจิตรประณีตเปนพิเศษ จิตรกรรมในสมัยรัชกาลที่ 1-3 ชางเขียนไดรับความบันดาลใจจากสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้น ในสมัยนั้น เชน เหตุการณบานเมือง ชีวิตความเปนอยู สังคม ประเพณี การแตงกาย ลักษณะ บานเรือน วัดวาอาราม ปราสาทพระราชวัง ธรรมชาติและหมูสัตวตาง ๆ เปนแบบในการสรางสรรค ภาพเขียน ทําใหจิตรกรรมมีลักษณะพิเศษ คือ สีพื้นเปนสีเขม ภาพคนและสถาปตยกรรมเดน ออกมาเปนกลุม ๆ ใชสีจัด และนิยมใชสีตรงขามตัดกันอยางรุนแรง แตน้ําหนักของสีที่ตัดกันนั้น ประสานกันอยางกลมกลืน และเพิ่มความละเอียดประณีตในสวนที่เปนลวดลายเครื่องประดับ ยิ่งขึ้น ในยุคนี้การเขียนภาพนิยมเขียนภาพพระพุทธประวัติ ชาดกและวรรณกรรมทางศาสนา โดย ไดจัดระเบียบเปนแบบอยางยึดถือกันเปนหลัก คือผนังดานขางชวงบนติดฝาเพดานเขียนวิทยาธร มีสินเทาคั่น แลวมีเทพชุมนุม 1-5 ชั้น ตามความสูงของฝาผนังชวงเหนือหนาตางขึ้นไป ระหวาง ชองหนาตางและประตูเปนภาพชาดก หรือพระพุทธประวัติเปนตอน ๆ เรียงลําดับกันไป สวนฝา ผนังดานหนาเขียนภาพมารผจญ ดานหลังเขียนไตรภูมิหรือเสด็จจากดาวดึงส การเขียนตามแบบนี้ เปนแบบที่นิยมเขียนกันมากที่สุด จิตรกรรมในสมัยรัชกาลที่ 4 เปนตนมาถึงปจจุบัน จิตรกรรมฝาผนังแบบประเพณีเริ่ม เปลี่ยนไป เนื่องจากมีอิทธิพลศิลปกรรมแบบตะวันตกเขามาผสมผสานอยางมาก ลักษณะ
  • 21. 8 จิตรกรรมซึ่งเปนภาพแบนราบกลับมีทัศนียวิสัย ภาพมีความลึกไกล เปนภาพ 3 มิติ ลักษณะตัว ภาพบุคคล สิ่งแวดลอม สถาปตยกรรมก็เปนแบบตะวันตก และมีลักษณะเหมือนจริงมากกวา แบบเดิม ซึ่งเขียนขึ้นตามแบบอุดมคติ ภาพอาคารสถาปตยกรรมเหมือนกับแบบที่มีปรากฏอยูจริง ในสมัยนั้น เชน จิตรกรรมฝาผนังในพระราชอุโบสถวัดราชประดิษฐมีภาพพระที่นั่งตาง ๆ ใน พระบรมมหาราชวัง วัดพระศรีรัตนศาสดาราม วัดราชประดิษฐ วัดราชบพิธ และภาพวัดสุทัศน ปรากฏอยู เปนตน 2.1.2 วิธีการเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนัง ชมพูนุท พงษประยูร (2512) กลาววา จิตรกรรมที่นิยมเขียนในประเทศไทยคือ วิธีเขียนแบบสีฝุน (TEMPERA) ซึ่งการเขียนแบบสีฝุนนี้ เปนวิธีการที่ละเอียดและประณีตที่สุด การใชสีฝุนจะตองมีการตระเตรียมพื้นผนัง คือ ในตอนแรก จะตองราดลางดวยน้ําผสมใบขี้เหล็กตํา วิธีนี้จะตองทําทั้งเชาทั้งเย็นตลอดเวลา 7 วัน ตอจากนั้น จะตองมีการทดสอบดูวาผนังยังมีความเค็มอยูอีกหรือเปลา วิธีทดสอบก็คือใชขมิ้นถู ถาขมิ้น กลายเปนสีแดงก็แสดงวา ยังมีความเค็มอยู และตองใชน้ําผสมใบขี้เหล็กราดลางตอไปอีก ขั้น ตอไปก็คือลางผนังดวยน้ําเปลา แลวจึงทาผนังดวยปูนขาวผสมกับเม็ดมะขามซึ่งคั่วเมล็ดเสียกอน แลวตม หลังจากนั้นขัดพื้นใหเรียบแลวเริ่มตนเขียนภาพได สีที่จะใชเขียนก็ตองผสมกับยางไมชนิด