SlideShare a Scribd company logo
ConThai Rice Cooking




                Mr. Jaturapat        Pakkanawanit
                Mr. Nattapon         Kumpaing
                Mr. Prissada         Chuachai
                Mr. Sapon            Pitak
                Mr. Sutipong         Kankua
                Mr. Narubas          Younuch
                Mr. Kittipat         Jaturapornpison
                Mr. Charintorn       Jareonsri
                Mr. Tipakorn         Sumeteenarumit
                Mr. Panuwat          Sangketkit
                Mr. Wtsanu           Thamneammai




        This project Submitted in Partial Fulfillment of the
Application of industrial Electronic for Muti-Disciplinary Workshop
 Department of Control System and Instrumentation Engineering
                       Faculty of Engineering
       King Mongkut’s University of Technology Thonburi
                        Academic Year 2011
ConThai Rice Cooking




          Mr. Jaturapat      Pakkanawanit 53211804
          Mr. Nattapon       Kumpaing         53211811
          Mr. Prissada       Chuachai         53211819
          Mr. Sapon          Pitak            53211830
          Mr. Sutipong       Kankua          53211831
          Mr. Narubas        Younuch         53219012
          Mr. Kittipat       Jaturapornpison 54261503
          Mr. Charintorn     Jareonsri       54261504
          Mr. Tipakorn       Sumeteenarumit54261512
          Mr. Panuwat        Sangketkit      54261520
          Mr. Wtsanu         Thamneammai 54261522




        This project Submitted in Partial Fulfillment of the
Application of industrial Electronic for Muti-Disciplinary Workshop
 Department of Control System and Instrumentation Engineering
                       Faculty of Engineering
       King Mongkut’s University of Technology Thonburi
                        Academic Year 2011
Chapter 1
                                                  Preface

1.1 Name of project: ConThai Rice Cooking

1.2 The origin of project:
         เนื่องจากปั จจุบนคนไทยได้รับประทานข้าวน้อยลงทุกปี ต่อไปการบริ โภคข้าวของคนไทยนั้นมี
                         ั
                                                             ่
แนวโน้มจะลดลงไปเรื่ อย อีกทั้งการบริ โภคข้าวของภูมิเอเชียอยูท่ี 200 กิโลกรัมต่อปี แต่ตวเลขการบริ โภคของ
                                                                                        ั
          ่
คนไทยอยูที่ 100 -110 กิโลกรัมต่อปี เท่านั้น
        โลกเราได้กาวสู่ สงครามการบริ โภคอย่างเต็มรู ปแบบ มีความเร็ ว สะดวก ประหยัด ซึ่ งเป็ นสิ่ งจาเป็ นต่อ
                     ้
การบริ โภคข้าว ข้าวเป็ นได้มีการปรับตัว สมรภูมิการตลาดมากมายหลายรู ปแบบ ท่ามกลางวิถีชีวตที่เร่ งรี บของ
                                                                                               ิ
คนในเมืองที่จะต้องมีการทางานแข่งขันกับเวลาอยูเ่ สมอ จึงมีความจาเป็ นที่จะต้องใช้ส่ิ งที่คอยอานวยความ
                                                                                            ุ่
สะดวกสบาย เพื่อลดเวลาบางอย่างลงไป ซึ งการรับประทานข้าวในตอนเช้านั้นดูจะเป็ นเรื่ องที่ยงยากมาก
เพราะว่ามันไม่เอื้อกับวิถีชีวตของคนเราที่มีการเปลี่ยนแปลงไป อีกทั้งเรายังได้รับวัฒนธรรมตะวันตกที่มี ผลต่อ
                             ิ
การบริ โภคของคนในเมือง ซึ่ งมีสิ่งที่เราเห็นได้ชดคือปริ มาณการบริ โภคข้าวของคนในเมืองจะมีการบริ โภคข้าว
                                                 ั
น้อยกว่าคนชนบท เพราะถูกจากัดในเรื่ องของเวลา
        ดังนั้นโครงงานนี้จึงได้ถูกจัดทาขึ้นเพื่อตอบสนองพฤติกรรมของมนุษย์ท่ีมีการเปลี่ยนแปลงไป ให้
ได้รับความสะดวก สบายมากขึ้น

1.3 Objective:
        1.3.1เพื่อพัฒนาให้หม้อหุงข้าวสามารถทางานได้หลายรู ปแบบ ซึ่ งมี่ฟังชันพื้นฐานดังนี้
                  1.3.1.1 ฟังชันการหุง
                  1.3.1.2 ฟังชันการอุ่น สามารถตั้งเวลาได้
                  1.3.1.3 ฟังชันการต้ม สามารถตั้งเวลาได้
                  1.3.1.4 ฟังชันการทอด สามารถตั้งเวลาได้

1.4 Procedure:
      การดาเนินการจะเริ่ มตั้งแต่การค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับ หม้อหุ งข้าว ที่ใช้กนทัวๆไปหรื อว่าที่ไม่ใช้แล้วก็ตาม
                                                                             ั ่
จากนั้นก็ทาการออกแบบระบบการทางานของหม้อหุ งข้าวเพื่อให้เห็นโครงสร้างคร่ าวๆของเคื่องนี้รายละเอียด
ขั้นตอนการทางานดังนี้
        1.4.1 ศึกษาทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับหม้อหุ งข้าว
1.4.2 ศึกษาฟังก์ชน ต่างๆ และการทางานของคอนโทรลเลอร์
                          ั่
        1.4.3 ออกแบบโครงสร้างและวงจรของหม้อหุงข้าว
        1.4.4 หาซื้ ออุปกรณ์ของเครื่ อง
        1.4.5 ศึกษาการเขียนโปรแกรมโดยใช้ AVR
        1.4.6 เขียนโปรแกรมควบคู่ไปกับการประกอบวงจร
        1.4.7 พัฒนาโปรแกรมและทดลองใช้เครื่ อง
        1.4.8 ปรับปรุ ง, แก้ไขวงจร และโปรแกรมให้ดีข้ ึน
        1.4.9 รวบรวม, สรุ ปปัญหาในการทางาน
        1.4.10 สรุ ปผลการทดลอง
        1.4.11 จัดทาหนังสื อโครงงาน

1.5 Period:
            Plan               January     February        March          April         May
                              1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 5
1. ศึกษาเรื่องหม้ อหุงข้ าว
2. ศึกษาฮาร์ แวร์
3. ศึกษาไมโครคอนโทรเลอร์
4. ออกแบบวงจร
5. ซื้ออุปกรณ์ ฮาร์ แวร์
6. ประกอบวงจร
7. ทดสอบวงจร
8. ปรับปรุ งแก้ ไข
9. ทารายงาน

1.6 Benefit
        1.6.1 สามารถสร้างหม้อหุ งข้าวที่เหมาะสาหรับชีวตสมัยใหม่เพื่อนาไปใช้งานได้จริ ง
                                                       ิ
        1.6.2 ได้ความรู ้จากการทางานเป็ นกลุ่ม และได้ทดลองนาความรู ้ที่ได้ศึกษามานามาใช้ประโยชน์
Chapter 2
                                             Theory

