SlideShare a Scribd company logo
เอกสารประกอบการเรียน




             ชันมัธยมศึกษาปี ที 5

 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

                  เล่ มที 4




                     โดย

           นางสาวสุ นันทา เวียงใต้

      ครูวทยฐานะชํานาญการพิเศษ
          ิ

      โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์

สํ านักงานเขตพืนทีการศึกษาร้ อยเอ็ดเขต 2
ใบความรู้

                                      เอกสารประกอบการเรียน

  เรือง กรรมวิธีเบืองต้ นและหลักการประดิษฐ์ วัสดุจากพืชทีเป็ นเส้ นใยแบบต่ าง ๆ

สาระสํ าคัญ

           การนําวัสดุจากพืชทีมีลกษณะเป็ นเส้นใยมาประดิษฐ์ให้เกิดลวดลายต่าง ๆ เพือความคงทนของวัสดุเพือความ
                                 ั
สวยงามน่าใช้เพือเป็ นรู ปแบบเบืองต้นสําหรับเตรี ยมประกอบเป็ นงานผลิตภัณฑ์ สามารถทําได้หลายวิธี เช่น การถัก
การทอ การพันข้ามลายแบบต่าง ๆ การสาน และการฟั นเชือก เป็ นต้น


จุดประสงค์การเรียนรู้ (ปลายทาง)

           สามารถประดิษฐ์งานผลิตภัณฑ์ตามกรรมวิธีเบืองต้นได้ และปฏิบติตามรู ปแบบต่าง ๆ ได้
                                                                   ั


จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ (นําทาง)

           1.นักเรี ยนสามารถประดิษฐ์งานผลิตภัณฑ์ตามกรรมวิธีเบืองต้นตามขันตอนการปฏิบติ และการเลือกแบบ
                                                                                   ั

         2.นักเรี ยนสามารถนํากรรมวิธีเบืองต้นของการประดิษฐ์ไปใช้ประโยชน์ได้ตามความเหมาะสมของวัสดุทีมีอยู่



เนือหา

กรรมวิธีเบืองต้ น และหลักการประดิษฐ์ วัสดุจากท้ องถิน

           เพือให้เกิดความสวยงาม น่าใช้ของผลิตภัณฑ์ จะต้องมีกรรมวิธีเบืองต้นในการประดิษฐ์วสดุ ให้เป็ นรู ปแบบ
                                                                                          ั
ต่าง ๆ รู ปแบบของการประดิษฐ์เบืองต้นของวัสดุมีดงนี
                                               ั
1.   การพันข้ามลายแบบต่าง ๆ                       9.    การสานลายขัดบิด

         2.   การถักเปี ยลาย 3                            10.    การสานลาย 2 หรื อลาย 3

         3.   การถักเปี ยลาย 4                            11.    การสานลายคดกริ ช

         4.   การสานเปี ยลายคดกริ ช                        12.   การฟั นเชือก

         5.   การถักตะกร้อทําปุ่ มกระเป๋ า                 13.   การสานลายลูกแก้ว

         6.   การผูกมัดลายตะขาบ                            14.   การถักเปี ยปลอก

         7.   การถักสี เหลียมใช้ทาสาย
                                 ํ

         8.   การสานลายขัด 1 ธรรมดา

                                                   2.      การถักเปี ยลาย 3
                                    (ไว้ เย็บหมวกหรื อใช้ ประกอบทําวัสดุอืนได้ หลายชนิด)

         ถักเปี ย 3 ก็คงเช่นเดียวกันกับถักเปี ย 4 ผิดกันอยูทีสามารถทําให้เป็ นเส้นเล็กได้ถกได้ ง่ายกว่าเปี ยอืน ๆ และ
                                                           ่                              ั
มีทีใช้มากเพราะเป็ นการถักได้หลายขนาด โดยมากใช้ขดเป็ นรู ปสี เหลียม แล้วเอามาต่อกันให้เป็ นผืนใช้ปูพืนห้อง

         สานตะกร้าก็มกชอบใช้เปี ย 3 ถักเส้นโตนําไปขัดกับเส้นหวาย ทีทําเป็ นโครงเส้นยืนก็จะได้ตะกร้าใส่ ผาหรื อ
                     ั                                                                                  ้
ใส่ เศษผง เศษกระดาษ หรื อจะใช้ประกอบกันเป็ นกระเช้าใส่ ผลไม้ ใส่ ของขวัญก็ดูงามไปอีกแบบหนึ ง การทําเปี ย 3
เส้นใหญ่จะผลิตได้เป็ นจํานวนมาก และรวดเร็ ว ผลิตภัณฑ์จาพวกนีต้องอาศัยการประกอบด้วยการเย็บประดิษฐ์ติดต่อ
                                                      ํ
จะด้วยมือหรื อด้วยจักรเป็ นส่ วนใหญ่ นอกจากจะใช้ขดทําพรมปูพืนห้องแล้ว ยังสามารถจัดขดเป็ นทีวางของร้อนได้
อีกด้วย คุณภาพของวัสดุจาพวกนี ต้องหนาและมีความหยุนตัวได้เพือจะรับนําหนักในของนัน ๆ เช่น ใช้วางหม้อข้าว
                       ํ                         ่
หรื อวางกระทะ เกียวกับการใช้ของภายในครัว เช่น รองครกกันกระเทือนได้เป็ นอย่างดีเพราะมีความหนา รองรับ
ไม่ให้เกิดเสี ยงดังขณะทีทํางาน นอกจากจะทําผลิตภัณฑ์ได้หลายชนิด เปี ย 3 ชนิดเล็กก็สามารถทําได้อีกแบบหนึง เช่น
เย็บต่อกันด้วยจักรเย็บผ้าหรื อเย็บด้วยมือก็อาจทําได้ โดยมากเป็ นผลิตภัณฑ์จาพวกหมวกชายและหญิง และสิ งของอีก
                                                                          ํ
หลายชนิด เช่น ทําทีหุมแก้วนําดืม ทีใส่ ไข่ลวกหรื อสานเป็ นผืนสําหรับโต๊ะอาหาร เป็ นต้น
                     ้
รูปที 1         รูปที 2