หนึ่งคือยางมะขวิดหรือกาว ถาผนังแหงสนิทแลวและไดที่ดีแลว พื้นผนังที่เขียนภาพสีฝุนไวจะแข็ง มากและคงทนอยูไดนับเปนเวลารอย ๆ ป แตถาฝาผนังเปยกชื้น ภาพผนังจะคอย ๆ เสื่อมสูญไป นี้ เปนมูลเหตุสําคัญที่ภาพเขียนเกา ๆ ในประเทศไทยเหลือแตเพียงสวนนอย สําหรับสีที่ใชเขียน ชางเขียนแตกอนใชดินหรือสีจากใบไมและเปลือกไม สีทั้ง 2 ชนิดนี้ เปนสีธรรมชาติซึ่งประสานกันไดดี ดวยเหตุนี้เราจะไมเห็นสีที่ขัดกันในจิตรกรรมแบบโบราณ สําหรับพูกันที่ใชในการเขียนภาพนั้น เปนพูกันที่ทําขึ้นจากขนหูวัว 2.2 การเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนัง การเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนัง เชนเดียวกับการเสื่อมสภาพของสิ่งแวดลอม ศิลปกรรมอื่น ๆ คือมีสาเหตุมาจาก 2 ปจจัยหลัก ดังนี้
  • 22. 9 1. การเสื่อมสภาพที่มีสาเหตุมาจากมนุษย ทั้งจากการทําลายโดยเจตนาและไมเจตนา การบํารุงรักษาไมเหมาะสม การบูรณะซอมแซมผิดวิธี การจับตองที่ขาดความระมัดระวัง ตลอดจน ความบกพรองของวัสดุอุปกรณและเทคนิคการสรางงานจิตรกรรม ปญหาการเสื่อมสภาพที่มี สาเหตุมาจากมนุษยนี้ สามารถปองกันหรือทําการควบคุมได หากมีการใหความรูและรวมมือกัน อยางจริงจังในทุกหนวยงาน 2. การเสื่อมสภาพที่มีสาเหตุมาจากปจจัยทางสิ่งแวดลอม ไดแกอุณหภูมิ ความชื้น แสงแดด ความรอน มลภาวะทางอากาศ เปนตน โดยปจจัยเหลานี้นอกจากมีผลตอการ เสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังโดยตรง เชนทําใหเกิดการเสียรูปราง บิดงอ ภาพลบ สีซีด เนื้อวัสดุ กรอบเปราะ ยังสงผลใหเกิดปจจัยอื่นที่มีผลตอการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังตามมา ดวย ซึ่งการเสื่อมสภาพเนื่องจากปจจัยทางสิ่งแวดลอมควบคุมไดยาก จึงตองมีการศึกษาเพื่อหาวิธีมา จัดการกับสาเหตุนี้ 2.2.1 ความชื้น ความชื้นเปนสาเหตุสําคัญที่สุดในการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนัง เนื่องจาก ความชื้นสามารถเคลื่อนที่ไดหลายรูปแบบ และสามารถกระตุนปฏิกิริยาขั้นอื่น ๆ ตอไป ทําใหมีผล ตอการเสื่อมสภาพของจิตรกรรมฝาผนังได เชน การเกิดผลึกเกลือบนผนัง การเจริญเติบโตของ สาหราย และราบนผนัง เปนตน (Mora, 1974) โดยปกติ วัสดุที่ใชในการกอสรางสวนใหญจะมีรูพรุน ทําใหน้ําสามารถผานเขาออกได วัสดุเหลานี้จะแลกเปลี่ยนความชื้นกับอากาศตลอดเวลา ซึ่งวัสดุจะทั้งรับและสูญเสียความชื้น ขึ้นอยูกับขณะนั้นอากาศมีความชื้นมากหรือนอยกวาวัสดุ และในที่สุดเมื่อความชื้นสัมพันธใน อากาศไมเปลี่ยนแปลง ปริมาณความชื้นในวัสดุจะคงที่เรียกวา อยูในสภาวะสมดุลกับอากาศ ถา ความชื้นสัมพัทธในอากาศเปลี่ยนแปลงอีกครั้ง ปริมาณความชื้นในวัสดุจะคอย ๆ เปลี่ยนดวย ดังนั้นความชื้นสัมพัทธในอากาศแตละคาจะมีคาปริมาณความชื้นที่แนนอนที่ทําใหวัสดุอยูใน สภาวะสมดุลกับอากาศ โดยคาเหลานี้จะแตกตางกันออกไปในวัสดุกอสรางแตละชนิด โดยปกติจะ ถือวาวัสดุชื้น เมื่อความชื้นในวัสดุมีคามากกวาความชื้นที่วัสดุสามารถมีไดในสภาวะที่สมดุลกับ อากาศ (Oxley and Gobert, 1983)