2.1 Editorial

2.2 แหล่งจ่ ายไฟ

       2.2.1 Block Diagram




                        ภาพที่ 2.1 แสดงบล็อคไดอะแกรมของแหล่งจ่ายไฟ
          2.2.2หม้ อแปลง(Transformer)
                   หม้อแปลงทาหน้าที่แปลงไฟฟ้ ากระสลับจากแรงดันค่าหนึ่งเป็ นอีกค่าหนึ่งโดยให้   มีการ
สู ญเสี ยกาลังงานน้อยที่สุด หม้อแปลงทางานเฉพาะกับไฟฟ้ า กระแสสลับเท่านั้น และนันก็เป็ นเหตุผลหนึ่ง
                                                                                      ่
    ่
ที่วาทาไมไฟฟ้ าบ้านจึงเป็ นไฟกระแสสลับ
                   หม้อแปลงแปลงขึ้น(step-up) เพิ่มแรงดัน ส่ วนหม้อแปลง แปลงลง(step-down) ลด
แรงดัน แหล่งจ่ายไฟส่ วนใหญ่ใช้หม้อแปลงลดแรงดัน เพื่อลดแรงดัน ไฟบ้านที่มีแรงดันสู ง (220V)ซึ่ งเป็ น
อันตรายให้ต่าลงเพื่อความปลอดภัย
                   ขดลวดทางเข้าเรี ยก ว่าปฐมภูมิ(primary) และขดลวดทางออกเรี ยกว่าทุติยภูมิ(secondary)
ระหว่างขดทั้งสองไม่มีการต่อกันทางไฟฟ้ า แต่ใช้การเชื่อมกัน โดยสนามแม่เหล็กไฟฟ้ ากระแสสลับที่เกิดขึ้น
ในแกนเหล็กของหม้อแปลง ขีดสองเส้นระหว่างขดลวดในรู ปสัญลักษณ์แทนแกนเหล็ก
                   อัตราส่ วนจานวนรอบของแต่ละขดลวดเรี ยกว่า อัตราส่ วนรอบ(turns ratio) เป็ นตัวกาหนด
อัตราส่ วนแรงดัน หม้อแปลงลดแรงดัน(step-down) มีขดลวด จานวนรอบมากคือขดปฐมภูมิต่อกับแรงดันไฟ
บ้านเป็ นอินพุท และทางด้านเอาท์พุทเป็ นขดทุติยภูมิมีจานวนรอบน้อยให้แรงดันออกต่า
𝑉𝑃       𝑁𝑃
                               อัตราส่ วนรอบ =        =
                                                 𝑉𝑆       𝑁𝑆


               Vp = แรงดันปฐมภูมิ(อินพุท)   Vs = แรงดันทุติยภูมิ (เอาท์พุท)
               Np = จานวนรอบของขดลวดปฐมภูมิ Ns = จานวนรอบของขดลวดทุติยภูมิ



         2.2.3วงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ (Bridge rectifier)
                 การเรี ยงกระแสแบบบริ ดจ์สามารถใช้ไดโอดเดี่ยวสี่ ตวมาต่อกันหรื อสามารถใช้ได โอดบริ ดจ์
                                                                  ั
แบบแพคเกจสาเร็ จรู ปก็ได้ เรี ยกว่าการเรี ยงกระแสแบบเต็มคลื่นเพราะใช้คลื่นไฟฟ้ ากระแสสลับทั้งหมด (ทั้ ง
ด้านบวกและด้านลบ) ตัวเรี ยงกระแสแบบบริ ดจ์จะเกิดแรงดันตกคร่ อม1.4Vเพราะไดโอดแต่ละตัวจะตกคร่ อม
เท่ากับ 0.7Vขณะนากระแส และบริ ดจ์มีการนากระแสสองตัวพร้อมกัน




 ภาพที่ 2.2 แสดงวงจรเรี ยงกระแสแบบบริ ดจ์ ภาพที่ 2.3 แสดงวงจรเรี ยงกระแสแบบเต็มคลื่น

       2.2.4วงจรกรอง(Smoothing)
                 การกรองเกิดขึ้นโดยการต่อ อิเล็กโตรไลติก คาปาซิเตอร์ ค่าสู งคร่ อมไฟกระแสตรง ทาหน้าที่
เหมือนบ่อเก็บน้ า, ป้ อนกระแสให้เอาท์พุทเมื่อแรงดันกระแสสลับจากวงจรกรองกระแสตกลง จากภาพแสดงให้
เห็นไฟกระแสตรงที่ยงไม่กรองและไฟกระแสตรงที่กรองแล้วคาปาซิ เตอร์ ประจุเร็ วที่ใกล้ยอดของไฟกระแสตรง
                       ั
และคลายประจุป้อนกระแสให้เอาท์พุท
ภาพที่ 2.4 แสดงการcharge และการ discharge ของตัวเก็บประจุ

           ทาให้แรงดันกระแสตรงเพิ่มขึ้นถึงค่ายอด(1.4 × RMS ) ตัวอย่างเช่นไฟกระแสสลับ 6V RMS เมื่อถูก
เรี ยงกระแสแบบเต็มคลื่นจะได้ไฟกระแสตรงประมาณ 4.6V RMS (สู ญเสี ยที่ไดโอดบริ ดจ์เรี ยงกระแส1.4V),
เมื่อผ่านวงจรกรองจะเพิ่มเป็ นค่ายอดเท่ากับ 1.4 × 4.6 = 6.4V (DC)
           การกรองไม่เรี ยบสมบูรณ์เพราะแรงดันของตัวเก็บ ประจุตกเล็กน้อยตอนคลายประจุ จึงเกิดแรงดัน
ripple เล็กน้อย สาหรับวงจรโดยส่ วนมากแหล่งจ่ายไฟที่มีแรงดัน ripple 10% ก็ใช้ได้แล้ว ค่าของตัวเก็บประจุ
สาหรับการกรองหาได้จากสมการข้างล่าง หากตัวเก็บประจุใหญ่ ripple ก็จะน้อย สาหรับไฟกระแสตรงแบบ
ครึ่ งคลื่นตัวกรองต้องใช้ตวเก็บประจุค่าสู งเป็ นสองเท่า
                           ั

                                                        (5)( I o )
                ตัวเก็บประจุสาหรับกรองพลิ้ว 10%, C =
                                                        (V s )(f)

                Io = กระแสออกจากแหล่งจ่ายไฟ
                Vs = แรงดันแหล่งจ่าย (ค่ายอดของไฟDCที่ยงไม่กรอง)
                                                       ั
                f = ความถี่ของไฟ AC แหล่งจ่าย (50Hz)

         2.2.5วงจรคุมค่ า(Regulator)
                  ไอซี คุมค่าแรงดันมีชนิดค่าแรงดันคงที่ (เป็ นต้นว่า 5, 12 และ 15V) หรื อ แรงดันเอาท์พุทปรับ
                                                                                               ั
ได้ มันถูกเรี ยกตามกระแสสู งสุ ดที่สามารถผ่านได้ ไอซี คุมค่าแรงดันลบก็มี เหมาะสาหรับใช้กบแหล่งจ่ายไฟ
แบบคู่ ไอซี คุมค่าส่ วนใหญ่จะมีวงจรการป้ องกันอัตโนมัติจาก กระแสเกิน (overload protection) และ ความร้อน
เกิน (thermal protection)
                  ไอซี คุมค่าแบบคงที่ส่วนมากมี 3 ขา และมองดูเหมือนเพาเวอร์ทรานซิสเตอร์ , เช่นไอซี คุมค่า
เบอร์ 7805 +5V 1A แสดงทางขวามือ ด้านบนมีรูสาหรับยึดติด แผ่น ระบายความร้อน
ภาพที่ 2.5 แสดง IC คุมค่าแรงดัน