      รูปที 3        รูปที 4




  รูปที 5           รูปที 6
รูปที 7                                       รูปที 8




                                            ทําซํากันตามแต่ความต้องการจะใช้




                               3. การถักเปี ยลาย 4 (ใช้ ทําแถบ)


1.   ใช้ปิดบางส่ วนทีไม่พึงปรารถนาจะให้เห็น

2.   เป็ นการเพิ มเสริ มแต่งทําให้วสดุทีทําดูเรี ยบร้อย
                                   ั

3.   ทําให้การออกแบบนันดูสมบูรณ์ขึน
รูปที 1 แสดงจํานวนเส้นทังหมดมี 4 เส้น                รูปที 2 จะเห็นเส้นที 1 สานขัดไป

จะเริ มพันหรื อถักทางใดก็ได้ แต่ในภาพทํา             ทางขวามือก่อนและขอได้โปรด

จากซ้ายไปทางขวา                                     สังเกตดูดวยว่าจํานวนเลขกํากับเส้นนัน
                                                             ้

                                                     สลับทีกันอยูเ่ สมอ




รูปที   3   จงสังเกตดูเลขประจําเส้นนันจะ      รูปที 4 การย้ายเส้นนันต้องย้ายขัดกัน

ต้องสลับกัน เท่าทีเห็นอยูนีก็จะนับได้เป็ น
                         ่                    เสมอ โดยไม่ทาซํากันไปจนครบ
                                                          ํ

เลข 3, 4, 2, 1                                จํานวน3 ครังก่อน และต่อมาเส้นที 4

                                             ก็จะขัดกับเส้นไหน ไม่ได้ จึงจําเป็ น

                                             ต้องยกเส้นที 1 ลงขัดดังรู ปที 5
รูปที 5 แสดงถึงขัดเส้นต่าง ๆ ได้จนครบ                รูปที 6 การขัดจะทําต่อเนืองกันตลอดไปจน

ครังต่อไปผูทีปฏิบติการก็จะมองเห็นแล้ว
           ้     ั                                    กว่าจะได้เส้นยาวตามต้องการ ขนาดของเส้น
ว่าจะต้องขัดอย่างไรจึงจะได้ ทําจากทาง                นันขึนอยูกบเส้นใยพืช ต้องการให้เส้นกว้าง
                                                              ่ ั

ซ้ายมือไปทางขวาครังหนึง และจะทํา                     หรื อแคบก็ตองขึนอยูทีจัดเส้นใยพืชทีใช้สาน
                                                                ้       ่

ขวามือไปทางซ้ายมือ สลับกันไป                          เป็ นข้อแรก


                                        4.   การสานเปี ยลาดคดกริช




                (1)                                          (2)
(3)   (4)




(5)   (6)
(7)                                               (8)




                  (9)                                               (10)

     มีหลักอยูว่าต้องพับให้ได้ 4 ครังก่อน ลักษณะ
              ่                                            4 แต่จะอย่างไรก็ตาม จะต้องพับให้ปลายเส้นห้อยลง
เส้นห้องปลายลง ดูรูปที   3                                 ก่อนเสมอทัง 4 เส้น ดังรู ปที 3 และรู ปที 5 รู ปที 7
                                                           และรู ปที 9 แล้วจึงจะพับต่อไปให้เป็ นเส้นขนาน
  แล้วจึงพับเส้นไหนก็ได้ซึงเห็นว่าจะพับให้ขดกัน
                                           ั
                                                           และเมือพับต่อไปเป็ นเส้นและยาวพอแก่ความ
และพับเป็ นเส้นแนวระดับขนาน ดังจะเห็นในรู ปที
                                                           ต้องการ ก็จะเห็นแนวขนานดังในรู ปที 1



                                          การถักตะกร้ อทําปุ่ มกระเป๋ า
                                           5.
                 ให้สอดผักตบชวาไปตามลูกศร สอดแล้วดึงปลายให้แน่นจะเป็ นปุ่ มตรงขัวปุ่ ม




ถักตะกร้อเช่นเดียวกับถักเปี ย 4      เกิดปุ่ มตรงหัวขัว แล้วจะ               เมือถักมาก ปุ่ มก็จะงอมากขึน

ต่างกันอยูทีพับเส้นนัน ไม่ตอง
          ่                ้         ม้วนไปเอง

กดให้เส้นแบน คงปล่อยเส้นไว้

แล้วปุ่ มจะม้วนไปเอง
จนเป็ นรู ปตะกร้อ ถ้าต้องการให้โตก็ให้ปุ่ม งอ, คด,

หรื อม้วนหลาย ๆ ครังก็จะได้ลูกตะกร้อโตขึน




เมือได้ลูกตะกร้อโตตามต้องการจึงสอดขัดเส้นปลาย ก็จะได้เป็ นผลสําเร็ จตามทีเห็นนีไม่ได้ดึงแน่น เพือให้เห็นชัด



                        6.   การผูกมัดลายตะขาบ (ใช้ กับหูตะกร้ า)
วิธีผูก เอาปลายเส้นทีอยูดานบนสอดผ่านใต้เส้น
                                                                                      ่ ้
                                                          แกนกลางไปขัดทับเส้นล่าง

