SlideShare a Scribd company logo
ห น้ า | 1 
 
บทที 1 บทนํา
ทีมาและความสําคัญ
เนืองจากพฤติกรรมของนักเรียนในโรงเรียนเป็นเรืองยากแก่การควบคุมและตรวจสอบ โดยเฉพาะ
ในปัจจุบันได้มีการทําบันทึกความดีขึนมา แต่การทําบันทึกความดีของนักเรียนก็ยังเป็นเรืองยากแก่การ
ตรวจสอบ บันทึก และรายงานผล เพราะสมุดบันทึกความดีนันจะเป็นการนํากระดาษมารวมเป็นรูปเล่ม
เท่านันจึงไม่สะดวกแก่การพกพาไปไหนมาไหน และเสียงต่อการสูญหาย ชํารุด หรือปลอมแปลง โดย
นักเรียนจะสามารถปลอมแปลงลายเซ็นของผู้ปกครองได้ การรายงานผลก็เสียเวลาในการรวบรวมข้อมูลที
หลายขันตอน ดังนันคณะผู้จัดทําจึงมีแนวคิดทีจะพัฒนาโปรแกรมประยุกต์นํามาใช้กับธนาคารความดีเพือ
บันทึกข้อมูลและพฤติกรรมของนักเรียนภายในโรงเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ร่วมกับการใช้บัตรคะแนน
ความดี ทีเฉพาะครูเท่านัน ทีมีไว้สําหรับให้แก่นักเรียนทีทําความดีตามสถานทีภายในโรงเรียน อาทิเช่น การ
ช่วยคุณครูถือของ หรือทําความสะอาดห้องเรียน เป็นต้น แล้วนักเรียนทีได้ใบคะแนนความดี จะนําใบ
คะแนนนันไปขึนคะแนนกับธนาคารความดี บันทึกลงในโปรแกรม โดยใบคะแนนนีจะเป็นใบละ 5 คะแนน
แต่ละใบจะมีตราประทับโรงเรียนและลายเซ็นของผู้อํานวยการโรงเรียน ไม่สามารถปลอมแปลงได้ โดย
โปรแกรมธนาคารความดีนีจะมีรายการบันทึกหลักอยู่สองรายการคือ รายการเพิมคะแนนความประพฤติ
และรายการหักคะแนนความประพฤติ รายการแต่ละรายการสามารถนําไปทําเป็นหลักฐานเพือส่งต่อกับ
ฝ่ายบริหาร หรือปกครอง เพือทําการแก้ไขนักเรียนทีมีผลคะแนนติดลบต่อไป ในส่วนของโปรแกรมคณะ
ผู้จัดทําได้ทําการต่อยอดจากโปรแกรมของรุ่นพี ทีเคยคิดสร้างโปรแกรมบันทึกคะแนนความประพฤติขึนมา
เมือ 4 ปีก่อน แต่ยังไม่สมบูรณ์ดี และได้พัฒนาต่อยอดเพือให้ได้รูปแบบโปรแกรมและรายงานทีสมบูรณ์ขึน
วัตถุประสงค์
1. เพือมีเครืองมือไว้เก็บข้อมูลการทําความดีและหักคะแนนของนักเรียนโรงเรียนอุเทนพัฒนา
2. เพือปรับปรุง และพัฒนาโปรแกรมธนาคารความดีให้มีประสิทธิภาพยิงขึน
3. เพือรายงานและจัดเก็บข้อมูลทีได้จากโปรแกรม
ห น้ า | 2 
 
ขอบเขตของการศึกษา
1. การจัดทําโครงงานเรือง การสร้างโปรแกรมธนาคารความดี โรงเรียนอุเทนพัฒนา ตําบลโนนตาล
อําเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม
2. โปรแกรมทีใช้พัฒนา คือ โปรแกรม Visual Basic 6.0 pack 6
3.โปรแกรมทีใช้สร้างฐานข้อมูล คือ โปรแกรม Microsoft Access 2003
วิธีดําเนินการทําโครงงาน
1. รวบรวมข้อมูลศึกษาวิธีการใช้โปรแกรม Visual Basic 6.0 pack 6 และ Microsoft
Access 2003 และออกแบบฐานข้อมูล
2. การออกแบบฟอร์มหน้าหลักของโปรแกรม และเมนูย่อยต่างๆ ดังนี
2.1 หน้าจอการทํางานหลัก
2.2 ประวัติส่วนตัวของนักเรียน
2.3 ข้อมูลเพิมเติม
2.4 รายละเอียดการเพิม - หักคะแนนความประพฤติ
2.5 หน้าจอเพิมคะแนนความประพฤติ
2.6 หน้าจอหักคะแนนความประพฤติ
2.7 รายงานคะแนนรายห้อง - รายบุคคล
3. ดําเนินการตามขันตอนการออกแบบหน้าจอ เริมเขียนโปรแกรมตามจุดประสงค์ทีได้
ออกแบบ
ผลทีคาดว่าจะได้รับ
1. สามารถใช้โปรแกรม เก็บข้อมูล พฤติกรรมของนักเรียนทีเป็นสมาชิก และสามารถออกรายงาน
คะแนนความประพฤติให้แก่นักเรียน ครู ฝ่ายปกครอง และผู้บริหารได้
2. ได้ใช้ความรู้ทีเรียนมาในการพัฒนาโปรแกรมเพือการใช้งานจริง
ห น้ า | 3 
 
บทที 2 เอกสารทีเกียวข้อง
ฐานข้อมูล (database) คือ กลุ่มข้อมูลทีมีความสัมพันธ์กันและถูกนํามารวบรวมไว้ในทีเดียวกัน
อย่างเป็นระบบเพือนําไปใช้ในวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึงโดยกลุ่มผู้ใช้ตังแต่หนึงกลุ่มขึนไป
ข้อมูล (data) คือ ข้อเท็จจริง (real facts) ต่าง ๆ ทีเกียวข้องหรือแสดงคุณลักษณะของบุคคล
สิงของ สถานที หรือ เหตุการณ์ใดๆ ทีอาจเป็นได้ทังตัวเลข (numeric) เช่น ราคา ปริมาณ จํานวนเงิน
ส่วนสูง นําหนัก ระยะทาง รหัสวิชา เกรดเฉลีย หรือ ข้อเท็จจริงทีไม่ใช่ตัวเลข (non-numeric) เช่น ชือ
นามสกุล ทีอยู่ ชือสินค้า ข้อความ รูปภาพ หรือ อืน ๆ เป็นต้น
ผู้ใช้งานฐานข้อมูล หรือ ผู้ทีเกียวข้องกับฐานข้อมูลแบ่งได้เป็น
1. ผู้ใช้ (User) หมายถึง ผู้ทีต้องการใช้ฐานข้อมูลทัวไป การใช้งานอาจทําได้โดยผ่านโปรแกรม
ใช้งานหรือผ่านระบบการจัดการฐานข้อมูลถ้ามีความรู้เกียวกับระบบเพียงพอ
2. ผู้เขียนโปรแกรมใช้งาน (Application Programmer) หมายถึง ผู้ทีสร้างฐานข้อมูลและ
พัฒนาโปรแกรมใช้งานสําหรับให้ผู้ใช้สามารถใช้งานฐานข้อมูล
ได้ง่าย และให้ผู้บริหารฐานข้อมูลสามารถจัดการฐานข้อมูลได้สะดวกขึน
3. ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator) หมายถึง ผู้ทีออกแบบฐานข้อมูล ดูแล
รักษาและจัดการฐานข้อมูลให้ปลอดภัย ทันสมัย และถูกต้องอยู่เสมอ
ห น้ า | 4 
 
ระบบการจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) หมายถึง ชุดโปรแกรมทีใช้
ในการจัดการฐานข้อมูล เช่น การสร้างฐานข้อมูล, การบันทึกข้อมูล , การปรับปรุงแก้ไขข้อมูล, การสืบค้น
ข้อมูล , การวิเคราะห์ข้อมูล ,การจัดทํารายงาน และอืน ๆ
ตัวอย่างโปรแกรมทีใช้จัดการฐานข้อมูล ได้แก่
Microsoft Access / Microsoft SQL Server
MySQL / Oracle
ซอฟต์แวร์ระบบฐานข้อมูล มีหลายโปรแกรม ดังนี
1.1 ซอฟต์แวร์ทีใช้ในเครืองคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กทีเป็นทีรู้จักอย่างแพร่หลายคือ
โปรแกรม Microsoft Access เป็นโปรแกรมหนึงในชุดไมโครซอฟต์ออฟฟิศ ของบริษัท
ไมโครซอฟต์ จํากัด โปรแกรม FoxPro เป็นโปรแกรมทีพัฒนาจากโปรแกรม Fox Plus ปัจจุบัน
บริษัทไมโครซอฟต์ได้ซือลิขสิทธิไปรวมไว้ในโปรแกรมชุด Visual Studio
โปรแกรม Paradox และโปรแกรม dBASE ซึงเป็นโปรแกรมฐานข้อมูลยุคแรกทีนิยมใช้
ในเครืองคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก
1.2 ซอฟต์แวร์ระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่เป็นซอฟต์แวร์ทีมีสมรรถนะสูง ทํางานบน
ระบบปฏิบัติการทีหลากหลายได้ เช่น โปรแกรม Oracle โปรแกรม IDMS โปรแกรม
IMS/VS โปรแกรม Sybase โปรแกรม Informix เป็นต้น
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ นอกจากการใช้คําสังโดยตรงของโปรแกรมฐานข้อมูลแล้ว ยังมีภาษาทีใช้
เฉพาะกับระบบฐานข้อมูลต่าง ๆ ได้แก่
2.1 ภาษา SQL สามารถเขียนเป็นชุดคําสังไว้ในเครืองมือของระบบฐานข้อมูลโดยตรง
แล้วทําการแปล (Compile) ไปเป็นภาษาเครืองเพือใช้งานได้ทันที หรือใช้โปรแกรมเฉพาะของ
ภาษา SQL ก็ได้
2.2 ภาษา MySQL เป็นภาษาสําหรับจัดการกับฐานข้อมูลขนาดใหญ่ทีมีราคาถูก มี
โปรแกรมต้นฉบับให้ผู้ใช้นําไปพัฒนาต่อได้เรียกว่าเป็น Open source เช่นเดียวกับ
ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์
โปรแกรม Microsoft visual Basic 6.0
ภาษา BASSIC ถูกสร้างขึนในปี 1963 โดย Hohn Keneny และ Thomas Kurts ทีวิทยาลัย
Dartmouth ในเบืองต้นพวกเขามีจุดมุ่งหมายในการพัฒนาภาษา BASIC ขึน เพือใช้ในการสอนแนวในการ
เขียนโปรแกรม (Programming Concept) โดนเน้นให้รูปแบบของภาษานันต่อทังการเข้าใจและการใช้งาน
รวมทังการใช้งานในลักษณะของ Interpreter ซึงแตกต่างจากภาษาคอมพิวเตอร์อืน ๆ ในยุคนันทีจะอาศัย
Job Control Language (JCL) และขันตอนในการ Compile และ Line ผลก็คือ ภาษา BASIC ได้
ห น้ า | 5 
 
กลายเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ทีนิยมใช้กันอย่างกว้างขวาง โดนเฉพาะในหมู่ผู้ใช้ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล จึง
อาจกล่าวได้ว่า ภาษา BASIC ได้รับการพัฒนาควบคู่ไปกับการพัฒนาคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในปี 1970
Microsoft ได้เริมตัวแปลภาษา BASIC ใน ROM ซึงเรียกว่า ROM – Based BASIC ขึน เช่น ชิป Redio
Sheek TRS – 80 เป็นต้น ต่อมาก็ได้พัฒนาเป็น GW – BASIC ซึงเป็น Interpreter ภาษาทีใช้กับ MS –
DOS และในปี 1982 Microsoft QuickBasic ได้รับการพัฒนาขึน โดยการเพิมความสามารถในการ
Compile ให้เป็น Executed Program รวมทังทําให้ BASIC มีความเป็น “Structured Programming”
มากขึนโดยการตัด Line Number ทึงไปเพือลบข้อกล่าวหาว่าเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ทีมีโครงสร้างใน
ลักษณะของ Spaghetti Code (Logical Flow ของภาษาขาดโครงสร้าง) มาใช้ในรูปแบบของ
Subprogram และ User Defined รวมทังการใช้ Structured Data Type และการพัฒนาการใช้งาน ด้าน
กราฟิกให้มีการใช้งานในระดับทีสูงขึน รวมทังมีการใช้เสียงประกอบได้เหมือนกับคอมพิวเตอร์อืน เช่น C
หรือ Pascal
สาเหตุทีต้องใช้ Visual Basic
สามารถใช้ Visual Basic สร้างโปรแกรมบน Windows โดนอาศัยการออกแบบโปรแกรมใน
ลักษณะของ Visualize ซึงใช้การกําหนดตําแหน่งของ Object ลงบนจอภาพ เพือติดต่อกับผู้ใช้โดยตรง
Object เหล่านีเปลียนไปตามเหตุการณ์ (Event) ต่าง ๆ ทีเกิดขึน เช่น การเคลือนเมาส์ หรือการรับข้อมูล
จากคีย์บอด ในการกําหนดขันตอนการทํางานให้กับ Object ภายใต้ Even ใด ๆ จะใช้ภาษา BASIC เข้า
มาช่วยในการเขียนโปรแกรม ดังนัน อาจกล่าวได้ว่า การพัฒนา โปรแกรมบน Windows โดยใช้ Visual
Basic มีความง่าย และสะดวกในการใช้งาน รวมทังมีขันตอนน้อย เพียงแต่เลือก Form และ Control ที
เหมาะสม แล้ววาดลงบนจอภาพเพือใช้ติดต่อกับผู้ใช้ จากนันจึงทําการเขียนภาษา BASIC เพือสร้างโปรก
แกรมด้วยตนเอง ด้วยวิธีทีง่ายและเร็วกว่าทีคิด จึงทําให้ผู้เขียนเรียนรู่ได้ภายในเวลา 2 – 3 ชัวโมง สามารถ
สร้างโปรแกรมบน Windows เป็นโปรแกรมแรกได้
นอกจากนี Visual Basic ยังใช้ได้ตังแต่ User ระดับต้นเพือใช้สร้างโปรแกรมง่าย ๆ บน
Windows หรือโปรแกรมเมอร์ระดับกลางทีจะเรียกใช้ฟังก็ชันการทํางานต่าง ๆ ของ Visual Basic ได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ ตลอดจนโปรแกรมเมอร์ในระดับมืออาชีพทีจะพัฒนาโปรแกรมในระดับสูง โดยการใช้
Object Linking and Embedding (OLE) และ Windows Application Program Interface (API) มา
ประกอบในการเขียนโปรแกรม
ห น้ า | 6 
 