2.3 ไตรแอค(TRIAC)
         ไตรแอค เป็ นอุปกรณ์จาพวกสารกึ่งตัวนาในกลุ่มไทริ สเตอร์ มีลกษณะโครงสรร้างภายในคล้ายกับได
                                                                   ั
แอค แต่มีขาเกตเพิมขึ้นมาอีก 1 ขา ไตรแอคถูกสร้างขึ้นเพื่อแก้ไขข้อบกพร่ องของ SCR ซึ่ งไม่สามารถนากระแส
                 ่
ในซี กลบของไฟฟ้ ากระแสสลับได้ การนาไตรแอคไปใช้งานส่ วนใหญ่จะใช้ทาเป็ นวงจรควบคุมก ารทางานเป็ น
       ่
สวิตซ์ตอแรงดันไฟสลับ ไตรแอคถูกสร้างขึ้นมาให้ใช้งานกระแสสู งๆ ดังนั้นจะต้องระวังเรื่ องของการระบาย
ความร้อน โครงสร้างของไตรแอคจะประกอบด้วยสารกึ่งตัวนา 3ส่ วน คือ P-N-P ซึ่ งมีท้ งหมด 3ขาได้แก่ ขา
                                                                                     ั
MT1, ขา MT2 และขา G




    ภาพที่ 2.6 แสดงโครงสร้างของ TRIAC                     ภาพที่ 2.7 แสดงสัญลักษณ์ของ TRIAC

       2.3.1 สภาวะทีไตรแอคทางาน
                     ่
                                        ั
               2.3.1.1 จ่ายแรงดันบวกให้กบขา MT2 จ่ายแรงดันลบให้ MT1 และจ่ายแรงดันบวกไปกระตุนที่
                                                                                           ้
ขา G
                                        ั
               2.3.1.2 จ่ายแรงดันบวกให้กบขา MT2 จ่ายแรงดันลบให้ MT1 และจ่ายแรงดันลบไปกระตุนที่
                                                                                          ้
ขา G
                                       ั
               2.3.1.3 จ่ายแรงดันลบให้กบขา MT2 จ่ายแรงดันบวกให้ MT1 และจ่ายแรงดันลบไปกระตุนที่
                                                                                          ้
ขา G
ั
                2.3.1.4 จ่ายแรงดันลบให้กบขา MT2 จ่ายแรงดันบวกให้ MT1 และจ่ายแรงดันบวกไปกระตุนที่
                                                                                            ้
ขา G
      2.3.2 สภาวะทีไตรแอคหยุดการทางาน
                     ่
                                                                   ่
               ไตรแอคเมื่อนากระแสแล้วไม่จาเป็ นต้องคงค้างแรงดันที่จายกระตุนขา G เพราะไตรแอค จะ
                                                                          ้
นากระแสต่อเนื่องได้เหมือนกับ SCR การที่จาทาให้ไตรแอคหยุดนากระแสสามารถทาได้ 2วิธี คือ
                                                    ั
               2.3.2.1 ตัดแหล่งจ่ายแรงดันที่ป้อนให้กบขา MT2 และขา MT1 ของไตรแอคออกชัวขณะ
                                                                                     ่
               2.3.2.2 ลดแรงดันไบอัสตรงที่จ่ายให้ขา MT2 และขา MT1 ลงจนทาให้มีกระแสไหลผ่านตัว
      ไตรแอคต่ากว่ากระแสโฮลดิ้งของไตรแอค

2.4 เซนเซอร์ (Sensor)
         2.4.1 เทอร์ โมสตัท ในหม้อหุงข้าวแบบดิจิตอลจะแตกต่างไปจากหม้อหุ งข้าวแบบทัวไป ซึ่งหม้อหุงข้าว
                                                                                       ่
แบบทัวไปจะประกอบไปด้วย คานบังคับ หน้าสัมผัส สวิตซ์ และชุดแม่เหล็ก ซึ่งจะทางานโดยอาศัยการเสื่ อม
       ่
อานาจของแม่เหล็กเมื่อเกิดความร้อนสู งขึ้น แต่เทอร์ โมสตัสในหม้อหุ งข้าวดิจิตอลจะทาหน้าที่เป็ นตัววัดค่าของ
อุณหภูมิ แล้วนาค่าอุณหภูมิที่ได้ ส่ งไปยังไมโ        ครฯ เพื่อประมวณผลแล้วนาค่าที่ได้ไปควบคุมการขด
ลวดความร้อน
         2.4.2 วงจรแบ่ งแรงดัน คือ วงจรที่ประกอบด้วยความต้านทาน 2 ตัว ขึ้นไปต่ออนุกรมอยูระหว่าง    ่
แหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้ า ซึ่ งค่าความต้านทานในวงจร จะทาหน้าที่แบ่งแรงดันไฟฟ้ าในวงจร โดยทัว ๆ ไปแล้ว
                                                                                             ่
วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้ าพัฒนามาจากกฎของโอห์ม เพียงแต่การคิดแรงดันไฟฟ้ าตกคร่ อมตัวต้านทานแต่ละตัวใช้
วิธีของวงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้ า จะรวดเร็ วและ สะดวกกว่ากฎของโอห์ม




                                     ภาพที่ 2.8 แสดงวงจรแบ่งแรงดัน

2.5 ไมโครคอนโทรเลอร์
        2.5.1 จอแสดงผลกราฟิ ก ET-NOKIA LCD 5110
                2.7.1.1 หน้าจอแสดงผลความละเอียด 48 x 84 Dot
                2.7.1.2 ติดต่อสื่ อสารแบบระบบบัสอนุกรม (Serial Bus Interface) ความเร็ วสู งสุ ด 4.0 Mbits/S
2.5.1.3 มีคอนโทรลเลอร์เบอร์ PCD8544 ภายในควบคุมการทางาน
        2.5.1.4 มีหลอดไฟ Back-Light
        2.5.1.5 ทางานที่แรงดัน 2.7 - 5.0 โวลท์
        2.5.1.6 กินกาลังงานต่า เหมาะกับฟังก์ชนการใช้งานกับพวกแบตเตอรี่
                                               ั
        2.5.1.7 ช่วงอุณหภูมิการทางาน -25 ถึง +70 องศาเซลเซียส




                 ภาพที่ 2.9 แสดงจอแสดงผลกราฟิ ก ET-NOKIA LCD 5110

2.5.2 ATmega 128
        2.5.2.1 ประสิ ทธิภาพสู ง และมีกาลังที่ต่า
        2.5.2.2 มีความปลอดภัยสู ง
        2.5.2.3 สามารถอ่านโปรแกรมแฟลช
        2.5.2.4 เก็บข้อมูลได้ถึง 20 ปี ที่อุณหภูมิ 85 องศาเซลเซียส
        2.5.2.5 อินเตอร์เฟซสาหรับเขียนโปรแกรม SPI