                                                              ส่ วนปลาย เส้นทีอยูดานล่างสอดทับเส้นแก่น
                                                                                 ่ ้
                                                          กลาง และไปสอดขัดเส้นบน แล้วดึงปลายทังสอง
                                                          มัดแกนกลางให้แน่น



                                                              เมือผูกรัดแล้ว จะต้องดึงให้กระชับแน่นตลอด
  วิธีผูกเบืองต้น ดังภาพทีแสดงกรรมวิธีในการผูก
                                                          ความยาวทีใช้ แลควรรู ดให้ชิดกันอย่างสมําเสมอ
นันใช้เส้น 2 เส้น ขัดผูกไขว้กนโดยมีแกนกลาง 1-3
                             ั
                                                          จะได้ลายผูกทีสวยงามลายกระชับแน่นแข็งแรงดี
เส้นหรื อจะใช้ 3-4 เส้น ก็ได้ขึนอยูกบความกว้างของ
                                   ่ ั
หูตะกร้า



                                        7. การถักสี เหลียมใช้ ทําสาย

เริ มต้นใช้วสดุ 2 เส้น ไขว้กนตรงกลางเส้น แล้วจะได้ส่วนปลายเป็ น 4 เส้น ดูภาพที
            ั               ั                                                      1




           ภาพที   1                                                   ภาพที   2
ภาพที   3                                          ภาพที 4

                                                   ถักสี เหลียมรอบด้านใช้เส้นวัสดุชนิด

                                                แบนหรื อต้องการให้เป็ นเส้นกลมรอบด้าน

                                                ก็ใช้เส้นวัสดุตีเกลียวให้กลม แต่ใช้วิธีสาน
                                                แบบเดียวกันตาม รู ปภาพทีให้ไว้

                                                ภาพทีเสร็ จแล้วทังภาพที 5 และภาพที     6

                                               ถ้าต้องการให้ยาวออกไปก็ต่อเส้นวัสดุได้




            ภาพที 5                                ภาพที   6

   ทีใช้ส่วนใหญ่นน ทําหูหิ วกระเป๋ าหรื อตะกร้าสายกุญแจ และนอกจากนัน ก็คงออกแบบต่าง ๆ แล้วใช้
                 ั
ประกอบลายให้เกิดความสวยงามตามทีคิด

    สรุ ปแล้ว ล้วนมีประโยชน์ดวยกันทังสิ นและอาจพลิกแพลงรู ปแบบได้อีกมาก
                             ้
8.   การสานลายขัด 1 ธรรมดา




                       ลายธรรมดา




                        การสานลายขัด

แถวที   1   ยก     1   ข่ม   1   ยก    1   ข่ม   1   ยก    1   ข่ม   1

แถวที   2   ข่ม    1   ยก    1   ข่ม   1   ยก    1   ข่ม   1   ยก    1

แถวที   3   ยก     1   ข่ม   1   ยก    1   ข่ม   1   ยก    1   ข่ม   1

แถวที 4 ข่ม 1 ยก             1   ข่ม   1   ยก    1   ข่ม   1   ยก    1
 9. การสานลายขัดบิด
ลายขัดบิด



                                             การสานลายขัดบิด

เริมต้ นใช้ วสดุ
             ั     2   เส้ น มาสานขัดปิ ดเส้ นที   1   ยก   1   ข่ม   1   เส้ นที   2   ข่ม   1   ยก   1

ขณะทีสานอยู่ ให้ บิดสลับเส้ นทัง       2   ดังรูปข้ างบน




                                               10. การสานลาย 2        ลาย   3
การสานลายสอง

แถวที   1   ข่ม   1    ยก       2    ข่ม   2     ยก   2   ข่ม   2

แถวที   2   ข่ม   2   ยก    2       ข่ม    2    ยก    2   ข่ม   2

แถวที   3   ยก    1   ข่ม   2       ยก     2    ข่ม   2   ยก    2

แถวที   4   ยก    2   ข่ม   2       ยก     2    ข่ม   2   ยก    2

แถวที   5    ย้ อนกลับไปเริ มแถวที         1   ใหม่ ทําต่อไปเรือย ๆ จนได้
11. การสานลายคดกริช




                                    การสานลายคดกริ ช

แถวที   1   ยก    2     ข่ม   2   ยก    2   ข่ม   2   ยก    1       ข่ม   2   ยก    2

แถวที   2   ยก    2     ข่ม   2   ยก    2   ข่ม   2   ยก     3      ข่ม   2   ยก    2

แถวที   3   ข่ม 2       ยก 2 ข่ม        2   ยก    2   ข่ม    1      ยก    2   ข่ม   2

แถวที   4   ข่ม   2     ยก    2   ข่ม   2   ยก    2    ข่ม 3        ยก    2   ข่ม   2

แถวที   5   ยก      2   ข่ม   2   ยก    2   ข่ม   2    ยก 1         ข่ม   2   ยก    2

แถวที   6   ยก      2   ข่ม   2   ยก    2   ข่ม   2    ยก       3    ข่ม 2 ยก       2

แถวที   7   ข่ม   2     ยก    2   ข่ม   2   ยก    2   ข่ม    5       ยก   2   ข่ม   2

แถวที   8   ข่ม     2   ยก    2   ข่ม   2   ยก    2    ข่ม      3    ยก   2   ข่ม   2
12.   การฟันเชือก ( การฟันวัสดุให้ เป็ นเกลียว)