บทที 3 วิธีการดําเนินงาน
อุปกรณ์ทีใช้ในการทําโครงงาน
- เครืองคอมพิวเตอร์ 1 เครือง - แผ่น CD ( ใช้สําหรับเก็บโปรแกรมทีสําเร็จแล้ว)
1.ออกแบบฐานข้อมูล ด้วยโปรแกรม Microsoft access 2003
ตารางที 1 student ( ข้อมูลนักเรียน)
ตารางที2 rent ( รายการหัก-เพิม)
ตารางที3 rentdetial ( รายละเอียดการเพิม-หัก)
ตารางที4 tmplastTransID ( หมายเลขรายการ)
ห น้ า | 7 
 
การออกแบบหน้าจอและเมนูย่อย
หน้าจอเมนูหลัก
ข้อมูลส่วนตัวนักเรียน
ข้อมูลเพิมเติม
ห น้ า | 8 
 
รายละเอียดการเพิมคะแนนความประพฤติ
รายละเอียดการหักคะแนนความประพฤติ
รายการเพิมคะแนนความประพฤติ
ห น้ า | 9 
 
รายการหักคะแนนความประพฤติ
แบบรายงานผลระดับชัน
แบบรายงานผลระดับบุคคล
ห น้ า | 10 
 
การออกแบบหน้าจอหลักด้วย Visual Basic 6.0
การออกแบบหน้าจอ ข้อมูลนักเรียนแบ่งออกเป็น 3 ช่วง คือ ประวัติส่วนตัวนักเรียน
ห น้ า | 11 
 
ข้อมูลเพิมเติม
คะแนนความประพฤติ ( หมายเลข 1 .รายละเอียดรายการเพิมคะแนน )
1 
ห น้ า | 12 
 
คะแนนความประพฤติ ( หมายเลข 2. รายละเอียดรายการหักคะแนน )
การออกแบบหน้าจอการเพิมคะแนน
2
ห น้ า | 13 
 
การออกแบบหน้าจอการหักคะแนน
การออกแบบหน้าจอการขอดูคะแนน ( รายห้อง )
การออกแบบหน้าจอการขอดูคะแนน ( รายบุคคล )
ห น้ า | 14 
 
บทที 4 ผลการดําเนินงาน
เมือทําการแพ็คเก๊จโปรแกรมและทําการติดตังโปรแกรมจากไฟล์ Setup เสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้เราคลิกที
Stat>Pongprong >pongprong จะเข้าสู่หน้าจอ ดังรูป
การเพิมข้อมูล แก้ไข ข้อมูลนักเรียนให้คลิกทีปุ่ม ข้อมูลนักเรียน จะปรากฏหน้าจอดังรูป
ห น้ า | 15 
 
การใช้งานระบบ
คลิกทีปุ่ม เมือต้องการ เพิมข้อมูลนักเรียน
เมือต้องการแก้ไขข้อมูลนักเรียน
เมือทําการแก้ไขข้อมูลเสร็จแล้ว
เมือไม่ต้องการแก้ไขข้อมูลทีแก้ก่อนหน้า
เมือกรอกรหัสหรือชือทีช่องด้านหน้าปุ่ม โปรแกรมจะทําการค้นหาข้อมูล
แท็บ ข้อมูลเพิมเติม เป็นส่วนแสดงข้อมูลพฤติกรรมนักเรียนพอสังเขป
แท็บ คะแนนความประพฤติ เป็นส่วนแสดงรายการหักและการเพิมคะแนนว่ามีอะไรบ้าง
หากใส่รหัสทีช่องรหัสแล้วกดปุ่ม Enter จะปรากฏเป็นข้อมูลนักเรียน ชือ ชัน รูปถ่าย แล้วให้พิมพ์สิงทีนักเรียนทํา
ความดี พร้อมเลือกคะแนนทีจะให้แล้วคลิกทีปุ่ม บันทึก ตอบ Yes
หากเปลียนใจก็คลิกเลือกปุ่ม No
หน้าจอแสดงผล เมือคลิก “แก้ไข”
ห น้ า | 16 
 
หน้าจอข้อมูลเพิมเติม
หน้าจอคะแนนความประพฤติ ( หมายเลข 1. รายละเอียดรายการเพิมคะแนน )
1
ห น้ า | 17 
 
หน้าจอคะแนนความประพฤติ ( หมายเลข 2. รายละเอียดรายการหักคะแนน )
หน้าจอการเพิมคะแนน
2
ห น้ า | 18 
 
ใส่รหัสทีช่อง รหัส แล้ว Enter จะปรากฏข้อมูลนักเรียน แล้วให้เลือกรายการเพิมคะแนนพร้อมระบุคะแนนที
ต้องการเพิมแล้วคลิก บันทึก ตอบ Yes ตามด้วยคลิกเลือก OK ( เสร็จขันตอน)
หน้าจอการหักคะแนน
ห น้ า | 19 
 
ใส่รหัสทีช่อง รหัส แล้ว Enter จะปรากฏข้อมูลนักเรียน แล้วให้เลือกรายการหักคะแนนพร้อมระบุคะแนนที
ต้องการหักแล้วคลิก บันทึก ตอบ Yes ตามด้วยคลิกเลือก OK ( เสร็จขันตอน)
หน้าจอขอดูคะแนน ( รายห้อง )
หน้าจอรายงาน ( บางส่วน )
ห น้ า | 20 
 
คลิกที รูปเครืองพิมพ์หากต้องการพิมพ์ข้อมูล
**หมายเหตุ : รายงานมีหลายอย่าง แต่ลักษณะของรายงานมีรูปแบบคล้าย ๆ กันให้คลิกทีเมนู
การออกจากโปรแกรม
ให้คลิกทีคําว่า ออกจากโปรแกรม ตอบ หากต้องการออกโปรแกรม หากไม่
ต้องการออกโปรแกรม
ห น้ า | 21 
 
บทที 5 สรุปผลการดําเนินงาน
ในการจัดทําโครงงานเรือง โปรแกรมประยุกต์ธนาคารความดี การเก็บข้อมูลพฤติกรรม
ของนักเรียนภายในโรงเรียนอุเทนพัฒนาประจําปีการศึกษา 1/2553 สรุปผลได้ดังนี
5.1 ข้อมูลทัวไป
5.2 สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล
5.3 ปัญหาและอุปสรรคในการทดลอง
5.4 ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ปัญหา
5.1 ข้อมูลทัวไป
จากผลการจัดทําโครงงานพบว่านักเรียนในโรงเรียนอุเทนพัฒนา ส่วนใหญ่ความระพฤติจะอยู่ใน
เกณฑ์ปกติ คือ มีความประพฤติทีไม่สร้างความเดือดร้อนแก่ตัวเองหรือผู้อืน
5.2 สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นของนักเรียนทีมีต่อการใช้โปรแกรมธนาคารในการจัดเก็บข้อมูล
พฤติกรรมของนักเรียนภายในโรงเรียนอุเทนพัฒนาประจําปีการศึกษาที 1/2553 สามารถสรุปผลการ
วิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี
ความคิดเห็นด้านประโยชน์ เนือทีในการจัดเก็บ ความสะดวก และความสามารถของโปรแกรม
ธนาคารความดีนักเรียนภายในโรงเรียนอุเทนพัฒนามีความคิดเห็นว่าอยู่ในเกณฑ์ทีดี และเหมาะสม จาก
การใช้โปรแกรมธนาคารความดีในการจัดเก็บข้อมูล หลักฐานความประพฤติของนักเรียนภายในโรงเรียน
ประจําปีการศึกษาที 1/2553 พบว่านักเรียนมีความพอใจในการใช้โปรแกรม เนืองจากเป็นโปรแกรมทีถูก
พัฒนาจากโปรแกรมตัวเดิม มีความสะดวก และมีเมนูย่อยเพิมเข้ามาอีกมาก ความเห็นในด้านต่างๆ จึงอยู่
ในระดับทีดี จึงแสดงให้เห็นว่าโปรแกรมธนาคารความดีทีใช้ในการจัดเก็บข้อมูลพฤติกรรมของนักเรียน มี
ประโยชน์ และยังสามารถนําไปใช้ได้จริงอีกด้วย
ห น้ า | 22 
 