                               ภาพที่ 2.10 แสดง ATmega 128
บทที3
                                              ่
                                    วงจรและการออกแบบ
   ในบทนี้จะกล่าวถึงวงจรในส่ วนต่างๆของเครื่ อง และอธิ บายการทางานของวงจรต่างๆที่ใช้ในโครงงานนี้

3.1 วงจร แหล่งจ่ ายไฟ




                                  ภาพที3.1 แสดงวงจร Power supply
                                       ่

ในส่ วนนี้เราจะใช้ Lm7809 ในการแปลงไฟจากหม้อแปลง 12 VAC เป็ น 9 VDC กระแส 1A ใน U1 จะมีไดโอด
ป้ องกันไฟให้ไหลทางเดียว ในU2 จะใช้ lm7805 เพื่อแปลงไฟจาก 9VDC กระแส 1A ให้เป็ น 5VDC กระแส 1A
                          ั
เพื่อนาไปเป็ นไฟเลี้ยงให้กบไมโครคอนโทรลเลอร์ และ U3 จะใช้ lm7805 แปลงไฟเป็ น 5VDC กระแส 1A เพื่อ
นาไปเป็ นไฟเลี้ยงให้เซ็นเซอร์




3.2 วงจรไตแอก (Triac)
ภาพที3.2 แสดงวงจรการใช้การ Triac
                                        ่

Calculate R1, when VT = 5 V, I1 = 60 mA
From               VT = I1R1
5 V = (60 mA) R1
R1 = 83.33 Ω
Calculate R2, when E = 220 V, I2 = 5 mA
From                E = I2R2
220 V = (5 mA) R2
R2 = 44 kΩ




3.3 วงจรเซ็นเซอร์
+5 V

                                               R1                      V1
                                                       1 kΩ

                               RT              R2                      V2
                                                       100 kΩ

                                               R3                      V3       Output
                                                       10 kΩ


                                       ภาพที3.3 แสดงวงจรแบ่งแรงดัน
                                            ่



        Calculate IT, V70°C, V100°C, V120°C, V190°C . When R1 = 1 kΩ, R2 = 100 kΩ, R3 = 10 kΩ
Calculate RTmax, when R2 = 100 kΩ
                          RTmax = R1 + R2 + R3
                                = 1 kΩ + 100 kΩ +10 kΩ
                          RTmax = 111 kΩ
Calculate RTmin, when R2 = 0 kΩ
                          RTmin= R1 + R2 + R3
                               = 1 kΩ + 0 kΩ +10 kΩ
                         RTmin = 11 kΩ
Calculate V3max, when RT = 11 kΩ, R3 = 10 kΩ
                         V3max = VT (R T )
                                     R3

                                       10 kΩ
                               = 5V(11 kΩ )
                         V3max = 4.5454 V



Calculate V3min, when RT = 111 kΩ, R3 = 10 kΩ
V3min = VT (R T )
                                      R3

                                          10 kΩ
                                = 5V(111 kΩ )
                          V3min = 0.4504 V

Calculate IT, when E = 5V, RT = 11 kΩ
                                   V
                             IT = (R T )
                                      T
                                      5V
                                 = (11 kΩ )
                              IT = 0.45 mA

Calculate V70°C, when R1 = 1 kΩ, R2 = 15.31 kΩ, R3 = 10 kΩ, RT = 26.31 kΩ
                                          R
                           V70°C = VT (R 3 )
                                              T
                                              10 kΩ
                                 = 5V(26.31 kΩ)
                          V70°C = 1.9004 V

Calculate V100°C, when R1 = 1 kΩ, R2 = 5.24 kΩ, R3 = 10 kΩ, RT = 16.24 kΩ
                                          R
                          V100°C = VT (R 3 )
                                              T
                                              10 kΩ
                                 = 5V(16.24 kΩ )
                          V100°C = 3.0788 V

Calculate V120°C, when R1 = 1 kΩ, R2 = 3.19 kΩ, R3 = 10 kΩ, RT = 14.19 kΩ
                                          R
                          V120°C = VT (R 3 )
                                              T
                                              10 kΩ
                                 = 5V(14.19 kΩ )
                          V120°C = 3.5236 V

Calculate V190°C, when R1 = 1 kΩ, R2 = 500 Ω, R3 = 10 kΩ, RT = 11.5 kΩ
                                          R
                          V190°C = VT (R 3 )
                                              T
                                           10 kΩ
                                 = 5V(11.5 kΩ )
                          V190°C = 4.3478 V
Graph of sensor by compare resistance with temperature




                   ภาพที3.4 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความต้านทานกับอุณหภูมิ
                        ่

3.4 วงจรเช็คสถานะเสี ยง




                             ภาพที่ 3.5 แสดงวงจรการใช้การ IC 555
3.5 วงจรสวิตซ์ สัมผัส




                        ภาพที3.6 แสดงวงจรการใช้การ IC WB2080A
                             ่
3.6 ไมโครคอนโทรลเลอร์




                        ภาพที3.7 แสดงวงจรการใช้การ ATMEGA12
                             ่




.
บทที4
                                                    ่

                           โครงสร้ างของโปรแกรมควบคุมการทางาน
4.1 การทางานของโปรแกรม

    การทางานของโปรแกรมโดยรวมของหม้อหุ งข้าวจะเริ่ มต้นการเช็ตค่าต่างๆเป็ นการกาหนดให้แก่ผใช้ได้แก่
                                                                                         ู้

-    การตั้งค่าเวลา
-    การตั้งค่าและแสดงผลหน้าจอกราฟฟิ ค LCD
-    การกาหนดตัวแปรต่างๆเพื่อเลือกฟังก์ชนการทางานเริ่ มต้นของเครื่ อง
                                        ั่

การทาการโดยโปรแกรมส่ วนต่างๆสามารถเขียน Flow Chart ได้ดงนี้
                                                       ั
s
                                            START




   Cooker                                  Boiled                            Stream




Set time cook                              Boiled                        If temp > 100 c




    Cook                                If temp >100 c
                                                                                            False
                                                                                SW



  Cook =
                                                           False                     True
 on2heater                                   SW
                                                                           OFF heater all

If temp >130 c
                                                    True

                                        OFF heater all


                  False
     SW



           True

    Warm




                          ภาพที่ 4.1 Flow chart การทางานของโปรแกรมหลัก
Hour +1 -1
                                              START




   Fried                                      warm                       Set time




   Fried                                      warm
                                                                         Hour +1 -1

                                                                             -1

If temp >190 c                             If time >2min


                                                                         Set hour


                  False
     SW                                         SW


                                                                         Hour +1 -1
           True                                      True
                                                                             -1
OFF heater all                             OFF heater all


                                                                         Set min




                                                                         Hour +1 -1

                                                                             -1



                          ภาพที่ 4.2 Flow chart การทางานของโปรแกรมหลัก    Set sec

More Related Content

Similar to คอนไทย

โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์Aus2537
 
Saving energy2
Saving energy2Saving energy2
Saving energy2
klainil
 
Hydroelectric power
Hydroelectric powerHydroelectric power
Hydroelectric power
Taweesak Poochai
 
Electronic
ElectronicElectronic
Electronic
Palm Pinsuwan
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55krupornpana55
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เปี๊ยก เปี๊ยก
 