     นําวัสดุทีจะฟั นมา 2 ชิ น ใช้ดายมัดรวมเข้าด้วยกัน ผูกติดกับเสาหรื อขาโต๊ะ แล้วจึงแยกออกเป็ นสอง
                                   ้
ข้างซ้าย-ขวา ใช้หวแม่มือและนิ วชีหมุนไปทังด้านซ้ายและขวาทัง 2 เส้น
                 ั
จนตึง นําวัสดุทง 2 เส้นเข้าประกบกันแล้วฟั นเป็ นเกลียวไปเป็ นระยะ ๆ ดังรู ปภาพ
               ั
12.    การสานลายลูกแก้ ว




                                               การสานลายลูกแก้ ว

แถวที   1   ยก    1   ข่ม 5 ยก         3     ข่ม 1 ยก            3    ข่ม      5 *ยก 3           ข่ม 1 ยก 3 ข่ม 5

แถวที   2   ยก 2 *ข่ม 3 ยก             3     ข่ม     3       ยก      3

แถวที   3   ข่ม   1   ยก     2   ข่ม   1     ยก      3   ข่ม      5      ยก    3 * ข่ม 1         ยก   3   ข่ม   5   ยก   3

แถวที   4   ข่ม   1   ยก     5   ข่ม   3     ยก      1   ข่ม      3      ยก    5*      ข่ม   3   ยก   1   ข่ม   3   ยก   5

แถวที   5   ข่ม   2*    ยก       3   ข่ม 3 ยก            3   ข่ม     3

แถวที   6   ยก 6 ข่ม         3*      ยก    1       ข่ม   3   ยก       5    ข่ม     3

แถวที   7 *ยก 3             ข่ม 1 ยก         3     ข่ม   5

แถวที   8   ยก    2 *ข่ม 3           ยก    3       ข่ม   3   ยก       3

แถวที   9   ยก 1 ข่ม        5 *ยก 3          ข่ม     1   ยก       3      ข่ม   5

แถวที   10 *ข่ม 3           ยก    1    ข่ม     3     ยก      5
14.   การถักเปี ยปลอก

         ขันตอนการถักเปี ยปลอก

         การถักเปี ยปลอก เป็ นกรรมวิธีทีซับซ้อนกว่าการถักเปี ยสาม ฉะนันผูเ้ รี ยนจะต้องมีพืนความรู ้การถักเปี ยสามดีแล้ว
เพราะการถักเปี ยปลอกเป็ นการถักลวดลายเปี ยสาม ขนาดของปลอกจะให้ใหญ่หรื อเล็กอยูทีการกําหนดวงครังแรก โดยมากการ
                                                                              ่
กําหนดขนาดวงจะใช้เส้นผักตบชวาพันรอบนิ วมือสามรอบ ถ้าต้องการรอบเล็กพันรอบนิ วมือสองนิ ว ถ้าต้องการใหญ่กพนรอบ
                                                                                                      ็ ั
นิ วมือสามนิ ว เป็ นต้น

         ส่ วนปลายเส้นทีเหลือสองเส้น คือ ปลายเส้น ก. และปลายเส้น ข. จะนํามาสานขัดวนเป็ นลายเปี ยวนครบรอบ ตาม
ขันตอนดังต่อไปนี



         ใช้เส้นผักตบชวาพันรอบนิ วมือ                     ใช้เส้นผักตบชวาสอดขัดเป็ นรู ปเปี ยสาม




( 1 ) พันจนครบ 3 รอบ                                    ( 2 ) เส้นขัดไปตามรู ปแบบ




( 3 ) ลอดเส้น ก. ลงในช่องตามภาพ                   (4) หมุนปลอกลงให้เห็นด้านหลัง
(5) เมือเลือนลงตามลูกศรแล้วจะเห็นด้านหลัง (6 ) ด้านหลัง




(7 )                               (8 )




(9)                                (10)

More Related Content

What's hot

8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาMontree Dangreung
 
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
พัน พัน
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
Beerza Kub
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
paifahnutya
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
niralai
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาดGob Chantaramanee
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โรงเรียนบ้านหนองคูโนนแก้วหนองอีย่า .
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
Ged Gis
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาNattarika Wonkumdang
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการsupaporn2516mw
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
Beerza Kub
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
dnavaroj
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
Thanyamon Chat.
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
ssuser858855
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
prayut2516
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวJitrapron Tongon
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
BoomCNC
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 

What's hot (20)

8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
 
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสา
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิว
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 

Similar to ใบความรู้ กรรมวิธีเบื้องต้นและหลักการประดิษฐ์วัสดุจากพืชที่เป็นเส้นใยแบบ

ใบความรู้ กล่องทิชชูดูน่าใช้
ใบความรู้ กล่องทิชชูดูน่าใช้ใบความรู้ กล่องทิชชูดูน่าใช้
ใบความรู้ กล่องทิชชูดูน่าใช้
คุณครูสุนันทา เวียงใต้
 
Basketwork Ceramics
Basketwork CeramicsBasketwork Ceramics
Basketwork Ceramics
Siam Culture @ BUU - Thailand
 
ใบความรู้ เรื่อง ที่รองแก้วล้ำเลอค่า
ใบความรู้  เรื่อง  ที่รองแก้วล้ำเลอค่า ใบความรู้  เรื่อง  ที่รองแก้วล้ำเลอค่า
ใบความรู้ เรื่อง ที่รองแก้วล้ำเลอค่า
คุณครูสุนันทา เวียงใต้
 
Copy of ศิลปะการผูกผ้าประดับ.ppt หนังสือ
Copy of ศิลปะการผูกผ้าประดับ.ppt หนังสือCopy of ศิลปะการผูกผ้าประดับ.ppt หนังสือ
Copy of ศิลปะการผูกผ้าประดับ.ppt หนังสือ
Parveena Photevechkun
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพpaunphet
 