  • 23. 10 2.2.1.1 ประเภทของความชื้นที่ทําลายผนัง รูปที่ 2-1 ประเภทของความชื้นในผนัง 1. ความชื้นที่ไหลซึมไปสูผนัง (Infiltration) 2.ความชื้นที่ขึ้นไปตามแรง ดึงในรูพรุนของผนัง (Capillarity) 3. ความชื้นที่กลั่นตัวจับอยูบนผนัง (Condensation) 4. ฝนและลม 5. ฝนและลมทําใหผนังเย็นจัดจนเกิดการกลั่นตัวที่ผนังดานใน. E. ผนังภายนอกอาคาร (External) I. ผนังภายในอาคาร (Internal) ที่มา : Poulo Mora (1974)
  • 24. 11 1. ความชื้นที่ปะทะ/สัมผัสกับผนังโดยตรง ความชื้นประเภทนี้จะมาจากน้ําฝนที่สาด โดนผิวหนาของผนังดานนอกอาคาร (รูปที่ 2-1) ถาดานนอกอาคารมีภาพวาดบนผนังจะถูกน้ําฝน ทําลายไดงาย เชน โบสถบางแหงใน Moldavia ซึ่งมีภาพวาดแบบ fresco อยูบนผนังดานนอก (Mora, 1974) นอกจากกรณีที่ฝนสาดโดนผนังโดยตรงแลว ฝนอาจจะตกลงบนที่อื่นบนอาคารแลวไหล มาที่ผนังอีกที ซึ่งกรณีนี้นับวาอันตรายมาก เพราะน้ําฝนสามารถละลายสารที่ละลายน้ําไดมาตาม ทาง และเมื่อน้ําระเหยไป เกลือจะตกผลึกอยูบนผิวหนาของผนัง ทําใหผนังชํารุดเสียหายได (Bernard, 1982) อยางไรก็ตามจิตรกรรมฝาผนังของวัดในประเทศไทย เปนจิตรกรรมที่วาดบนผนังดานใน อาคาร เพราะฉะนั้นความชื้นประเภทนี้จะไมนํามาพิจารณาในการศึกษาครั้งนี้ 2. ความชื้นที่ไหลซึมไปสูผนัง (Infiltration) แหลงกําเนิดที่สําคัญของความชื้น ประเภทนี้คือน้ําฝน โดยน้ําฝนสามารถไหลซึมเขาไปในผนังไดจากการชํารุดเสียหายของอาคาร เชนจากหลังคา (ดังรูปที่ 2-2) ทางสันกําแพงและรอยแตกราวของผนังดานนอก นอกจากนี้ ความชื้นสามารถมาจากน้ําในระบบน้ําของอาคารดวย เชนจากรอยรั่วของระบบระบายน้ํา หรือ รอยรั่วจากทอประปา เปนตน (Mora,1974) วรรณิภา ณ สงขลา (2531) ไดจําแนกลักษณะการเสื่อมสภาพของจิตรกรรม ฝาผนัง ในประเทศไทยที่มีสาเหตุจากน้ําฝนไหลซึมไวดังนี้ 1. น้ําฝนรั่วจากหลังคาไหลลงมาตามผนัง จิตรกรรมชํารุดตามทางน้ําไหลจากเพดานลง มาเปนแนวเสนดิ่ง 2. น้ําฝนรั่วซึมเขาทางสันกําแพงผนัง ทําใหผนังตอนบนชื้น จิตรกรรมและวัสดุ กอสรางชวงบนจะเสื่อมยุยสลายตัวเปนแถบ หรือเปนวง หรือเปนแนวโคงแบบรอยน้ําซึม 3. น้ําฝนซึมเขาทางรอยแตกราวของฝาผนังดานนอก ลักษณะของการชํารุดเปนแบบ เดียวกันกับขอ 2 แตเกิดขึ้นทั่วไปทุกสวนของฝาผนังที่ปรากฏวามีรอยแตกราวของฝาผนัง ดาน นอก