5.3 ปัญหาและอุปสรรคในการทดลอง
1. เครืองคอมพิวเตอร์ไม่เพียงพอกับการทดสอบโปรแกรม
2. นักเรียนบางคนไม่ให้ความร่วมมือกับการประเมินผลโปรแกรม
3. คอมพิวเตอร์บางเครืองไม่มีโปรแกรม Microsoft Visual Studio 6.0 และ Microsoft Access
2003
5.3 ข้อเสนอแนะ และแนวทางในการพัฒนา
1. ควรปรับปรุงขนาดตัวอักษรให้พอดีและสวยงาม
2. ควรมีข้อมูลและวิธีการใช้โปรแกรม Microsoft Visual Studio 6.0 และ Microsoft Access
2003
3. ควรนําโปรแกรมไปใช้จริง
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ห น้ า | 23 
 
บรรณานุกรม 
กุลยา นิมสกุล. ความรู้พืนฐานทางคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ: ฟิสิกส์เซ็นเตอร์ จํากัด, 2534 
ฐานข้อมูล.(ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http:www.thaicyberu.go.th. 15 สิงหาคม 2553 
ดวงแก้ว สวามิภักดิ. ระบบฐานข้อมูล. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชัน, 2534 
บุญสืบ โพธิศรี. เทคโนโลยีสนเทศเบืองต้น. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ, 2547 
ประวิทย์ โคมทองชูสกุล. เรียนรู้และเข้าใจการใช้งาน Microsoft Access. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ด
ยูเคชัน. 2537 
มนู อรดิดลเชษฐ และประเสริฐ ประวัติรุ่งเรือง. การใช้คอมพิวเตอร์กับงานสารสนเทศ. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2532 
วิชัย ตฤษณาภัทร และสมัยชัย ชัยสกุลสุรินทร์. คู่มือเรียน Microsoft Access 2002 Step by 
Step. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชัน, 2543 
ศิริภัทรา เหมือนมาลัย. ระบบฐานข้อมูล. กรุงเทพฯ: เอมพันธ์, 2547 
สัจจะ จรัสรุ่งระเรือง และสรัสวดี วงศ์จันทร์สุข. คู่มือการใช้งาน Microsoft Access 2003. 
นนทบุรี: อิมโฟเพรส, 2525 
สัจจะ จรัสรุ่งระเรือง. คู่มือการใช้งาน Microsoft Visual basic6.0. นนทบุรี: อิมโฟเพรส, 
2548 
สิทธิศักดิ คล่องดี.คัมภีร์ Visual Basic 6.0 สําหรับผู้เริมต้น. กรุงเทพฯ:ข้าวฟ่าง,2542
 
 
 
 
ห น้ า | 24 
 

More Related Content

What's hot (9)

เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่
เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ ใหม่
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
05 บทที่ 5-สรุปผล ข้อเสนอแนะ
 
งาน
งานงาน
งาน
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
กนกพร5 1
กนกพร5 1กนกพร5 1
กนกพร5 1
 
งาน I pad
งาน I padงาน I pad
งาน I pad
 

Viewers also liked

Year 9
Year 9Year 9
Year 9hodder
 
ClashMEP at AEC Hackathon - San Francisco, Jan 6-8, 2017
ClashMEP at AEC Hackathon - San Francisco, Jan 6-8, 2017ClashMEP at AEC Hackathon - San Francisco, Jan 6-8, 2017
ClashMEP at AEC Hackathon - San Francisco, Jan 6-8, 2017
Brett Young
 
Pim marketing trend report 2011
Pim marketing trend report 2011 Pim marketing trend report 2011
Pim marketing trend report 2011
pimonline
 
Internet y servicios practica
Internet y servicios  practicaInternet y servicios  practica
Internet y servicios practica
JACIERCAS
 
Gwt.org.ua (ukr)
Gwt.org.ua (ukr)Gwt.org.ua (ukr)
Gwt.org.ua (ukr)
Oleksandr Pryymak
 
Genre history
Genre historyGenre history
Genre history
Ryan_Wilkinson
 
CB_IR__Jul_15_Itau_CorpBanca_Transaction_updated
CB_IR__Jul_15_Itau_CorpBanca_Transaction_updatedCB_IR__Jul_15_Itau_CorpBanca_Transaction_updated
CB_IR__Jul_15_Itau_CorpBanca_Transaction_updatedEnrique Hederra
 
Basic of tianium
Basic of tianiumBasic of tianium
Basic of tianium
A. F. M. Nazmus Sakib
 
Leadership
LeadershipLeadership
Leadership
Haris Khan
 
руденко б.о.1
руденко б.о.1руденко б.о.1
руденко б.о.1
nataligiga
 
Future Forests: Invasive Exotics + Climate Change
Future Forests: Invasive Exotics + Climate ChangeFuture Forests: Invasive Exotics + Climate Change
Future Forests: Invasive Exotics + Climate Change
Northern Institute of Applied Climate Science
 

Viewers also liked (12)

Year 9
Year 9Year 9
Year 9
 
ClashMEP at AEC Hackathon - San Francisco, Jan 6-8, 2017
ClashMEP at AEC Hackathon - San Francisco, Jan 6-8, 2017ClashMEP at AEC Hackathon - San Francisco, Jan 6-8, 2017
ClashMEP at AEC Hackathon - San Francisco, Jan 6-8, 2017
 
Pim marketing trend report 2011
Pim marketing trend report 2011 Pim marketing trend report 2011
Pim marketing trend report 2011
 
Internet y servicios practica
Internet y servicios  practicaInternet y servicios  practica
Internet y servicios practica
 
Gwt.org.ua (ukr)
Gwt.org.ua (ukr)Gwt.org.ua (ukr)
Gwt.org.ua (ukr)
 
MAT-
MAT-MAT-
MAT-
 
Genre history
Genre historyGenre history
Genre history
 
CB_IR__Jul_15_Itau_CorpBanca_Transaction_updated
CB_IR__Jul_15_Itau_CorpBanca_Transaction_updatedCB_IR__Jul_15_Itau_CorpBanca_Transaction_updated
CB_IR__Jul_15_Itau_CorpBanca_Transaction_updated
 
Basic of tianium
Basic of tianiumBasic of tianium
Basic of tianium
 
Leadership
LeadershipLeadership
Leadership
 
руденко б.о.1
руденко б.о.1руденко б.о.1
руденко б.о.1
 
Future Forests: Invasive Exotics + Climate Change
Future Forests: Invasive Exotics + Climate ChangeFuture Forests: Invasive Exotics + Climate Change
Future Forests: Invasive Exotics + Climate Change
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ุุ---