สไลด์เรื่องการเย็บด้วยมือ
สไลด์เรื่องการเย็บด้วยมือสไลด์เรื่องการเย็บด้วยมือ
สไลด์เรื่องการเย็บด้วยมือdesignG11
 
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่Sae-ung May
 
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่Sae-ung May
 
ดอกมะลิ
ดอกมะลิดอกมะลิ
ดอกมะลิpaunphet
 
นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53
นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53
นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53Kawilaanukul
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอนLampang Rajabhat University
 
นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53
นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53
นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53Kawilaanukul
 
นำเสนอการห่อขนมไทย
นำเสนอการห่อขนมไทยนำเสนอการห่อขนมไทย
นำเสนอการห่อขนมไทยPatcharee Kongpun
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ningjaa
 
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
mickytanawin
 
Flap Basketwork
Flap BasketworkFlap Basketwork

Similar to ใบความรู้ กรรมวิธีเบื้องต้นและหลักการประดิษฐ์วัสดุจากพืชที่เป็นเส้นใยแบบ (20)

ใบความรู้ กล่องทิชชูดูน่าใช้
ใบความรู้ กล่องทิชชูดูน่าใช้ใบความรู้ กล่องทิชชูดูน่าใช้
ใบความรู้ กล่องทิชชูดูน่าใช้
 
คอม11
คอม11คอม11
คอม11
 
Basketwork Ceramics
Basketwork CeramicsBasketwork Ceramics
Basketwork Ceramics
 
ใบความรู้ เรื่อง ที่รองแก้วล้ำเลอค่า
ใบความรู้  เรื่อง  ที่รองแก้วล้ำเลอค่า ใบความรู้  เรื่อง  ที่รองแก้วล้ำเลอค่า
ใบความรู้ เรื่อง ที่รองแก้วล้ำเลอค่า
 
ใบความรู้ สง่ากล่องเอนกประสงค์
ใบความรู้ สง่ากล่องเอนกประสงค์ใบความรู้ สง่ากล่องเอนกประสงค์
ใบความรู้ สง่ากล่องเอนกประสงค์
 
Copy of ศิลปะการผูกผ้าประดับ.ppt หนังสือ
Copy of ศิลปะการผูกผ้าประดับ.ppt หนังสือCopy of ศิลปะการผูกผ้าประดับ.ppt หนังสือ
Copy of ศิลปะการผูกผ้าประดับ.ppt หนังสือ
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพ
 
สไลด์เรื่องการเย็บด้วยมือ
สไลด์เรื่องการเย็บด้วยมือสไลด์เรื่องการเย็บด้วยมือ
สไลด์เรื่องการเย็บด้วยมือ
 
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
 
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
 
ดอกมะลิ
ดอกมะลิดอกมะลิ
ดอกมะลิ
 
นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53
นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53
นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
 
นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53
นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53
นำเสนอบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร12 15พ.ย.53
 
นำเสนอการห่อขนมไทย
นำเสนอการห่อขนมไทยนำเสนอการห่อขนมไทย
นำเสนอการห่อขนมไทย
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Flap Basketwork
Flap BasketworkFlap Basketwork
Flap Basketwork
 