  • 25. 12 รูปที่ 2-2 รอยน้ําฝนรั่วจากหลังคา วัดสุวรรณารามราชวรวิหาร 3. ความชื้นที่กลั่นตัวจับอยูบนผนัง (Condensation) (รูปที่ 2-1) จะเกิดในกรณีที่ อุณหภูมิที่ผิวหนาผนังลดลงจนต่ํากวาจุดน้ําคางของอากาศ อากาศที่มาสัมผัสกับผนังจะเย็นลง จนถึงจุดน้ําคางและหยดน้ําจะกลั่นตัวออกมาจับอยูบนผนัง (Oxley and Gobert, 1983) อยางไรก็ตาม Mora (1974) กลาววาการกลั่นตัวของความชื้นที่จับอยูบนผนัง จะเกิดขึ้น ไดในสภาวะที่ผนังมีความหนานอยมาก หรือความตานทานต่ําหรือการนําความรอนสูง จึงจะ สามารถเกิดการกลั่นตัวที่จะใหความชื้นจับตัวบนผนังดานในได ซึ่งโดยทั่วไปโบราณสถานมีผนัง หนาเกินกวาจะเกิดเหตุการณดังกลาว นอกจากนี้การเกิดปรากฏการณการจับตัวของความชื้นที่ ผนังจากการกลั่นตัวของหยดน้ํา มักจะเกิดขึ้นในประเทศซึ่งมีอุณหภูมิเฉลี่ยในเดือนมกราคมต่ํา กวา 2 ๐ C จึงไมนําความชื้นประเภทนี้มาพิจารณาในการศึกษาครั้งนี้ 4. ความชื้นที่ขึ้นไปตามแรงดึงในรูพรุนของผนัง (Capillarity) (รูปที่ 2-1) ความชื้น ประเภทนี้มีแหลงกําเนิดมาจากน้ําในดิน ใตดินหรือน้ําฝนที่ทวมขังบริเวณฐานอาคาร โดยน้ํา เหลานี้จะขึ้นมาตามรูพรุนในผนังและจะปรากฎใหเห็นรอยชํารุดเปนแนวทางยาวจากพื้นถึงที่ความ สูงระดับหนึ่ง ๆ ดังรูป 2-3 หรือบางครั้งจะปรากฎเกลือตกผลึกอยูดวย โดยปกติเมื่อน้ําสัมผัสกับ วัสดุที่แหง น้ําจะพยายามแพรกระจายไปทั่วผิวหนาที่เปยกน้ําไดของวัสดุ และตอจากนั้นจะซึม ผานเขาไปในวัสดุ สําหรับในรูพรุนของวัสดุกอสราง น้ําจะพยายามแพรกระจายไปทั่วผิวหนาที่
  • 26. 13 เปยกน้ําไดเชนเดียวกัน ทําใหเกิดแรงดันน้ําขึ้น แตดวยแรงดึงดูดของโลกจะดึงน้ําลงมา ทําใหน้ําใน รูพรุนเกิดการเวาลง ดังรูป 2-4 ดังนั้นจึงกลาวไดวาน้ําสามารถขึ้นไปตามรูพรุนไดเนื่องจากอาศัย แรงดึงของรูพรุน หรือ Capillary Attraction (Oxley and Gobert, 1983) แตเนื่องจากในความ เปนจริง รูพรุนและรอยแตกหักในผนังไมตอเนื่องกัน กระบวนการที่เกิดขึ้นจึงเปนไปอยางชา ๆ รูปที่ 2-3 รอยความชื้นจากน้ําใตดิน โดยปกติการเคลื่อนที่ของความชื้นขึ้นไปตามรูพรุนจะมีคาไมเกินครึ่งถึง 1 เมตร ถาไมมี การปดกั้นการระเหยของน้ําจากผนัง แตถาการระเหยของน้ําถูกปดกั้น เชน มีการบุผนังดวย กระเบื้องเคลือบหรือหินออน น้ําจะระเหยตรงผิวที่อยูเหนือวัสดุเหลานี้ ทําใหระดับของน้ําที่ขึ้นไป ตามรูพรุนสูงมากขึ้น (Oxley and Gobert, 1983) การระเหยของน้ําออกจากผนัง จะเกิดที่ผิวหนาของผนัง โดยความชื้นขางในวัสดุตอง เคลื่อนที่มาที่ผิวหนาของผนังเพื่อจะสามารถระเหยไปสูอากาศได ถาการเคลื่อนที่ของน้ําเกิดจาก แรงดึงในรูพรุน ผิวหนาจะไดรับน้ําอยางสม่ําเสมอ ทําใหมีการระเหยที่ผิวหนาอยางตอเนื่อง แตถา แรงดึงในรูพรุนนอย ความชื้นจะมาไมถึงผิวหนา ผิวหนาจะแหงและแนวการระเหยจะเลื่อนลงมา เกิดที่ใตผนัง ไอน้ําจากการระเหยจะเกิดในรูพรุนระหวางแนวการระเหยกับผิวหนาของผนัง กอนที่ จะเคลื่อนที่ไปที่ผิวหนาและระเหยในที่สุด ซึ่งปจจัยที่มีผลตอการระเหยของน้ําออกจากวัสดุที่มีรู พรุน มีดังนี้