Random 110830074619-phpapp01
Random 110830074619-phpapp01Random 110830074619-phpapp01
Random 110830074619-phpapp01Arnan Khankham
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 

Similar to คอนไทย (20)

โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์
 
Thailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_tsThailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_ts
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
Saving energy2
Saving energy2Saving energy2
Saving energy2
 
Rain chain 609
Rain chain 609Rain chain 609
Rain chain 609
 
Hydroelectric power
Hydroelectric powerHydroelectric power
Hydroelectric power
 
Electronic
ElectronicElectronic
Electronic
 
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
แบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบปลายภาคชุด2 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 15 กย55
 
งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3
 
งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3
 
งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3
 
งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3
 
Random 110830074619-phpapp01
Random 110830074619-phpapp01Random 110830074619-phpapp01
Random 110830074619-phpapp01
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 

More from Tipakorn Sumeteenarumit

Inc281 54261512 4
Inc281 54261512 4Inc281 54261512 4
Inc281 54261512 4
Tipakorn Sumeteenarumit
 
Inc281-54261512_3
Inc281-54261512_3Inc281-54261512_3
Inc281-54261512_3
Tipakorn Sumeteenarumit
 
Inc281-54261512_2
Inc281-54261512_2Inc281-54261512_2
Inc281-54261512_2
Tipakorn Sumeteenarumit
 
Inc281-54261512_1
Inc281-54261512_1Inc281-54261512_1
Inc281-54261512_1
Tipakorn Sumeteenarumit
 
Oscilloscope
OscilloscopeOscilloscope

More from Tipakorn Sumeteenarumit (8)

Con thai
Con thaiCon thai
Con thai
 
Inc281 54261512 4
Inc281 54261512 4Inc281 54261512 4
Inc281 54261512 4
 
Inc281-54261512_3
Inc281-54261512_3Inc281-54261512_3
Inc281-54261512_3
 
Inc281-54261512_2
Inc281-54261512_2Inc281-54261512_2
Inc281-54261512_2
 
Inc281-54261512_1
Inc281-54261512_1Inc281-54261512_1
Inc281-54261512_1
 
Automation dishwasher1
Automation dishwasher1Automation dishwasher1
Automation dishwasher1
 
Automation dishwasher
Automation dishwasherAutomation dishwasher
Automation dishwasher
 