ใบความรู้ กรรมวิธีเบื้องต้นและหลักการประดิษฐ์วัสดุจากพืชที่เป็นเส้นใยแบบ

  • 1. เอกสารประกอบการเรียน ชันมัธยมศึกษาปี ที 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เล่ มที 4 โดย นางสาวสุ นันทา เวียงใต้ ครูวทยฐานะชํานาญการพิเศษ ิ โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สํ านักงานเขตพืนทีการศึกษาร้ อยเอ็ดเขต 2
  • 2. ใบความรู้ เอกสารประกอบการเรียน เรือง กรรมวิธีเบืองต้ นและหลักการประดิษฐ์ วัสดุจากพืชทีเป็ นเส้ นใยแบบต่ าง ๆ สาระสํ าคัญ การนําวัสดุจากพืชทีมีลกษณะเป็ นเส้นใยมาประดิษฐ์ให้เกิดลวดลายต่าง ๆ เพือความคงทนของวัสดุเพือความ ั สวยงามน่าใช้เพือเป็ นรู ปแบบเบืองต้นสําหรับเตรี ยมประกอบเป็ นงานผลิตภัณฑ์ สามารถทําได้หลายวิธี เช่น การถัก การทอ การพันข้ามลายแบบต่าง ๆ การสาน และการฟั นเชือก เป็ นต้น จุดประสงค์การเรียนรู้ (ปลายทาง) สามารถประดิษฐ์งานผลิตภัณฑ์ตามกรรมวิธีเบืองต้นได้ และปฏิบติตามรู ปแบบต่าง ๆ ได้ ั จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ (นําทาง) 1.นักเรี ยนสามารถประดิษฐ์งานผลิตภัณฑ์ตามกรรมวิธีเบืองต้นตามขันตอนการปฏิบติ และการเลือกแบบ ั 2.นักเรี ยนสามารถนํากรรมวิธีเบืองต้นของการประดิษฐ์ไปใช้ประโยชน์ได้ตามความเหมาะสมของวัสดุทีมีอยู่ เนือหา กรรมวิธีเบืองต้ น และหลักการประดิษฐ์ วัสดุจากท้ องถิน เพือให้เกิดความสวยงาม น่าใช้ของผลิตภัณฑ์ จะต้องมีกรรมวิธีเบืองต้นในการประดิษฐ์วสดุ ให้เป็ นรู ปแบบ ั ต่าง ๆ รู ปแบบของการประดิษฐ์เบืองต้นของวัสดุมีดงนี ั
  • 3. 1. การพันข้ามลายแบบต่าง ๆ 9. การสานลายขัดบิด 2. การถักเปี ยลาย 3 10. การสานลาย 2 หรื อลาย 3 3. การถักเปี ยลาย 4 11. การสานลายคดกริ ช 4. การสานเปี ยลายคดกริ ช 12. การฟั นเชือก 5. การถักตะกร้อทําปุ่ มกระเป๋ า 13. การสานลายลูกแก้ว 6. การผูกมัดลายตะขาบ 14. การถักเปี ยปลอก 7. การถักสี เหลียมใช้ทาสาย ํ 8. การสานลายขัด 1 ธรรมดา 2. การถักเปี ยลาย 3 (ไว้ เย็บหมวกหรื อใช้ ประกอบทําวัสดุอืนได้ หลายชนิด) ถักเปี ย 3 ก็คงเช่นเดียวกันกับถักเปี ย 4 ผิดกันอยูทีสามารถทําให้เป็ นเส้นเล็กได้ถกได้ ง่ายกว่าเปี ยอืน ๆ และ ่ ั มีทีใช้มากเพราะเป็ นการถักได้หลายขนาด โดยมากใช้ขดเป็ นรู ปสี เหลียม แล้วเอามาต่อกันให้เป็ นผืนใช้ปูพืนห้อง สานตะกร้าก็มกชอบใช้เปี ย 3 ถักเส้นโตนําไปขัดกับเส้นหวาย ทีทําเป็ นโครงเส้นยืนก็จะได้ตะกร้าใส่ ผาหรื อ ั ้ ใส่ เศษผง เศษกระดาษ หรื อจะใช้ประกอบกันเป็ นกระเช้าใส่ ผลไม้ ใส่ ของขวัญก็ดูงามไปอีกแบบหนึ ง การทําเปี ย 3 เส้นใหญ่จะผลิตได้เป็ นจํานวนมาก และรวดเร็ ว ผลิตภัณฑ์จาพวกนีต้องอาศัยการประกอบด้วยการเย็บประดิษฐ์ติดต่อ ํ จะด้วยมือหรื อด้วยจักรเป็ นส่ วนใหญ่ นอกจากจะใช้ขดทําพรมปูพืนห้องแล้ว ยังสามารถจัดขดเป็ นทีวางของร้อนได้ อีกด้วย คุณภาพของวัสดุจาพวกนี ต้องหนาและมีความหยุนตัวได้เพือจะรับนําหนักในของนัน ๆ เช่น ใช้วางหม้อข้าว ํ ่ หรื อวางกระทะ เกียวกับการใช้ของภายในครัว เช่น รองครกกันกระเทือนได้เป็ นอย่างดีเพราะมีความหนา รองรับ ไม่ให้เกิดเสี ยงดังขณะทีทํางาน นอกจากจะทําผลิตภัณฑ์ได้หลายชนิด เปี ย 3 ชนิดเล็กก็สามารถทําได้อีกแบบหนึง เช่น เย็บต่อกันด้วยจักรเย็บผ้าหรื อเย็บด้วยมือก็อาจทําได้ โดยมากเป็ นผลิตภัณฑ์จาพวกหมวกชายและหญิง และสิ งของอีก ํ หลายชนิด เช่น ทําทีหุมแก้วนําดืม ทีใส่ ไข่ลวกหรื อสานเป็ นผืนสําหรับโต๊ะอาหาร เป็ นต้น ้