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Kiattipong Sriwichai
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรChalita Vitamilkz
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5wipawanmmiiww
 
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษาซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษาjintana_pai
 
โครงงานใบงานที่ 7
โครงงานใบงานที่ 7โครงงานใบงานที่ 7
โครงงานใบงานที่ 7Anny Na Sonsawan
 
รู้จักกับโครงงาน
รู้จักกับโครงงานรู้จักกับโครงงาน
รู้จักกับโครงงานFair Kung Nattaput
 
Powerpoint บทที่ 1
Powerpoint บทที่ 1Powerpoint บทที่ 1
Powerpoint บทที่ 1
patchareepoim
 
Comp2 4
Comp2 4Comp2 4
คอม
คอมคอม

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ุุ--- (20)

2
22
2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5
 
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษาซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
 
โครงงานใบงานที่ 7
โครงงานใบงานที่ 7โครงงานใบงานที่ 7
โครงงานใบงานที่ 7
 
รู้จักกับโครงงาน
รู้จักกับโครงงานรู้จักกับโครงงาน
รู้จักกับโครงงาน
 
K8
K8K8
K8
 
Powerpoint บทที่ 1
Powerpoint บทที่ 1Powerpoint บทที่ 1
Powerpoint บทที่ 1
 
Comp2 4
Comp2 4Comp2 4
Comp2 4
 
Comp2 4
Comp2 4Comp2 4
Comp2 4
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
ใบงาน 7
ใบงาน 7ใบงาน 7
ใบงาน 7
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
5++++++555
5++++++5555++++++555
5++++++555
 
งาน I pad
งาน I padงาน I pad
งาน I pad
 
งาน I pad
งาน I padงาน I pad
งาน I pad
 
งาน I pad
งาน I padงาน I pad
งาน I pad
 
งาน I pad
งาน I padงาน I pad
งาน I pad
 

More from 1234 Payoon

โครงร่างโครงงานกระดาษสา
โครงร่างโครงงานกระดาษสาโครงร่างโครงงานกระดาษสา
โครงร่างโครงงานกระดาษสา
1234 Payoon
 
Onet 51
Onet 51 Onet 51
Onet 51
1234 Payoon
 
Onet 52
Onet 52 Onet 52
Onet 52
1234 Payoon
 
Onet54
Onet54 Onet54
Onet54
1234 Payoon
 
Onet54
Onet54Onet54
Onet54
1234 Payoon
 
Onet50
Onet50 Onet50
Onet50
1234 Payoon
 
Onet53
Onet53 Onet53
Onet53
1234 Payoon
 
Onet53
Onet53Onet53
Onet53
1234 Payoon
 
Onet 51
Onet 51Onet 51
Onet 51
1234 Payoon
 
Onet 50
Onet 50Onet 50
Onet 50
1234 Payoon
 
Onet 52
Onet 52Onet 52
Onet 52
1234 Payoon
 
6891 130827022202-phpapp02
6891 130827022202-phpapp026891 130827022202-phpapp02
6891 130827022202-phpapp021234 Payoon
 

More from 1234 Payoon (12)

โครงร่างโครงงานกระดาษสา
โครงร่างโครงงานกระดาษสาโครงร่างโครงงานกระดาษสา
โครงร่างโครงงานกระดาษสา
 
Onet 51
Onet 51 Onet 51
Onet 51
 
Onet 52
Onet 52 Onet 52
Onet 52
 
Onet54
Onet54 Onet54
Onet54
 
Onet54
Onet54Onet54
Onet54
 
Onet50
Onet50 Onet50
Onet50
 
Onet53
Onet53 Onet53
Onet53
 
Onet53
Onet53Onet53
Onet53
 
Onet 51
Onet 51Onet 51
Onet 51
 
Onet 50
Onet 50Onet 50
Onet 50
 
Onet 52
Onet 52Onet 52
Onet 52
 
6891 130827022202-phpapp02
6891 130827022202-phpapp026891 130827022202-phpapp02
6891 130827022202-phpapp02
 