  • 27. 14 1. ลักษณะของสภาวะแวดลอมโดยรอบ ไดแก อุณหภูมิ ความชื้นสัมพันธในอากาศ และ ปริมาณการระบายอากาศ 2. ลักษณะของโครงสรางของวัสดุที่มีผลตอการเคลื่อนที่ของน้ําไปยังผิวหนา เชนความ เปนรูพรุนของวัสดุทั้งจํานวนและขนาดของรูพรุน โดยวัสดุที่มีรูพรุนขนาดเล็กจะทําใหน้ําเคลื่อนที่ มาถึงผิวหนาของผนังไดมาก ทําใหน้ําระเหยออกไดมาก ในขณะที่วัสดุที่มีรูพรุนขนาดใหญและ วัสดุที่มีจํานวนรูพรุนนอย จะตานทานการเคลื่อนที่ของน้ําไดมาก ทําใหน้ําระเหยออกไดนอย (Mora, 1974) รูปที่ 2-4 แรงดึงในรูพรุน ที่มา : Oxley and Gobert (1983) ดังไดกลาวมาแลววา แหลงกําเนิดของความชื้นประเภทนี้มาจากน้ําในดินหรือใตดิน น้ํา เหลานี้จะสามารถละลายสารที่ละลายน้ําได เชน เกลือตาง ๆ ในดิน เมื่อน้ําขึ้นไปตามแรงดึงในรู พรุน หรือรอยแตกของผนัง สารละลายหรือสารผสมของเกลือในน้ําจะถูกสงผานขึ้นมาดวย ในฤดู แลงน้ําจะระเหยออกจากผนัง เกลือไมสามารถระเหยได จะตกผลึกอยูบนผิวหนาของผนัง หรือ ภายในรูพรุน หรือเกิดทั้ง 2 แหง การเกิดเกลือบนผิวหนาของผนัง เรียกวา Efflorescence สวนการ เกิดเกลือภายในรูพรุนซึ่งมองไมเห็นนั้น เรียกวา Cryptoflorescence ปรากฏการณทั้ง 2 แบบนี้ สามารถเกิดพรอมกันได (Honeyborne, 1991) การเกิดผลึกเกลือในชวงแรก อาจมองดวยตาเปลาไมเห็น แตหลังจากที่ผาน วัฏจักร ของฤดูฝนและฤดูแลงหลายครั้ง ทําใหเกลือละลายและตกผลึกซ้ําแลวซ้ําเลา ผลึกจะมีขนาดโตขึ้น ทําใหสามารถมองเห็นผลึกเกลือบริเวณผิวหนาวัสดุได การละลายของผลึกเกลือนี้ ไมจําเปนตอง ไดรับมาจากน้ําที่ผานผนัง เกลือบางชนิดสามารถดูดน้ําจากอากาศได เมื่อปริมาณมากพอจะ ละลายและจะทําใหผนังเปยกไดเชนเดียวกัน แมไมมีแหลงกําเนิดความชื้นเลยก็ตาม เกลือเหลานี้
  • 28. 15 จะดูดน้ําก็ตอเมื่อความชื้นสัมพัทธในอากาศสูงพอ ในทางกลับกันเกลือจะสูญเสียน้ําและเกิดเปน ผลึกเกลืออีกครั้งถาความชื้นสัมพัทธในอากาศลดต่ําพอ คาความชื้นสัมพัทธในอากาศที่เกลือเริ่ม จะดูดน้ําจากอากาศเรียกวา ความชื้นที่เกลืออยูในสภาวะสมดุลกับอากาศ (Equilibrium Relative Humidity, ERH ของเกลือ) (Honeyborne, 1991) สาเหตุที่ผลึกเกลือมีผลทําใหผนังเกิดการชํารุดเสียหายได เนื่องจากเกิดแรงดันของผลึก เกลือในรูพรุน โดยปจจัยหนึ่งที่ทําใหกระบวนการนี้เกิดขึ้น คือ แรงดึงในรูพรุน ซึ่งแรงดึงในรูพรุนจะ ทําใหรูพรุนไดรับสารละลายเกลือเพิ่มขึ้นตลอดเวลา ทําใหผลึกเกลือมีขนาดโตขึ้นเรื่อย ๆ แมวาจะ มีเกลือตกผลึกอยูเต็มรูพรุนแลวก็ตาม