  • 4. รูปที 1 รูปที 2 รูปที 3 รูปที 4 รูปที 5 รูปที 6
  • 5. รูปที 7 รูปที 8 ทําซํากันตามแต่ความต้องการจะใช้ 3. การถักเปี ยลาย 4 (ใช้ ทําแถบ) 1. ใช้ปิดบางส่ วนทีไม่พึงปรารถนาจะให้เห็น 2. เป็ นการเพิ มเสริ มแต่งทําให้วสดุทีทําดูเรี ยบร้อย ั 3. ทําให้การออกแบบนันดูสมบูรณ์ขึน
  • 6. รูปที 1 แสดงจํานวนเส้นทังหมดมี 4 เส้น รูปที 2 จะเห็นเส้นที 1 สานขัดไป จะเริ มพันหรื อถักทางใดก็ได้ แต่ในภาพทํา ทางขวามือก่อนและขอได้โปรด จากซ้ายไปทางขวา สังเกตดูดวยว่าจํานวนเลขกํากับเส้นนัน ้ สลับทีกันอยูเ่ สมอ รูปที 3 จงสังเกตดูเลขประจําเส้นนันจะ รูปที 4 การย้ายเส้นนันต้องย้ายขัดกัน ต้องสลับกัน เท่าทีเห็นอยูนีก็จะนับได้เป็ น ่ เสมอ โดยไม่ทาซํากันไปจนครบ ํ เลข 3, 4, 2, 1 จํานวน3 ครังก่อน และต่อมาเส้นที 4 ก็จะขัดกับเส้นไหน ไม่ได้ จึงจําเป็ น ต้องยกเส้นที 1 ลงขัดดังรู ปที 5
  • 7. รูปที 5 แสดงถึงขัดเส้นต่าง ๆ ได้จนครบ รูปที 6 การขัดจะทําต่อเนืองกันตลอดไปจน ครังต่อไปผูทีปฏิบติการก็จะมองเห็นแล้ว ้ ั กว่าจะได้เส้นยาวตามต้องการ ขนาดของเส้น ว่าจะต้องขัดอย่างไรจึงจะได้ ทําจากทาง นันขึนอยูกบเส้นใยพืช ต้องการให้เส้นกว้าง ่ ั ซ้ายมือไปทางขวาครังหนึง และจะทํา หรื อแคบก็ตองขึนอยูทีจัดเส้นใยพืชทีใช้สาน ้ ่ ขวามือไปทางซ้ายมือ สลับกันไป เป็ นข้อแรก 4. การสานเปี ยลาดคดกริช (1) (2)
  • 8. (3) (4) (5) (6)
  • 9. (7) (8) (9) (10) มีหลักอยูว่าต้องพับให้ได้ 4 ครังก่อน ลักษณะ ่ 4 แต่จะอย่างไรก็ตาม จะต้องพับให้ปลายเส้นห้อยลง เส้นห้องปลายลง ดูรูปที 3 ก่อนเสมอทัง 4 เส้น ดังรู ปที 3 และรู ปที 5 รู ปที 7 และรู ปที 9 แล้วจึงจะพับต่อไปให้เป็ นเส้นขนาน แล้วจึงพับเส้นไหนก็ได้ซึงเห็นว่าจะพับให้ขดกัน ั และเมือพับต่อไปเป็ นเส้นและยาวพอแก่ความ และพับเป็ นเส้นแนวระดับขนาน ดังจะเห็นในรู ปที ต้องการ ก็จะเห็นแนวขนานดังในรู ปที 1 การถักตะกร้ อทําปุ่ มกระเป๋ า 5. ให้สอดผักตบชวาไปตามลูกศร สอดแล้วดึงปลายให้แน่นจะเป็ นปุ่ มตรงขัวปุ่ ม ถักตะกร้อเช่นเดียวกับถักเปี ย 4 เกิดปุ่ มตรงหัวขัว แล้วจะ เมือถักมาก ปุ่ มก็จะงอมากขึน ต่างกันอยูทีพับเส้นนัน ไม่ตอง ่ ้ ม้วนไปเอง กดให้เส้นแบน คงปล่อยเส้นไว้ แล้วปุ่ มจะม้วนไปเอง
  • 10. จนเป็ นรู ปตะกร้อ ถ้าต้องการให้โตก็ให้ปุ่ม งอ, คด, หรื อม้วนหลาย ๆ ครังก็จะได้ลูกตะกร้อโตขึน เมือได้ลูกตะกร้อโตตามต้องการจึงสอดขัดเส้นปลาย ก็จะได้เป็ นผลสําเร็ จตามทีเห็นนีไม่ได้ดึงแน่น เพือให้เห็นชัด 6. การผูกมัดลายตะขาบ (ใช้ กับหูตะกร้ า)
  • 11. วิธีผูก เอาปลายเส้นทีอยูดานบนสอดผ่านใต้เส้น ่ ้ แกนกลางไปขัดทับเส้นล่าง ส่ วนปลาย เส้นทีอยูดานล่างสอดทับเส้นแก่น ่ ้ กลาง และไปสอดขัดเส้นบน แล้วดึงปลายทังสอง มัดแกนกลางให้แน่น เมือผูกรัดแล้ว จะต้องดึงให้กระชับแน่นตลอด วิธีผูกเบืองต้น ดังภาพทีแสดงกรรมวิธีในการผูก ความยาวทีใช้ แลควรรู ดให้ชิดกันอย่างสมําเสมอ นันใช้เส้น 2 เส้น ขัดผูกไขว้กนโดยมีแกนกลาง 1-3 ั จะได้ลายผูกทีสวยงามลายกระชับแน่นแข็งแรงดี เส้นหรื อจะใช้ 3-4 เส้น ก็ได้ขึนอยูกบความกว้างของ ่ ั หูตะกร้า 7. การถักสี เหลียมใช้ ทําสาย เริ มต้นใช้วสดุ 2 เส้น ไขว้กนตรงกลางเส้น แล้วจะได้ส่วนปลายเป็ น 4 เส้น ดูภาพที ั ั 1 ภาพที 1 ภาพที 2