โครงงานคอมพิวเตอร์ุุ---

  • 1. ห น้ า | 1    บทที 1 บทนํา ทีมาและความสําคัญ เนืองจากพฤติกรรมของนักเรียนในโรงเรียนเป็นเรืองยากแก่การควบคุมและตรวจสอบ โดยเฉพาะ ในปัจจุบันได้มีการทําบันทึกความดีขึนมา แต่การทําบันทึกความดีของนักเรียนก็ยังเป็นเรืองยากแก่การ ตรวจสอบ บันทึก และรายงานผล เพราะสมุดบันทึกความดีนันจะเป็นการนํากระดาษมารวมเป็นรูปเล่ม เท่านันจึงไม่สะดวกแก่การพกพาไปไหนมาไหน และเสียงต่อการสูญหาย ชํารุด หรือปลอมแปลง โดย นักเรียนจะสามารถปลอมแปลงลายเซ็นของผู้ปกครองได้ การรายงานผลก็เสียเวลาในการรวบรวมข้อมูลที หลายขันตอน ดังนันคณะผู้จัดทําจึงมีแนวคิดทีจะพัฒนาโปรแกรมประยุกต์นํามาใช้กับธนาคารความดีเพือ บันทึกข้อมูลและพฤติกรรมของนักเรียนภายในโรงเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ร่วมกับการใช้บัตรคะแนน ความดี ทีเฉพาะครูเท่านัน ทีมีไว้สําหรับให้แก่นักเรียนทีทําความดีตามสถานทีภายในโรงเรียน อาทิเช่น การ ช่วยคุณครูถือของ หรือทําความสะอาดห้องเรียน เป็นต้น แล้วนักเรียนทีได้ใบคะแนนความดี จะนําใบ คะแนนนันไปขึนคะแนนกับธนาคารความดี บันทึกลงในโปรแกรม โดยใบคะแนนนีจะเป็นใบละ 5 คะแนน แต่ละใบจะมีตราประทับโรงเรียนและลายเซ็นของผู้อํานวยการโรงเรียน ไม่สามารถปลอมแปลงได้ โดย โปรแกรมธนาคารความดีนีจะมีรายการบันทึกหลักอยู่สองรายการคือ รายการเพิมคะแนนความประพฤติ และรายการหักคะแนนความประพฤติ รายการแต่ละรายการสามารถนําไปทําเป็นหลักฐานเพือส่งต่อกับ ฝ่ายบริหาร หรือปกครอง เพือทําการแก้ไขนักเรียนทีมีผลคะแนนติดลบต่อไป ในส่วนของโปรแกรมคณะ ผู้จัดทําได้ทําการต่อยอดจากโปรแกรมของรุ่นพี ทีเคยคิดสร้างโปรแกรมบันทึกคะแนนความประพฤติขึนมา เมือ 4 ปีก่อน แต่ยังไม่สมบูรณ์ดี และได้พัฒนาต่อยอดเพือให้ได้รูปแบบโปรแกรมและรายงานทีสมบูรณ์ขึน วัตถุประสงค์ 1. เพือมีเครืองมือไว้เก็บข้อมูลการทําความดีและหักคะแนนของนักเรียนโรงเรียนอุเทนพัฒนา 2. เพือปรับปรุง และพัฒนาโปรแกรมธนาคารความดีให้มีประสิทธิภาพยิงขึน 3. เพือรายงานและจัดเก็บข้อมูลทีได้จากโปรแกรม
  • 2. ห น้ า | 2    ขอบเขตของการศึกษา 1. การจัดทําโครงงานเรือง การสร้างโปรแกรมธนาคารความดี โรงเรียนอุเทนพัฒนา ตําบลโนนตาล อําเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม 2. โปรแกรมทีใช้พัฒนา คือ โปรแกรม Visual Basic 6.0 pack 6 3.โปรแกรมทีใช้สร้างฐานข้อมูล คือ โปรแกรม Microsoft Access 2003 วิธีดําเนินการทําโครงงาน 1. รวบรวมข้อมูลศึกษาวิธีการใช้โปรแกรม Visual Basic 6.0 pack 6 และ Microsoft Access 2003 และออกแบบฐานข้อมูล 2. การออกแบบฟอร์มหน้าหลักของโปรแกรม และเมนูย่อยต่างๆ ดังนี 2.1 หน้าจอการทํางานหลัก 2.2 ประวัติส่วนตัวของนักเรียน 2.3 ข้อมูลเพิมเติม 2.4 รายละเอียดการเพิม - หักคะแนนความประพฤติ 2.5 หน้าจอเพิมคะแนนความประพฤติ 2.6 หน้าจอหักคะแนนความประพฤติ 2.7 รายงานคะแนนรายห้อง - รายบุคคล 3. ดําเนินการตามขันตอนการออกแบบหน้าจอ เริมเขียนโปรแกรมตามจุดประสงค์ทีได้ ออกแบบ ผลทีคาดว่าจะได้รับ 1. สามารถใช้โปรแกรม เก็บข้อมูล พฤติกรรมของนักเรียนทีเป็นสมาชิก และสามารถออกรายงาน คะแนนความประพฤติให้แก่นักเรียน ครู ฝ่ายปกครอง และผู้บริหารได้ 2. ได้ใช้ความรู้ทีเรียนมาในการพัฒนาโปรแกรมเพือการใช้งานจริง
  • 3. ห น้ า | 3    บทที 2 เอกสารทีเกียวข้อง ฐานข้อมูล (database) คือ กลุ่มข้อมูลทีมีความสัมพันธ์กันและถูกนํามารวบรวมไว้ในทีเดียวกัน อย่างเป็นระบบเพือนําไปใช้ในวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึงโดยกลุ่มผู้ใช้ตังแต่หนึงกลุ่มขึนไป ข้อมูล (data) คือ ข้อเท็จจริง (real facts) ต่าง ๆ ทีเกียวข้องหรือแสดงคุณลักษณะของบุคคล สิงของ สถานที หรือ เหตุการณ์ใดๆ ทีอาจเป็นได้ทังตัวเลข (numeric) เช่น ราคา ปริมาณ จํานวนเงิน ส่วนสูง นําหนัก ระยะทาง รหัสวิชา เกรดเฉลีย หรือ ข้อเท็จจริงทีไม่ใช่ตัวเลข (non-numeric) เช่น ชือ นามสกุล ทีอยู่ ชือสินค้า ข้อความ รูปภาพ หรือ อืน ๆ เป็นต้น ผู้ใช้งานฐานข้อมูล หรือ ผู้ทีเกียวข้องกับฐานข้อมูลแบ่งได้เป็น 1. ผู้ใช้ (User) หมายถึง ผู้ทีต้องการใช้ฐานข้อมูลทัวไป การใช้งานอาจทําได้โดยผ่านโปรแกรม ใช้งานหรือผ่านระบบการจัดการฐานข้อมูลถ้ามีความรู้เกียวกับระบบเพียงพอ 2. ผู้เขียนโปรแกรมใช้งาน (Application Programmer) หมายถึง ผู้ทีสร้างฐานข้อมูลและ พัฒนาโปรแกรมใช้งานสําหรับให้ผู้ใช้สามารถใช้งานฐานข้อมูล ได้ง่าย และให้ผู้บริหารฐานข้อมูลสามารถจัดการฐานข้อมูลได้สะดวกขึน 3. ผู้บริหารฐานข้อมูล (Database Administrator) หมายถึง ผู้ทีออกแบบฐานข้อมูล ดูแล รักษาและจัดการฐานข้อมูลให้ปลอดภัย ทันสมัย และถูกต้องอยู่เสมอ
  • 4. ห น้ า | 4    ระบบการจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS) หมายถึง ชุดโปรแกรมทีใช้ ในการจัดการฐานข้อมูล เช่น การสร้างฐานข้อมูล, การบันทึกข้อมูล , การปรับปรุงแก้ไขข้อมูล, การสืบค้น ข้อมูล , การวิเคราะห์ข้อมูล ,การจัดทํารายงาน และอืน ๆ ตัวอย่างโปรแกรมทีใช้จัดการฐานข้อมูล ได้แก่ Microsoft Access / Microsoft SQL Server MySQL / Oracle ซอฟต์แวร์ระบบฐานข้อมูล มีหลายโปรแกรม ดังนี 1.1 ซอฟต์แวร์ทีใช้ในเครืองคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กทีเป็นทีรู้จักอย่างแพร่หลายคือ โปรแกรม Microsoft Access เป็นโปรแกรมหนึงในชุดไมโครซอฟต์ออฟฟิศ ของบริษัท ไมโครซอฟต์ จํากัด โปรแกรม FoxPro เป็นโปรแกรมทีพัฒนาจากโปรแกรม Fox Plus ปัจจุบัน บริษัทไมโครซอฟต์ได้ซือลิขสิทธิไปรวมไว้ในโปรแกรมชุด Visual Studio โปรแกรม Paradox และโปรแกรม dBASE ซึงเป็นโปรแกรมฐานข้อมูลยุคแรกทีนิยมใช้ ในเครืองคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก 1.2 ซอฟต์แวร์ระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่เป็นซอฟต์แวร์ทีมีสมรรถนะสูง ทํางานบน ระบบปฏิบัติการทีหลากหลายได้ เช่น โปรแกรม Oracle โปรแกรม IDMS โปรแกรม IMS/VS โปรแกรม Sybase โปรแกรม Informix เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์ นอกจากการใช้คําสังโดยตรงของโปรแกรมฐานข้อมูลแล้ว ยังมีภาษาทีใช้ เฉพาะกับระบบฐานข้อมูลต่าง ๆ ได้แก่ 2.1 ภาษา SQL สามารถเขียนเป็นชุดคําสังไว้ในเครืองมือของระบบฐานข้อมูลโดยตรง แล้วทําการแปล (Compile) ไปเป็นภาษาเครืองเพือใช้งานได้ทันที หรือใช้โปรแกรมเฉพาะของ ภาษา SQL ก็ได้ 2.2 ภาษา MySQL เป็นภาษาสําหรับจัดการกับฐานข้อมูลขนาดใหญ่ทีมีราคาถูก มี โปรแกรมต้นฉบับให้ผู้ใช้นําไปพัฒนาต่อได้เรียกว่าเป็น Open source เช่นเดียวกับ ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ โปรแกรม Microsoft visual Basic 6.0 ภาษา BASSIC ถูกสร้างขึนในปี 1963 โดย Hohn Keneny และ Thomas Kurts ทีวิทยาลัย Dartmouth ในเบืองต้นพวกเขามีจุดมุ่งหมายในการพัฒนาภาษา BASIC ขึน เพือใช้ในการสอนแนวในการ เขียนโปรแกรม (Programming Concept) โดนเน้นให้รูปแบบของภาษานันต่อทังการเข้าใจและการใช้งาน รวมทังการใช้งานในลักษณะของ Interpreter ซึงแตกต่างจากภาษาคอมพิวเตอร์อืน ๆ ในยุคนันทีจะอาศัย Job Control Language (JCL) และขันตอนในการ Compile และ Line ผลก็คือ ภาษา BASIC ได้
  • 5. ห น้ า | 5    กลายเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ทีนิยมใช้กันอย่างกว้างขวาง โดนเฉพาะในหมู่ผู้ใช้ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล จึง อาจกล่าวได้ว่า ภาษา BASIC ได้รับการพัฒนาควบคู่ไปกับการพัฒนาคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในปี 1970 Microsoft ได้เริมตัวแปลภาษา BASIC ใน ROM ซึงเรียกว่า ROM – Based BASIC ขึน เช่น ชิป Redio Sheek TRS – 80 เป็นต้น ต่อมาก็ได้พัฒนาเป็น GW – BASIC ซึงเป็น Interpreter ภาษาทีใช้กับ MS – DOS และในปี 1982 Microsoft QuickBasic ได้รับการพัฒนาขึน โดยการเพิมความสามารถในการ Compile ให้เป็น Executed Program รวมทังทําให้ BASIC มีความเป็น “Structured Programming” มากขึนโดยการตัด Line Number ทึงไปเพือลบข้อกล่าวหาว่าเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ทีมีโครงสร้างใน ลักษณะของ Spaghetti Code (Logical Flow ของภาษาขาดโครงสร้าง) มาใช้ในรูปแบบของ Subprogram และ User Defined รวมทังการใช้ Structured Data Type และการพัฒนาการใช้งาน ด้าน กราฟิกให้มีการใช้งานในระดับทีสูงขึน รวมทังมีการใช้เสียงประกอบได้เหมือนกับคอมพิวเตอร์อืน เช่น C หรือ Pascal สาเหตุทีต้องใช้ Visual Basic สามารถใช้ Visual Basic สร้างโปรแกรมบน Windows โดนอาศัยการออกแบบโปรแกรมใน ลักษณะของ Visualize ซึงใช้การกําหนดตําแหน่งของ Object ลงบนจอภาพ เพือติดต่อกับผู้ใช้โดยตรง Object เหล่านีเปลียนไปตามเหตุการณ์ (Event) ต่าง ๆ ทีเกิดขึน เช่น การเคลือนเมาส์ หรือการรับข้อมูล จากคีย์บอด ในการกําหนดขันตอนการทํางานให้กับ Object ภายใต้ Even ใด ๆ จะใช้ภาษา BASIC เข้า มาช่วยในการเขียนโปรแกรม ดังนัน อาจกล่าวได้ว่า การพัฒนา โปรแกรมบน Windows โดยใช้ Visual Basic มีความง่าย และสะดวกในการใช้งาน รวมทังมีขันตอนน้อย เพียงแต่เลือก Form และ Control ที เหมาะสม แล้ววาดลงบนจอภาพเพือใช้ติดต่อกับผู้ใช้ จากนันจึงทําการเขียนภาษา BASIC เพือสร้างโปรก แกรมด้วยตนเอง ด้วยวิธีทีง่ายและเร็วกว่าทีคิด จึงทําให้ผู้เขียนเรียนรู่ได้ภายในเวลา 2 – 3 ชัวโมง สามารถ สร้างโปรแกรมบน Windows เป็นโปรแกรมแรกได้ นอกจากนี Visual Basic ยังใช้ได้ตังแต่ User ระดับต้นเพือใช้สร้างโปรแกรมง่าย ๆ บน Windows หรือโปรแกรมเมอร์ระดับกลางทีจะเรียกใช้ฟังก็ชันการทํางานต่าง ๆ ของ Visual Basic ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ตลอดจนโปรแกรมเมอร์ในระดับมืออาชีพทีจะพัฒนาโปรแกรมในระดับสูง โดยการใช้ Object Linking and Embedding (OLE) และ Windows Application Program Interface (API) มา ประกอบในการเขียนโปรแกรม
  • 6. ห น้ า | 6    บทที 3 วิธีการดําเนินงาน อุปกรณ์ทีใช้ในการทําโครงงาน - เครืองคอมพิวเตอร์ 1 เครือง - แผ่น CD ( ใช้สําหรับเก็บโปรแกรมทีสําเร็จแล้ว) 1.ออกแบบฐานข้อมูล ด้วยโปรแกรม Microsoft access 2003 ตารางที 1 student ( ข้อมูลนักเรียน) ตารางที2 rent ( รายการหัก-เพิม) ตารางที3 rentdetial ( รายละเอียดการเพิม-หัก) ตารางที4 tmplastTransID ( หมายเลขรายการ)
  • 7. ห น้ า | 7    การออกแบบหน้าจอและเมนูย่อย หน้าจอเมนูหลัก ข้อมูลส่วนตัวนักเรียน ข้อมูลเพิมเติม
  • 8. ห น้ า | 8    รายละเอียดการเพิมคะแนนความประพฤติ รายละเอียดการหักคะแนนความประพฤติ รายการเพิมคะแนนความประพฤติ
  • 9. ห น้ า | 9    รายการหักคะแนนความประพฤติ แบบรายงานผลระดับชัน แบบรายงานผลระดับบุคคล
  • 10. ห น้ า | 10    การออกแบบหน้าจอหลักด้วย Visual Basic 6.0 การออกแบบหน้าจอ ข้อมูลนักเรียนแบ่งออกเป็น 3 ช่วง คือ ประวัติส่วนตัวนักเรียน
  • 11. ห น้ า | 11    ข้อมูลเพิมเติม คะแนนความประพฤติ ( หมายเลข 1 .รายละเอียดรายการเพิมคะแนน ) 1 
  • 12. ห น้ า | 12    คะแนนความประพฤติ ( หมายเลข 2. รายละเอียดรายการหักคะแนน ) การออกแบบหน้าจอการเพิมคะแนน 2
  • 13. ห น้ า | 13    การออกแบบหน้าจอการหักคะแนน การออกแบบหน้าจอการขอดูคะแนน ( รายห้อง ) การออกแบบหน้าจอการขอดูคะแนน ( รายบุคคล )