Oscilloscope
OscilloscopeOscilloscope
Oscilloscope
 

คอนไทย

  • 1. ConThai Rice Cooking Mr. Jaturapat Pakkanawanit Mr. Nattapon Kumpaing Mr. Prissada Chuachai Mr. Sapon Pitak Mr. Sutipong Kankua Mr. Narubas Younuch Mr. Kittipat Jaturapornpison Mr. Charintorn Jareonsri Mr. Tipakorn Sumeteenarumit Mr. Panuwat Sangketkit Mr. Wtsanu Thamneammai This project Submitted in Partial Fulfillment of the Application of industrial Electronic for Muti-Disciplinary Workshop Department of Control System and Instrumentation Engineering Faculty of Engineering King Mongkut’s University of Technology Thonburi Academic Year 2011
  • 2. ConThai Rice Cooking Mr. Jaturapat Pakkanawanit 53211804 Mr. Nattapon Kumpaing 53211811 Mr. Prissada Chuachai 53211819 Mr. Sapon Pitak 53211830 Mr. Sutipong Kankua 53211831 Mr. Narubas Younuch 53219012 Mr. Kittipat Jaturapornpison 54261503 Mr. Charintorn Jareonsri 54261504 Mr. Tipakorn Sumeteenarumit54261512 Mr. Panuwat Sangketkit 54261520 Mr. Wtsanu Thamneammai 54261522 This project Submitted in Partial Fulfillment of the Application of industrial Electronic for Muti-Disciplinary Workshop Department of Control System and Instrumentation Engineering Faculty of Engineering King Mongkut’s University of Technology Thonburi Academic Year 2011
  • 3. Chapter 1 Preface 1.1 Name of project: ConThai Rice Cooking 1.2 The origin of project: เนื่องจากปั จจุบนคนไทยได้รับประทานข้าวน้อยลงทุกปี ต่อไปการบริ โภคข้าวของคนไทยนั้นมี ั ่ แนวโน้มจะลดลงไปเรื่ อย อีกทั้งการบริ โภคข้าวของภูมิเอเชียอยูท่ี 200 กิโลกรัมต่อปี แต่ตวเลขการบริ โภคของ ั ่ คนไทยอยูที่ 100 -110 กิโลกรัมต่อปี เท่านั้น โลกเราได้กาวสู่ สงครามการบริ โภคอย่างเต็มรู ปแบบ มีความเร็ ว สะดวก ประหยัด ซึ่ งเป็ นสิ่ งจาเป็ นต่อ ้ การบริ โภคข้าว ข้าวเป็ นได้มีการปรับตัว สมรภูมิการตลาดมากมายหลายรู ปแบบ ท่ามกลางวิถีชีวตที่เร่ งรี บของ ิ คนในเมืองที่จะต้องมีการทางานแข่งขันกับเวลาอยูเ่ สมอ จึงมีความจาเป็ นที่จะต้องใช้ส่ิ งที่คอยอานวยความ ุ่ สะดวกสบาย เพื่อลดเวลาบางอย่างลงไป ซึ งการรับประทานข้าวในตอนเช้านั้นดูจะเป็ นเรื่ องที่ยงยากมาก เพราะว่ามันไม่เอื้อกับวิถีชีวตของคนเราที่มีการเปลี่ยนแปลงไป อีกทั้งเรายังได้รับวัฒนธรรมตะวันตกที่มี ผลต่อ ิ การบริ โภคของคนในเมือง ซึ่ งมีสิ่งที่เราเห็นได้ชดคือปริ มาณการบริ โภคข้าวของคนในเมืองจะมีการบริ โภคข้าว ั น้อยกว่าคนชนบท เพราะถูกจากัดในเรื่ องของเวลา ดังนั้นโครงงานนี้จึงได้ถูกจัดทาขึ้นเพื่อตอบสนองพฤติกรรมของมนุษย์ท่ีมีการเปลี่ยนแปลงไป ให้ ได้รับความสะดวก สบายมากขึ้น 1.3 Objective: 1.3.1เพื่อพัฒนาให้หม้อหุงข้าวสามารถทางานได้หลายรู ปแบบ ซึ่ งมี่ฟังชันพื้นฐานดังนี้ 1.3.1.1 ฟังชันการหุง 1.3.1.2 ฟังชันการอุ่น สามารถตั้งเวลาได้ 1.3.1.3 ฟังชันการต้ม สามารถตั้งเวลาได้ 1.3.1.4 ฟังชันการทอด สามารถตั้งเวลาได้ 1.4 Procedure: การดาเนินการจะเริ่ มตั้งแต่การค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับ หม้อหุ งข้าว ที่ใช้กนทัวๆไปหรื อว่าที่ไม่ใช้แล้วก็ตาม ั ่ จากนั้นก็ทาการออกแบบระบบการทางานของหม้อหุ งข้าวเพื่อให้เห็นโครงสร้างคร่ าวๆของเคื่องนี้รายละเอียด ขั้นตอนการทางานดังนี้ 1.4.1 ศึกษาทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับหม้อหุ งข้าว
  • 4. 1.4.2 ศึกษาฟังก์ชน ต่างๆ และการทางานของคอนโทรลเลอร์ ั่ 1.4.3 ออกแบบโครงสร้างและวงจรของหม้อหุงข้าว 1.4.4 หาซื้ ออุปกรณ์ของเครื่ อง 1.4.5 ศึกษาการเขียนโปรแกรมโดยใช้ AVR 1.4.6 เขียนโปรแกรมควบคู่ไปกับการประกอบวงจร 1.4.7 พัฒนาโปรแกรมและทดลองใช้เครื่ อง 1.4.8 ปรับปรุ ง, แก้ไขวงจร และโปรแกรมให้ดีข้ ึน 1.4.9 รวบรวม, สรุ ปปัญหาในการทางาน 1.4.10 สรุ ปผลการทดลอง 1.4.11 จัดทาหนังสื อโครงงาน 1.5 Period: Plan January February March April May 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1. ศึกษาเรื่องหม้ อหุงข้ าว 2. ศึกษาฮาร์ แวร์ 3. ศึกษาไมโครคอนโทรเลอร์ 4. ออกแบบวงจร 5. ซื้ออุปกรณ์ ฮาร์ แวร์ 6. ประกอบวงจร 7. ทดสอบวงจร 8. ปรับปรุ งแก้ ไข 9. ทารายงาน 1.6 Benefit 1.6.1 สามารถสร้างหม้อหุ งข้าวที่เหมาะสาหรับชีวตสมัยใหม่เพื่อนาไปใช้งานได้จริ ง ิ 1.6.2 ได้ความรู ้จากการทางานเป็ นกลุ่ม และได้ทดลองนาความรู ้ที่ได้ศึกษามานามาใช้ประโยชน์
  • 5. Chapter 2 Theory 2.1 Editorial 2.2 แหล่งจ่ ายไฟ 2.2.1 Block Diagram ภาพที่ 2.1 แสดงบล็อคไดอะแกรมของแหล่งจ่ายไฟ 2.2.2หม้ อแปลง(Transformer) หม้อแปลงทาหน้าที่แปลงไฟฟ้ ากระสลับจากแรงดันค่าหนึ่งเป็ นอีกค่าหนึ่งโดยให้ มีการ สู ญเสี ยกาลังงานน้อยที่สุด หม้อแปลงทางานเฉพาะกับไฟฟ้ า กระแสสลับเท่านั้น และนันก็เป็ นเหตุผลหนึ่ง ่ ่ ที่วาทาไมไฟฟ้ าบ้านจึงเป็ นไฟกระแสสลับ หม้อแปลงแปลงขึ้น(step-up) เพิ่มแรงดัน ส่ วนหม้อแปลง แปลงลง(step-down) ลด แรงดัน แหล่งจ่ายไฟส่ วนใหญ่ใช้หม้อแปลงลดแรงดัน เพื่อลดแรงดัน ไฟบ้านที่มีแรงดันสู ง (220V)ซึ่ งเป็ น อันตรายให้ต่าลงเพื่อความปลอดภัย ขดลวดทางเข้าเรี ยก ว่าปฐมภูมิ(primary) และขดลวดทางออกเรี ยกว่าทุติยภูมิ(secondary) ระหว่างขดทั้งสองไม่มีการต่อกันทางไฟฟ้ า แต่ใช้การเชื่อมกัน โดยสนามแม่เหล็กไฟฟ้ ากระแสสลับที่เกิดขึ้น ในแกนเหล็กของหม้อแปลง ขีดสองเส้นระหว่างขดลวดในรู ปสัญลักษณ์แทนแกนเหล็ก อัตราส่ วนจานวนรอบของแต่ละขดลวดเรี ยกว่า อัตราส่ วนรอบ(turns ratio) เป็ นตัวกาหนด อัตราส่ วนแรงดัน หม้อแปลงลดแรงดัน(step-down) มีขดลวด จานวนรอบมากคือขดปฐมภูมิต่อกับแรงดันไฟ บ้านเป็ นอินพุท และทางด้านเอาท์พุทเป็ นขดทุติยภูมิมีจานวนรอบน้อยให้แรงดันออกต่า