  • 12. ภาพที 3 ภาพที 4 ถักสี เหลียมรอบด้านใช้เส้นวัสดุชนิด แบนหรื อต้องการให้เป็ นเส้นกลมรอบด้าน ก็ใช้เส้นวัสดุตีเกลียวให้กลม แต่ใช้วิธีสาน แบบเดียวกันตาม รู ปภาพทีให้ไว้ ภาพทีเสร็ จแล้วทังภาพที 5 และภาพที 6 ถ้าต้องการให้ยาวออกไปก็ต่อเส้นวัสดุได้ ภาพที 5 ภาพที 6 ทีใช้ส่วนใหญ่นน ทําหูหิ วกระเป๋ าหรื อตะกร้าสายกุญแจ และนอกจากนัน ก็คงออกแบบต่าง ๆ แล้วใช้ ั ประกอบลายให้เกิดความสวยงามตามทีคิด สรุ ปแล้ว ล้วนมีประโยชน์ดวยกันทังสิ นและอาจพลิกแพลงรู ปแบบได้อีกมาก ้
  • 13. 8. การสานลายขัด 1 ธรรมดา ลายธรรมดา การสานลายขัด แถวที 1 ยก 1 ข่ม 1 ยก 1 ข่ม 1 ยก 1 ข่ม 1 แถวที 2 ข่ม 1 ยก 1 ข่ม 1 ยก 1 ข่ม 1 ยก 1 แถวที 3 ยก 1 ข่ม 1 ยก 1 ข่ม 1 ยก 1 ข่ม 1 แถวที 4 ข่ม 1 ยก 1 ข่ม 1 ยก 1 ข่ม 1 ยก 1 9. การสานลายขัดบิด
  • 14. ลายขัดบิด การสานลายขัดบิด เริมต้ นใช้ วสดุ ั 2 เส้ น มาสานขัดปิ ดเส้ นที 1 ยก 1 ข่ม 1 เส้ นที 2 ข่ม 1 ยก 1 ขณะทีสานอยู่ ให้ บิดสลับเส้ นทัง 2 ดังรูปข้ างบน 10. การสานลาย 2 ลาย 3
  • 15. การสานลายสอง แถวที 1 ข่ม 1 ยก 2 ข่ม 2 ยก 2 ข่ม 2 แถวที 2 ข่ม 2 ยก 2 ข่ม 2 ยก 2 ข่ม 2 แถวที 3 ยก 1 ข่ม 2 ยก 2 ข่ม 2 ยก 2 แถวที 4 ยก 2 ข่ม 2 ยก 2 ข่ม 2 ยก 2 แถวที 5 ย้ อนกลับไปเริ มแถวที 1 ใหม่ ทําต่อไปเรือย ๆ จนได้
  • 16. 11. การสานลายคดกริช การสานลายคดกริ ช แถวที 1 ยก 2 ข่ม 2 ยก 2 ข่ม 2 ยก 1 ข่ม 2 ยก 2 แถวที 2 ยก 2 ข่ม 2 ยก 2 ข่ม 2 ยก 3 ข่ม 2 ยก 2 แถวที 3 ข่ม 2 ยก 2 ข่ม 2 ยก 2 ข่ม 1 ยก 2 ข่ม 2 แถวที 4 ข่ม 2 ยก 2 ข่ม 2 ยก 2 ข่ม 3 ยก 2 ข่ม 2 แถวที 5 ยก 2 ข่ม 2 ยก 2 ข่ม 2 ยก 1 ข่ม 2 ยก 2 แถวที 6 ยก 2 ข่ม 2 ยก 2 ข่ม 2 ยก 3 ข่ม 2 ยก 2 แถวที 7 ข่ม 2 ยก 2 ข่ม 2 ยก 2 ข่ม 5 ยก 2 ข่ม 2 แถวที 8 ข่ม 2 ยก 2 ข่ม 2 ยก 2 ข่ม 3 ยก 2 ข่ม 2
  • 17. 12. การฟันเชือก ( การฟันวัสดุให้ เป็ นเกลียว) นําวัสดุทีจะฟั นมา 2 ชิ น ใช้ดายมัดรวมเข้าด้วยกัน ผูกติดกับเสาหรื อขาโต๊ะ แล้วจึงแยกออกเป็ นสอง ้ ข้างซ้าย-ขวา ใช้หวแม่มือและนิ วชีหมุนไปทังด้านซ้ายและขวาทัง 2 เส้น ั จนตึง นําวัสดุทง 2 เส้นเข้าประกบกันแล้วฟั นเป็ นเกลียวไปเป็ นระยะ ๆ ดังรู ปภาพ ั
  • 18. 12. การสานลายลูกแก้ ว การสานลายลูกแก้ ว แถวที 1 ยก 1 ข่ม 5 ยก 3 ข่ม 1 ยก 3 ข่ม 5 *ยก 3 ข่ม 1 ยก 3 ข่ม 5 แถวที 2 ยก 2 *ข่ม 3 ยก 3 ข่ม 3 ยก 3 แถวที 3 ข่ม 1 ยก 2 ข่ม 1 ยก 3 ข่ม 5 ยก 3 * ข่ม 1 ยก 3 ข่ม 5 ยก 3 แถวที 4 ข่ม 1 ยก 5 ข่ม 3 ยก 1 ข่ม 3 ยก 5* ข่ม 3 ยก 1 ข่ม 3 ยก 5 แถวที 5 ข่ม 2* ยก 3 ข่ม 3 ยก 3 ข่ม 3 แถวที 6 ยก 6 ข่ม 3* ยก 1 ข่ม 3 ยก 5 ข่ม 3 แถวที 7 *ยก 3 ข่ม 1 ยก 3 ข่ม 5 แถวที 8 ยก 2 *ข่ม 3 ยก 3 ข่ม 3 ยก 3 แถวที 9 ยก 1 ข่ม 5 *ยก 3 ข่ม 1 ยก 3 ข่ม 5 แถวที 10 *ข่ม 3 ยก 1 ข่ม 3 ยก 5
  • 19. 14. การถักเปี ยปลอก ขันตอนการถักเปี ยปลอก การถักเปี ยปลอก เป็ นกรรมวิธีทีซับซ้อนกว่าการถักเปี ยสาม ฉะนันผูเ้ รี ยนจะต้องมีพืนความรู ้การถักเปี ยสามดีแล้ว เพราะการถักเปี ยปลอกเป็ นการถักลวดลายเปี ยสาม ขนาดของปลอกจะให้ใหญ่หรื อเล็กอยูทีการกําหนดวงครังแรก โดยมากการ ่ กําหนดขนาดวงจะใช้เส้นผักตบชวาพันรอบนิ วมือสามรอบ ถ้าต้องการรอบเล็กพันรอบนิ วมือสองนิ ว ถ้าต้องการใหญ่กพนรอบ ็ ั นิ วมือสามนิ ว เป็ นต้น ส่ วนปลายเส้นทีเหลือสองเส้น คือ ปลายเส้น ก. และปลายเส้น ข. จะนํามาสานขัดวนเป็ นลายเปี ยวนครบรอบ ตาม ขันตอนดังต่อไปนี ใช้เส้นผักตบชวาพันรอบนิ วมือ ใช้เส้นผักตบชวาสอดขัดเป็ นรู ปเปี ยสาม ( 1 ) พันจนครบ 3 รอบ ( 2 ) เส้นขัดไปตามรู ปแบบ ( 3 ) ลอดเส้น ก. ลงในช่องตามภาพ (4) หมุนปลอกลงให้เห็นด้านหลัง