ผลึกเกลือที่มีขนาดโตขึ้นเรื่อย ๆ นี้ จะออกแรงดันตอรูพรุน ทําใหรูพรุนเกิดการผุกรอนและสงผลทําใหผนังเกิดการชํารุดเสียหายตามมา อีกปจจัยหนึ่งที่ทําให เกิดแรงดันในรูพรุนได คือ การดูดน้ําของเกลือในสภาวะที่เหมาะสม ดังไดกลาวแลววา เกลือบาง ชนิดสามารถดูดน้ําจากอากาศได เมื่อผลึกเกลือดูดน้ําจะมีปริมาตรเพิ่มขึ้น ทําใหแรงดันตอรูพรุน เพิ่มขึ้นดวย สงผลใหผนังชํารุดเสียหายไดเชนเดียวกัน ผลของแรงดันที่เกิดขึ้นในแตละกรณี จะ ขึ้นอยูกับความแข็งแรงของผลึกเกลือกับความแข็งแรงของรูพรุนในผนัง ถารูพรุนมีความแข็งแรง มากกวา ผลึกเกลือจะถูกดันออกมาขางนอก ปรากฏเปนผลึกเกลือบนผนังขึ้น ถาผลึกเกลือมี ความแข็งแรงมากกวา รูพรุนจะถูกผลึกเกลือดันใหแตกออก และเกิดการผุกรอน สงผลใหผนัง ชํารุดเสียหายตามมา (Mora, 1974) ผลึกเกลือที่ปรากฏบนผนังมีหลายชนิดดังนี้ (Mora, 1974) 1. เกลือซัลเฟตของโซเดียม โปแตสเซียม แมกนีเซียม และแคลเซียม เกลือกลุมนี้เปน อันตรายตอผิวหนาของผนังมากที่สุด เนื่องจากถาเกลือกลุมนี้ตกผลึกบริเวณใด บริเวณนั้นก็จะ แตกหักออกจากกัน ไดรับความเสียหายมาก เกลือแคลเซียมซัลเฟตสามารถรวมตัวเปนคราบสีขาว บนผนังหรือสามารถตกผลึกภายในผนังไดจากปฏิกิริยาของซัลเฟตกับแคลเซียมคารบอเนตซึ่งมี มลพิษทางอากาศเปนตัวกระตุน 2. เกลือไนเตรตของโซเดียม โปแตสเซียม และแคลเซียม เกลือกลุมนี้เปนเกลือที่ สามารถละลายน้ําได ซึ่งโดยปกติจะเกิดเปนผงเกลือหนาที่กําจัดออกไดงาย และการทําลายของ เกลือกลุมนี้จะไมรุนแรงเทาของเกลือซัลเฟต 3. เกลือแคลเซียมคารบอเนต เปนเกลือที่เปนสวนประกอบหลักของวัสดุกอสราง ทั้งนี้ ดวยตัวของเกลือชนิดนี้เองจะไมมีผลทําใหผนังแตกกรอนเสียหาย แตสามารถทําใหเกิดแผนแข็ง ของเกลือที่แข็งมากและยากตอการกําจัด
  • 29. 16 4. เกลือโซเดียมคลอไรด มีที่มาจากอากาศในบริเวณทะเล หรือในบริเวณที่มีเกลือ สินเธาว โดยปกติจะตกผลึกบนผิวหนาของผนัง จริง ๆ แลวตัวมันเองไมทําใหผนังเกิดการแตก กรอน แตถาผลึกเกลือผานกระบวนการดูดน้ําและคายน้ําจากอากาศ จะสามารถทําใหผิวหนา ของผนังแตกออกได นอกจากนี้ จิราภรณ อรัณยะนาค (2535) ไดกลาววามีเกลืออีกประเภทหนึ่งที่ ปรากฏบนผนังคือ เกลือฟอสเฟต เชน แคลเซียมฟอสเฟต โปแตสเซียมฟอสเฟต เกลือเหลานี้มีที่มา จากโรงงานอุตสาหกรรม ปุย ผงซักฟอก และสารเคมี 2.2.1.2 การวัดความชื้น เครื่องมือที่ใชวัดความชื้นมี 2 ประเภท คือ เครื่องมือที่ใชวัดความชื้นสัมพัทธในอากาศ และเครื่องมือที่ใชวัดความชื้นของผนัง (Massari, 1977) ทั้งนี้ Mora (1974) กลาวไววาการวัดความชื้นของผนังนั้น มี 2 แบบ คือ 1. การวัดความชื้นในผนัง ในการประเมินวิธีนี้ จะตองเก็บชิ้นตัวอยางของผนังขนาด 25- 30 กรัม ออกมาโดยการเจาะรู เมื่อเก็บตัวอยางมาทดสอบจะตองเก็บทันทีในขวด สูญญากาศ แลวนําไปชั่งน้ําหนัก จากนั้นนําชิ้นตัวอยางไปอบในเตาอบที่ใหความรอน 100๐ C เปนเวลา 7 ชั่วโมง เมื่อปลอยไวใหแหงแลวจึงนําออกมาชั่งน้ําหนักอีกที ผลตางของปริมาณความชื้นกอนนําไป อบและหลังอบเทียบดวยปริมาณความชื้นกอนนําไปอบ คูณดวย 100 จะไดปริมาณความชื้นใน ผนังออกมาเปนเปอรเซ็นต 2. การวัดความชื้นที่พื้นผิว มีเครื่องมือหลายชนิดที่ใชในการวัดความชื้นที่พื้นผิว ซึ่งสราง ขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของการนําไฟฟาที่ผนังซึ่งขึ้นอยูกับปริมาณความชื้นที่ปรากฏอยูในผนังนั้น เครื่องมืออยางหนึ่งคือเครื่องแบบหัวสัมผัส ซึ่งสามารถสัมผัสกับผนังไดโดยตรง กับเครื่องอีกแบบ คือเครื่องที่มีหัวเปนเข็มที่ใชเจาะทะลุเขาไปในผนัง ซึ่งจะทําใหผนังเสียหายได 2.2.1.3 การตัดผนังเพื่อกันความชื้นจากใตดิน การตัดผนังเพื่อปองกันความชื้นจากใตดินซึมขึ้นมาในวัดเปาโรหิตย ทําโดยเจาะผนัง อุโบสถ โดยเจาะใหสูงจากพื้นภายใน 35 เซนติเมตร แลวฝงแผนเหล็กไรสนิมเขาไป ซึ่ง วีระ โรจนพจนรัตน (2527) อธิบายวามีวิธีการดังตอไปนี้
  • 30. 17 1. ทําการเจาะผนัง ณ จุดที่กําหนดโดยเจาะใหทะลุถึงผนังดานนอกแลวใชสอดเลื่อยซึ่ง เปนเลื่อยมือใหไปในทิศทางที่กําหนด 1 เมตร การเลื่อยผนังจะเลื่อยจะเลื่อยชองละเมตรเวนเมตร 2. ทําการสอดแผนอาซีเตทอยางหนา ณ ชองวางที่เลื่อยไว หลังจากนั้นวางแผนเหล็กไร สนิทรอง ณ จุดตอของแผนเหล็กไรสนิท หลังจากนั้นใหสอดเหล็กไรสนิมซึ่งกําหนดใหมีความชอง ละ 1 เมตร แลวสอดแผนเหล็กไรสนิมทับอีกครั้ง ณ รอยตอ แผนเหล็กไรสนิมใชเบอร 0.5 3. เสริมวัสดุแทรกในชองวางที่เหลือโดยสวนผสมของปูนซีเมนต : ปูนขาว : ทราย อัตรา 1 : 6 : 10 ใหผสมน้ํายาเพิ่มความแข็งแรง เรงปฏิกิริยาใหแหงเร็วขึ้น และผสมน้ํายา CONBEX 4. สวนของวงกบลางของประตู หนาตางที่ผุ ใหสกัดออกแลวใชวัสดุตามขอ 3 เสริมเขา ไปแทน 5. ใหทําการแตงแนวผนังทั้งขางนอกขางในใหเหมือนของเดิม แลวแตงสีให กลมกลืน กับของเดิม 2.2.2 แสงแดด จิราภรณ อรัณยะนาค (2540) กลาววาแสงสวางและรังสีอัลตราไวโอเลตมีความยาว คลื่นอยูในชวงที่มีอันตรายตอศิลปโบราณวัตถุที่ทําจากอินทรียวัตถุแทบทุกชนิด โดยเฉพาะรังสี อัลตราไวโอเลต มีความยาวคลื่นอยูในชวงที่มีอันตรายสูงสุด ซึ่งนิภาพร สุนทรพิทักษกุล (2541) ไดกลาวไววาแสงแดดที่ผานชั้นบรรยากาศลงมาถึงผิวโลกจะมีความยาวคลื่นมากกวา 290 นาโน เมตร โดยรังสีอัลตราไวโอเลตจะอยูในชวงความยาวคลื่น 290 – 400 นาโนเมตร นอกจากนี้ กุลพันธาดา จันทรโพธิศรี (2531 อางถึงใน นิภาพร สุนทรพิทักษกุล, 2541) ไดกลาวไววาแสงสวาง ไมวาจะเปนแสงจากหลอดไฟหรือแสงธรรมชาติจากดวงอาทิตย