  • 6. 𝑉𝑃 𝑁𝑃 อัตราส่ วนรอบ = = 𝑉𝑆 𝑁𝑆 Vp = แรงดันปฐมภูมิ(อินพุท) Vs = แรงดันทุติยภูมิ (เอาท์พุท) Np = จานวนรอบของขดลวดปฐมภูมิ Ns = จานวนรอบของขดลวดทุติยภูมิ 2.2.3วงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ (Bridge rectifier) การเรี ยงกระแสแบบบริ ดจ์สามารถใช้ไดโอดเดี่ยวสี่ ตวมาต่อกันหรื อสามารถใช้ได โอดบริ ดจ์ ั แบบแพคเกจสาเร็ จรู ปก็ได้ เรี ยกว่าการเรี ยงกระแสแบบเต็มคลื่นเพราะใช้คลื่นไฟฟ้ ากระแสสลับทั้งหมด (ทั้ ง ด้านบวกและด้านลบ) ตัวเรี ยงกระแสแบบบริ ดจ์จะเกิดแรงดันตกคร่ อม1.4Vเพราะไดโอดแต่ละตัวจะตกคร่ อม เท่ากับ 0.7Vขณะนากระแส และบริ ดจ์มีการนากระแสสองตัวพร้อมกัน ภาพที่ 2.2 แสดงวงจรเรี ยงกระแสแบบบริ ดจ์ ภาพที่ 2.3 แสดงวงจรเรี ยงกระแสแบบเต็มคลื่น 2.2.4วงจรกรอง(Smoothing) การกรองเกิดขึ้นโดยการต่อ อิเล็กโตรไลติก คาปาซิเตอร์ ค่าสู งคร่ อมไฟกระแสตรง ทาหน้าที่ เหมือนบ่อเก็บน้ า, ป้ อนกระแสให้เอาท์พุทเมื่อแรงดันกระแสสลับจากวงจรกรองกระแสตกลง จากภาพแสดงให้ เห็นไฟกระแสตรงที่ยงไม่กรองและไฟกระแสตรงที่กรองแล้วคาปาซิ เตอร์ ประจุเร็ วที่ใกล้ยอดของไฟกระแสตรง ั และคลายประจุป้อนกระแสให้เอาท์พุท
  • 7. ภาพที่ 2.4 แสดงการcharge และการ discharge ของตัวเก็บประจุ ทาให้แรงดันกระแสตรงเพิ่มขึ้นถึงค่ายอด(1.4 × RMS ) ตัวอย่างเช่นไฟกระแสสลับ 6V RMS เมื่อถูก เรี ยงกระแสแบบเต็มคลื่นจะได้ไฟกระแสตรงประมาณ 4.6V RMS (สู ญเสี ยที่ไดโอดบริ ดจ์เรี ยงกระแส1.4V), เมื่อผ่านวงจรกรองจะเพิ่มเป็ นค่ายอดเท่ากับ 1.4 × 4.6 = 6.4V (DC) การกรองไม่เรี ยบสมบูรณ์เพราะแรงดันของตัวเก็บ ประจุตกเล็กน้อยตอนคลายประจุ จึงเกิดแรงดัน ripple เล็กน้อย สาหรับวงจรโดยส่ วนมากแหล่งจ่ายไฟที่มีแรงดัน ripple 10% ก็ใช้ได้แล้ว ค่าของตัวเก็บประจุ สาหรับการกรองหาได้จากสมการข้างล่าง หากตัวเก็บประจุใหญ่ ripple ก็จะน้อย สาหรับไฟกระแสตรงแบบ ครึ่ งคลื่นตัวกรองต้องใช้ตวเก็บประจุค่าสู งเป็ นสองเท่า ั (5)( I o ) ตัวเก็บประจุสาหรับกรองพลิ้ว 10%, C = (V s )(f) Io = กระแสออกจากแหล่งจ่ายไฟ Vs = แรงดันแหล่งจ่าย (ค่ายอดของไฟDCที่ยงไม่กรอง) ั f = ความถี่ของไฟ AC แหล่งจ่าย (50Hz) 2.2.5วงจรคุมค่ า(Regulator) ไอซี คุมค่าแรงดันมีชนิดค่าแรงดันคงที่ (เป็ นต้นว่า 5, 12 และ 15V) หรื อ แรงดันเอาท์พุทปรับ ั ได้ มันถูกเรี ยกตามกระแสสู งสุ ดที่สามารถผ่านได้ ไอซี คุมค่าแรงดันลบก็มี เหมาะสาหรับใช้กบแหล่งจ่ายไฟ แบบคู่ ไอซี คุมค่าส่ วนใหญ่จะมีวงจรการป้ องกันอัตโนมัติจาก กระแสเกิน (overload protection) และ ความร้อน เกิน (thermal protection) ไอซี คุมค่าแบบคงที่ส่วนมากมี 3 ขา และมองดูเหมือนเพาเวอร์ทรานซิสเตอร์ , เช่นไอซี คุมค่า เบอร์ 7805 +5V 1A แสดงทางขวามือ ด้านบนมีรูสาหรับยึดติด แผ่น ระบายความร้อน
  • 8. ภาพที่ 2.5 แสดง IC คุมค่าแรงดัน 2.3 ไตรแอค(TRIAC) ไตรแอค เป็ นอุปกรณ์จาพวกสารกึ่งตัวนาในกลุ่มไทริ สเตอร์ มีลกษณะโครงสรร้างภายในคล้ายกับได ั แอค แต่มีขาเกตเพิมขึ้นมาอีก 1 ขา ไตรแอคถูกสร้างขึ้นเพื่อแก้ไขข้อบกพร่ องของ SCR ซึ่ งไม่สามารถนากระแส ่ ในซี กลบของไฟฟ้ ากระแสสลับได้ การนาไตรแอคไปใช้งานส่ วนใหญ่จะใช้ทาเป็ นวงจรควบคุมก ารทางานเป็ น ่ สวิตซ์ตอแรงดันไฟสลับ ไตรแอคถูกสร้างขึ้นมาให้ใช้งานกระแสสู งๆ ดังนั้นจะต้องระวังเรื่ องของการระบาย ความร้อน โครงสร้างของไตรแอคจะประกอบด้วยสารกึ่งตัวนา 3ส่ วน คือ P-N-P ซึ่ งมีท้ งหมด 3ขาได้แก่ ขา ั MT1, ขา MT2 และขา G ภาพที่ 2.6 แสดงโครงสร้างของ TRIAC ภาพที่ 2.7 แสดงสัญลักษณ์ของ TRIAC 2.3.1 สภาวะทีไตรแอคทางาน ่ ั 2.3.1.1 จ่ายแรงดันบวกให้กบขา MT2 จ่ายแรงดันลบให้ MT1 และจ่ายแรงดันบวกไปกระตุนที่ ้ ขา G ั 2.3.1.2 จ่ายแรงดันบวกให้กบขา MT2 จ่ายแรงดันลบให้ MT1 และจ่ายแรงดันลบไปกระตุนที่ ้ ขา G ั 2.3.1.3 จ่ายแรงดันลบให้กบขา MT2 จ่ายแรงดันบวกให้ MT1 และจ่ายแรงดันลบไปกระตุนที่ ้ ขา G
  • 9. 2.3.1.4 จ่ายแรงดันลบให้กบขา MT2 จ่ายแรงดันบวกให้ MT1 และจ่ายแรงดันบวกไปกระตุนที่ ้ ขา G 2.3.2 สภาวะทีไตรแอคหยุดการทางาน ่ ่ ไตรแอคเมื่อนากระแสแล้วไม่จาเป็ นต้องคงค้างแรงดันที่จายกระตุนขา G เพราะไตรแอค จะ ้ นากระแสต่อเนื่องได้เหมือนกับ SCR การที่จาทาให้ไตรแอคหยุดนากระแสสามารถทาได้ 2วิธี คือ ั 2.3.2.1 ตัดแหล่งจ่ายแรงดันที่ป้อนให้กบขา MT2 และขา MT1 ของไตรแอคออกชัวขณะ ่ 2.3.2.2 ลดแรงดันไบอัสตรงที่จ่ายให้ขา MT2 และขา MT1 ลงจนทาให้มีกระแสไหลผ่านตัว ไตรแอคต่ากว่ากระแสโฮลดิ้งของไตรแอค 2.4 เซนเซอร์ (Sensor) 2.4.1 เทอร์ โมสตัท ในหม้อหุงข้าวแบบดิจิตอลจะแตกต่างไปจากหม้อหุ งข้าวแบบทัวไป ซึ่งหม้อหุงข้าว ่ แบบทัวไปจะประกอบไปด้วย คานบังคับ หน้าสัมผัส สวิตซ์ และชุดแม่เหล็ก ซึ่งจะทางานโดยอาศัยการเสื่ อม ่ อานาจของแม่เหล็กเมื่อเกิดความร้อนสู งขึ้น แต่เทอร์ โมสตัสในหม้อหุ งข้าวดิจิตอลจะทาหน้าที่เป็ นตัววัดค่าของ อุณหภูมิ แล้วนาค่าอุณหภูมิที่ได้ ส่ งไปยังไมโ ครฯ เพื่อประมวณผลแล้วนาค่าที่ได้ไปควบคุมการขด ลวดความร้อน 2.4.2 วงจรแบ่ งแรงดัน คือ วงจรที่ประกอบด้วยความต้านทาน 2 ตัว ขึ้นไปต่ออนุกรมอยูระหว่าง ่ แหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้ า ซึ่ งค่าความต้านทานในวงจร จะทาหน้าที่แบ่งแรงดันไฟฟ้ าในวงจร โดยทัว ๆ ไปแล้ว ่ วงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้ าพัฒนามาจากกฎของโอห์ม เพียงแต่การคิดแรงดันไฟฟ้ าตกคร่ อมตัวต้านทานแต่ละตัวใช้ วิธีของวงจรแบ่งแรงดันไฟฟ้ า จะรวดเร็ วและ สะดวกกว่ากฎของโอห์ม ภาพที่ 2.8 แสดงวงจรแบ่งแรงดัน 2.5 ไมโครคอนโทรเลอร์ 2.5.1 จอแสดงผลกราฟิ ก ET-NOKIA LCD 5110 2.7.1.1 หน้าจอแสดงผลความละเอียด 48 x 84 Dot 2.7.1.2 ติดต่อสื่ อสารแบบระบบบัสอนุกรม (Serial Bus Interface) ความเร็ วสู งสุ ด 4.0 Mbits/S
  • 10. 2.5.1.3 มีคอนโทรลเลอร์เบอร์ PCD8544 ภายในควบคุมการทางาน 2.5.1.4 มีหลอดไฟ Back-Light 2.5.1.5 ทางานที่แรงดัน 2.7 - 5.0 โวลท์ 2.5.1.6 กินกาลังงานต่า เหมาะกับฟังก์ชนการใช้งานกับพวกแบตเตอรี่ ั 2.5.1.7 ช่วงอุณหภูมิการทางาน -25 ถึง +70 องศาเซลเซียส ภาพที่ 2.9 แสดงจอแสดงผลกราฟิ ก ET-NOKIA LCD 5110 2.5.2 ATmega 128 2.5.2.1 ประสิ ทธิภาพสู ง และมีกาลังที่ต่า 2.5.2.2 มีความปลอดภัยสู ง 2.5.2.3 สามารถอ่านโปรแกรมแฟลช 2.5.2.4 เก็บข้อมูลได้ถึง 20 ปี ที่อุณหภูมิ 85 องศาเซลเซียส 2.5.2.5 อินเตอร์เฟซสาหรับเขียนโปรแกรม SPI ภาพที่ 2.10 แสดง ATmega 128
  • 11. บทที3 ่ วงจรและการออกแบบ ในบทนี้จะกล่าวถึงวงจรในส่ วนต่างๆของเครื่ อง และอธิ บายการทางานของวงจรต่างๆที่ใช้ในโครงงานนี้ 3.1 วงจร แหล่งจ่ ายไฟ ภาพที3.1 แสดงวงจร Power supply ่ ในส่ วนนี้เราจะใช้ Lm7809 ในการแปลงไฟจากหม้อแปลง 12 VAC เป็ น 9 VDC กระแส 1A ใน U1 จะมีไดโอด ป้ องกันไฟให้ไหลทางเดียว ในU2 จะใช้ lm7805 เพื่อแปลงไฟจาก 9VDC กระแส 1A ให้เป็ น 5VDC กระแส 1A ั เพื่อนาไปเป็ นไฟเลี้ยงให้กบไมโครคอนโทรลเลอร์ และ U3 จะใช้ lm7805 แปลงไฟเป็ น 5VDC กระแส 1A เพื่อ นาไปเป็ นไฟเลี้ยงให้เซ็นเซอร์ 3.2 วงจรไตแอก (Triac)
  • 12. ภาพที3.2 แสดงวงจรการใช้การ Triac ่ Calculate R1, when VT = 5 V, I1 = 60 mA From VT = I1R1 5 V = (60 mA) R1 R1 = 83.33 Ω Calculate R2, when E = 220 V, I2 = 5 mA From E = I2R2 220 V = (5 mA) R2 R2 = 44 kΩ 3.3 วงจรเซ็นเซอร์
  • 13. +5 V R1 V1 1 kΩ RT R2 V2 100 kΩ R3 V3 Output 10 kΩ ภาพที3.3 แสดงวงจรแบ่งแรงดัน ่ Calculate IT, V70°C, V100°C, V120°C, V190°C . When R1 = 1 kΩ, R2 = 100 kΩ, R3 = 10 kΩ Calculate RTmax, when R2 = 100 kΩ RTmax = R1 + R2 + R3 = 1 kΩ + 100 kΩ +10 kΩ RTmax = 111 kΩ Calculate RTmin, when R2 = 0 kΩ RTmin= R1 + R2 + R3 = 1 kΩ + 0 kΩ +10 kΩ RTmin = 11 kΩ Calculate V3max, when RT = 11 kΩ, R3 = 10 kΩ V3max = VT (R T ) R3 10 kΩ = 5V(11 kΩ ) V3max = 4.5454 V Calculate V3min, when RT = 111 kΩ, R3 = 10 kΩ
  • 14. V3min = VT (R T ) R3 10 kΩ = 5V(111 kΩ ) V3min = 0.4504 V Calculate IT, when E = 5V, RT = 11 kΩ V IT = (R T ) T 5V = (11 kΩ ) IT = 0.45 mA Calculate V70°C, when R1 = 1 kΩ, R2 = 15.31 kΩ, R3 = 10 kΩ, RT = 26.31 kΩ R V70°C = VT (R 3 ) T 10 kΩ = 5V(26.31 kΩ) V70°C = 1.9004 V Calculate V100°C, when R1 = 1 kΩ, R2 = 5.24 kΩ, R3 = 10 kΩ, RT = 16.24 kΩ R V100°C = VT (R 3 ) T 10 kΩ = 5V(16.24 kΩ ) V100°C = 3.0788 V Calculate V120°C, when R1 = 1 kΩ, R2 = 3.19 kΩ, R3 = 10 kΩ, RT = 14.19 kΩ R V120°C = VT (R 3 ) T 10 kΩ = 5V(14.19 kΩ ) V120°C = 3.5236 V Calculate V190°C, when R1 = 1 kΩ, R2 = 500 Ω, R3 = 10 kΩ, RT = 11.5 kΩ R V190°C = VT (R 3 ) T 10 kΩ = 5V(11.5 kΩ ) V190°C = 4.3478 V
  • 15. Graph of sensor by compare resistance with temperature ภาพที3.4 แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความต้านทานกับอุณหภูมิ ่ 3.4 วงจรเช็คสถานะเสี ยง ภาพที่ 3.5 แสดงวงจรการใช้การ IC 555
  • 16. 3.5 วงจรสวิตซ์ สัมผัส ภาพที3.6 แสดงวงจรการใช้การ IC WB2080A ่
  • 17. 3.6 ไมโครคอนโทรลเลอร์ ภาพที3.7 แสดงวงจรการใช้การ ATMEGA12 ่ .
  • 18. บทที4 ่ โครงสร้ างของโปรแกรมควบคุมการทางาน 4.1 การทางานของโปรแกรม การทางานของโปรแกรมโดยรวมของหม้อหุ งข้าวจะเริ่ มต้นการเช็ตค่าต่างๆเป็ นการกาหนดให้แก่ผใช้ได้แก่ ู้ - การตั้งค่าเวลา - การตั้งค่าและแสดงผลหน้าจอกราฟฟิ ค LCD - การกาหนดตัวแปรต่างๆเพื่อเลือกฟังก์ชนการทางานเริ่ มต้นของเครื่ อง ั่ การทาการโดยโปรแกรมส่ วนต่างๆสามารถเขียน Flow Chart ได้ดงนี้ ั
  • 19. s START Cooker Boiled Stream Set time cook Boiled If temp > 100 c Cook If temp >100 c False SW Cook = False True on2heater SW OFF heater all If temp >130 c True OFF heater all False SW True Warm ภาพที่ 4.1 Flow chart การทางานของโปรแกรมหลัก
  • 20. Hour +1 -1 START Fried warm Set time Fried warm Hour +1 -1 -1 If temp >190 c If time >2min Set hour False SW SW Hour +1 -1 True True -1 OFF heater all OFF heater all Set min Hour +1 -1 -1 ภาพที่ 4.2 Flow chart การทางานของโปรแกรมหลัก Set sec