  • 14. ห น้ า | 14    บทที 4 ผลการดําเนินงาน เมือทําการแพ็คเก๊จโปรแกรมและทําการติดตังโปรแกรมจากไฟล์ Setup เสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้เราคลิกที Stat>Pongprong >pongprong จะเข้าสู่หน้าจอ ดังรูป การเพิมข้อมูล แก้ไข ข้อมูลนักเรียนให้คลิกทีปุ่ม ข้อมูลนักเรียน จะปรากฏหน้าจอดังรูป
  • 15. ห น้ า | 15    การใช้งานระบบ คลิกทีปุ่ม เมือต้องการ เพิมข้อมูลนักเรียน เมือต้องการแก้ไขข้อมูลนักเรียน เมือทําการแก้ไขข้อมูลเสร็จแล้ว เมือไม่ต้องการแก้ไขข้อมูลทีแก้ก่อนหน้า เมือกรอกรหัสหรือชือทีช่องด้านหน้าปุ่ม โปรแกรมจะทําการค้นหาข้อมูล แท็บ ข้อมูลเพิมเติม เป็นส่วนแสดงข้อมูลพฤติกรรมนักเรียนพอสังเขป แท็บ คะแนนความประพฤติ เป็นส่วนแสดงรายการหักและการเพิมคะแนนว่ามีอะไรบ้าง หากใส่รหัสทีช่องรหัสแล้วกดปุ่ม Enter จะปรากฏเป็นข้อมูลนักเรียน ชือ ชัน รูปถ่าย แล้วให้พิมพ์สิงทีนักเรียนทํา ความดี พร้อมเลือกคะแนนทีจะให้แล้วคลิกทีปุ่ม บันทึก ตอบ Yes หากเปลียนใจก็คลิกเลือกปุ่ม No หน้าจอแสดงผล เมือคลิก “แก้ไข”
  • 16. ห น้ า | 16    หน้าจอข้อมูลเพิมเติม หน้าจอคะแนนความประพฤติ ( หมายเลข 1. รายละเอียดรายการเพิมคะแนน ) 1
  • 17. ห น้ า | 17    หน้าจอคะแนนความประพฤติ ( หมายเลข 2. รายละเอียดรายการหักคะแนน ) หน้าจอการเพิมคะแนน 2
  • 18. ห น้ า | 18    ใส่รหัสทีช่อง รหัส แล้ว Enter จะปรากฏข้อมูลนักเรียน แล้วให้เลือกรายการเพิมคะแนนพร้อมระบุคะแนนที ต้องการเพิมแล้วคลิก บันทึก ตอบ Yes ตามด้วยคลิกเลือก OK ( เสร็จขันตอน) หน้าจอการหักคะแนน
  • 19. ห น้ า | 19    ใส่รหัสทีช่อง รหัส แล้ว Enter จะปรากฏข้อมูลนักเรียน แล้วให้เลือกรายการหักคะแนนพร้อมระบุคะแนนที ต้องการหักแล้วคลิก บันทึก ตอบ Yes ตามด้วยคลิกเลือก OK ( เสร็จขันตอน) หน้าจอขอดูคะแนน ( รายห้อง ) หน้าจอรายงาน ( บางส่วน )
  • 20. ห น้ า | 20    คลิกที รูปเครืองพิมพ์หากต้องการพิมพ์ข้อมูล **หมายเหตุ : รายงานมีหลายอย่าง แต่ลักษณะของรายงานมีรูปแบบคล้าย ๆ กันให้คลิกทีเมนู การออกจากโปรแกรม ให้คลิกทีคําว่า ออกจากโปรแกรม ตอบ หากต้องการออกโปรแกรม หากไม่ ต้องการออกโปรแกรม
  • 21. ห น้ า | 21    บทที 5 สรุปผลการดําเนินงาน ในการจัดทําโครงงานเรือง โปรแกรมประยุกต์ธนาคารความดี การเก็บข้อมูลพฤติกรรม ของนักเรียนภายในโรงเรียนอุเทนพัฒนาประจําปีการศึกษา 1/2553 สรุปผลได้ดังนี 5.1 ข้อมูลทัวไป 5.2 สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล 5.3 ปัญหาและอุปสรรคในการทดลอง 5.4 ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ปัญหา 5.1 ข้อมูลทัวไป จากผลการจัดทําโครงงานพบว่านักเรียนในโรงเรียนอุเทนพัฒนา ส่วนใหญ่ความระพฤติจะอยู่ใน เกณฑ์ปกติ คือ มีความประพฤติทีไม่สร้างความเดือดร้อนแก่ตัวเองหรือผู้อืน 5.2 สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นของนักเรียนทีมีต่อการใช้โปรแกรมธนาคารในการจัดเก็บข้อมูล พฤติกรรมของนักเรียนภายในโรงเรียนอุเทนพัฒนาประจําปีการศึกษาที 1/2553 สามารถสรุปผลการ วิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี ความคิดเห็นด้านประโยชน์ เนือทีในการจัดเก็บ ความสะดวก และความสามารถของโปรแกรม ธนาคารความดีนักเรียนภายในโรงเรียนอุเทนพัฒนามีความคิดเห็นว่าอยู่ในเกณฑ์ทีดี และเหมาะสม จาก การใช้โปรแกรมธนาคารความดีในการจัดเก็บข้อมูล หลักฐานความประพฤติของนักเรียนภายในโรงเรียน ประจําปีการศึกษาที 1/2553 พบว่านักเรียนมีความพอใจในการใช้โปรแกรม เนืองจากเป็นโปรแกรมทีถูก พัฒนาจากโปรแกรมตัวเดิม มีความสะดวก และมีเมนูย่อยเพิมเข้ามาอีกมาก ความเห็นในด้านต่างๆ จึงอยู่ ในระดับทีดี จึงแสดงให้เห็นว่าโปรแกรมธนาคารความดีทีใช้ในการจัดเก็บข้อมูลพฤติกรรมของนักเรียน มี ประโยชน์ และยังสามารถนําไปใช้ได้จริงอีกด้วย
  • 22. ห น้ า | 22    5.3 ปัญหาและอุปสรรคในการทดลอง 1. เครืองคอมพิวเตอร์ไม่เพียงพอกับการทดสอบโปรแกรม 2. นักเรียนบางคนไม่ให้ความร่วมมือกับการประเมินผลโปรแกรม 3. คอมพิวเตอร์บางเครืองไม่มีโปรแกรม Microsoft Visual Studio 6.0 และ Microsoft Access 2003 5.3 ข้อเสนอแนะ และแนวทางในการพัฒนา 1. ควรปรับปรุงขนาดตัวอักษรให้พอดีและสวยงาม 2. ควรมีข้อมูลและวิธีการใช้โปรแกรม Microsoft Visual Studio 6.0 และ Microsoft Access 2003 3. ควรนําโปรแกรมไปใช้จริง                    
  • 23. ห น้ า | 23    บรรณานุกรม  กุลยา นิมสกุล. ความรู้พืนฐานทางคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ: ฟิสิกส์เซ็นเตอร์ จํากัด, 2534  ฐานข้อมูล.(ออนไลน์) เข้าถึงได้จาก http:www.thaicyberu.go.th. 15 สิงหาคม 2553  ดวงแก้ว สวามิภักดิ. ระบบฐานข้อมูล. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชัน, 2534  บุญสืบ โพธิศรี. เทคโนโลยีสนเทศเบืองต้น. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ, 2547  ประวิทย์ โคมทองชูสกุล. เรียนรู้และเข้าใจการใช้งาน Microsoft Access. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ด ยูเคชัน. 2537  มนู อรดิดลเชษฐ และประเสริฐ ประวัติรุ่งเรือง. การใช้คอมพิวเตอร์กับงานสารสนเทศ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2532  วิชัย ตฤษณาภัทร และสมัยชัย ชัยสกุลสุรินทร์. คู่มือเรียน Microsoft Access 2002 Step by  Step. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชัน, 2543  ศิริภัทรา เหมือนมาลัย. ระบบฐานข้อมูล. กรุงเทพฯ: เอมพันธ์, 2547  สัจจะ จรัสรุ่งระเรือง และสรัสวดี วงศ์จันทร์สุข. คู่มือการใช้งาน Microsoft Access 2003.  นนทบุรี: อิมโฟเพรส, 2525  สัจจะ จรัสรุ่งระเรือง. คู่มือการใช้งาน Microsoft Visual basic6.0. นนทบุรี: อิมโฟเพรส,  2548  สิทธิศักดิ คล่องดี.คัมภีร์ Visual Basic 6.0 สําหรับผู้เริมต้น. กรุงเทพฯ:ข้าวฟ่าง,2542        
  • 24. ห น้ า | 24