ซึ่งรวมทั้ง แสงที่ไมสามารถมองเห็นไดดวยตาเปลา เชน รังสีอัลตราไวโอเลต และรังสีอินฟราเรด จะสามารถ ทําใหศิลปกรรมเสื่อมสภาพลงได และสามารถกอใหเกิดความเสียหายไดมากขึ้นกับวัตถุอินทรีย แตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนั้นจะเกิดขึ้นอยางชา ๆ ทําใหสังเกตเห็นยาก ตอเมื่อสามารถ สังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นแลว มักจะทําการแกไขใหกลับมามีสภาพเหมือนเดิมไดยาก แลว เชน สีซีด เนื้อวัตถุกรอบ เปราะ เหลือง เปนตน ทั้งนี้เนื่องจากแสงจะไปทําใหเกิดการ เปลี่ยนแปลงทางเคมีขึ้นบนเนื้อวัตถุ โดยเฉพาะอินทรียวัตถุที่มีเซลลูโลสเปนสวนประกอบ ยิ่งมี ความชื้นและออกซิเจนดวย การเสื่อมโทรมในลักษณะนี้จะเปนไปอยางรวดเร็ว การเสื่อมสภาพ แบบนี้เรียกวา “ Photochemical Degradation ” การชํารุดเสียหายที่เกิดขึ้นจะมากหรือนอยขึ้นอยู
  • 31. 18 กับชนิดของแสง ระยะเวลาที่วัตถุถูกแสง ตลอดจนลักษณะหรือปริมาณของแสงที่ตกลงมาถูกวัตถุ และชนิดของวัตถุ สําหรับการทาผนังในภาพจิตรกรรมฝาผนังตองใชปูนขาวผสมกับเม็ดมะขาม สวนสีที่ใช เขียนภาพตองผสมกับยางมะขวิดหรือกาว ซึ่งเม็ดมะขามและยางมะขวิดเปนอินทรียวัตถุ รังสี อัลตราไวโอเลตจากแสงแดด จึงมีผลทําใหภาพจิตรกรรมฝาผนังเกิดการเสื่อมสภาพได เชนเดียวกัน แตการเสื่อมสภาพเปนไปอยางชา ๆ (จิราภรณ อรัณยะนาค, 8 พฤษภาคม 2544, สัมภาษณ) เนื่องจากทั้งแสงแดดและรังสีอัลตราไวโอเลต เปนรูปแบบหนึ่งของพลังงาน ดังนั้นวิธีที่ ตรงที่สุดที่จะวัดแสงแดดและรังสีอัลตราไวโอเลต คือการวัดอัตราที่พลังงานของแสงแดดและรังสี อัลตราไวโอเลตตกลงไปบนพื้นที่หนึ่ง ๆ สําหรับแสงแดดจะใชเครื่องมือที่เรียกวา “Light Meter” หรือ “Lux Meter“ ซึ่งไมไดเปนการวัดพลังงานโดยตรงแตเปนการวัดสิ่งที่ตามองเห็นได ซึ่งในความ เปนจริงตาของคนจะไมสามารถมองเห็นรังสีอัลตราไวโอเลตหรืออินฟราเรดได ดังนั้นเครื่องวัดนี้จะ ไมตอบสนองกับชวงความยาวคลื่นของรังสีอัลตราไวโอเลตและอินฟราเรด แตจะไวกับแสงสีเขียว มากกวาแสงสีน้ําเงินหรือแดงซึ่งเปนคุณสมบัติของตามนุษย เครื่องวัดแสงที่ดีที่สุดคือเครื่องวัดที่ ใกลเคียงกับความไวของตามนุษยมากที่สุด โดยมีหนวยในการวัดเปนลักซ (Lux) หรือลูเมนตอ ตารางเมตร (Lumen/m2 ) (Thomson, 1981) สําหรับเครื่องวัดรังสีอัลตราไวโอเลต จะใชเครื่องมือที่เรียกวา “ UV Monitor” โดยปกติ จะมี 2 ชนิด ชนิดหนึ่งจะวัดระดับของรังสีอัลตราไวโอเลต มีหนวยเปนไมโครวัตต (μW)กับอีกชนิด หนึ่งจะเปนการวัดสัดสวนของรังสีอัลตราไวโอเลตที่มีในแสง มีหนวยเปนไมโครวัตตตอลูเมน (μW/Lumen) ซึ่งเครื่องวัดชนิดที่ 2 นี้จะเปนที่นิยมกวาเพราะเปนการวัดโดยไมคํานึงถึงระยะทาง จากแหลงกําเนิดแสง