SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
Download to read offline
การประมาณปริมาณนาฝนจากข้ อมูลดาวเทียม FY-2C/2E
                    ้
       เพื่อใช้ ในภารกิจด้ านเฝ้ าระวังภัยดินถล่ม

                      นายอิทธิ สงวนดี นักวิจัย
   ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้ า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                         วันที่ 16 ธันวาคม 2553
หัวข้ อในการนาเสนอ
 ที่มาและความสาคัญ
 ข้ อมูลที่ใช้ ในการวิเคราะห์
  ◦ ข้ อมูลจากดาวเทียม FY-2C/2E
  ◦ ข้ อมูลจากสถานีตรวจวัดอากาศ
 การศึกษาเพื่อหาความสัมพันธ์
  ◦ ความสัมพันธ์ของข้ อมูล
  ◦ การคัดกรองข้ อมูลเมฆฝน
 สรุป
หัวข้ อในการนาเสนอ
 ทีมาและความสาคัญ
    ่
 ข้ อมูลที่ใช้ ในการวิเคราะห์
  ◦ ข้ อมูลจากดาวเทียม FY-2C/2E
  ◦ ข้ อมูลจากสถานีตรวจวัดอากาศ
 การศึกษาเพื่อหาความสัมพันธ์
  ◦ ความสัมพันธ์ของข้ อมูล
  ◦ การคัดกรองข้ อมูลเมฆฝน
 สรุป
ที่มาและความสาคัญ
 ข้ อมูลปริมาณนาฝนถือได้ ว่าเป็ นข้ อมูลที่สาคัญมาก เนื่องจากถูก
                   ้
  นาไปประยุกต์ใช้ ต่อในงานวิจัยหลายด้ าน
 ในประเทศไทยก็มีการนาข้ อมูลปริมาณนาฝนไปประยุกต์ใช้ ใน
                                             ้
  หลายๆ ด้ าน เช่น การบริหารจัดการแหล่งนา การเกษตร การ
                                               ้
  เตือนอุทกภัย-ภัยแล้ ง หรือการเตือนภัยดินถล่ม ฯ
 การประมาณปริมาณนาฝนที่มความถูกต้ องแม่นยา และสามารถ
                        ้      ี
  ตอบสนองต่อความต้ องการได้ อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะการนาไป
  ประยุกต์ใช้ ในด้ านการเตือนภัยจึงความสาคัญเป็ นอย่างยิ่ง
หัวข้ อในการนาเสนอ
 ที่มาและความสาคัญ
 ข้อมู ลทีใช้ในการวิเคราะห์
           ่
  ◦ ข้อมูลจากดาวเทียม FY-2C/2E
  ◦ ข้ อมูลจากสถานีตรวจวัดอากาศ
 การศึกษาเพื่อหาความสัมพันธ์
  ◦ ความสัมพันธ์ของข้ อมูล
  ◦ การคัดกรองข้ อมูลเมฆฝน
 สรุป
ข้ อมูลที่ใช้ ในการวิเคราะห์
 ข้อมู ลภาพถ่ายดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
   ◦ FY-2C (ทุกๆ ครึงชัวโมง/หนึงชัวโมง)
                     ่ ่        ่ ่
   ◦ FY-2E (ทุกๆ ครึงชัวโมง/หนึงชัวโมง)
                    ่ ่        ่ ่
 ข้อมู ลปริมาณน้ าฝน
   ◦ กรมอุตุนิยมวิทยา
     (ช่วงเวลา: พ.ค.-มิ.ย. 2551, เม.ย.-ก.ค. 2552)
   ◦ กรมทรัพยากรนา   ้
      (ช่วงเวลา: เม.ย.-ก.ค. 2551, เม.ย.-ก.ค. 2552)
โครงสร้ างข้ อมูลของดาวเทียมที่รับได้
 โครงสร้ างของข้ อมูลที่รับได้ ถูกกาหนดตาม Stretched Visible
  and Infrared Spin Scan Radiometer (S-VISSR)
 S-VISSR เป็ นรูปแบบการส่งข้ อมูลของดาวเทียมกลุ่ม FY-2
  (2C/2D/2E) ที่ส่งลงมายังภาคพื้นดิน
 แบ่งออกเป็ น 5 ช่องสัญญาณ (IR1-4, VIS)
 Spatial Resolution
    ◦ 5.0 km สาหรับช่องสัญญาณ Infrared
    ◦ 1.25 km สาหรับช่องสัญญาณ Visible
พื้นที่ครอบคลุมและระบบการแปลงพิกด
                                       ั
                    2291


                                          ช่วงละติจูด
                                           ◦ 60 องศาเหนือ ถึง
                                             60 องศาใต้
                                          ช่วงลองจิจูด
2292




                                           ◦ 45 องศาตะวันออก ถึง
                           Line : 325        165 องศาตะวันออก
        Lat : 45N          Pixel : 570
       Long : 60E
                                          แต่ละพิกดห่างกัน 5 องศา
                                                   ั
ช่องสัญญาณของดาวเทียม FY-2C/2E
Channel                          Wave Length Spatial Resolution
             Channel Name
  ID                               (µm)            (km)
 IR1      Long Wave Infrared     10.3 – 11.3          5

 IR2      Split Window           11.5 – 12.5          5

 IR3      Water Vapor             6.5 – 7.0           5

  IR4     Medium Wave Infrared    3.5 – 4.0           5

  VIS     Visible                0.55 – 0.90         1.25
โครงสร้ างของข้ อมูล S-VISSR


   โครงสร้ างของข้ อมูล S-VISSR สามารถแบ่งออกได้ เป็ น 2 ส่วน คือ
    ◦ ส่วนของข้อมูลรายละเอียด (Document) ประกอบไปด้ วย เวลาของข้ อมูล ค่าคงที่
      ต่างๆ ของดาวเทียม ตารางการแปลงค่าอุณหภูมิ เป็ นต้ น
    ◦ ส่วนของข้อมูลภาพถ่าย ข้ อมูลภาพถ่ายดาวเทียมจากช่องสัญญาณ Infrared ต่างๆ
      (IR1-4) และช่องสัญญาณ Visible (VIS)
   จากการศึกษาพบว่าข้ อมูลรายละเอียดของข้ อมูลแต่ละชุดนั้นจะถูกกาหนดขึ้นใหม่
    ทุกครั้ง ตามสถานะของดาวเทียม และช่วงเวลาที่ทาการถ่ายภาพ ดังนั้นการนา
    ข้ อมูลจากดาวเทียม FY-2E มาวิเคราะห์ร่วมกับข้ อมูลจากดาวเทียม FY-2C จึง
    สามารถทาได้
Brightness and Brightness Temperature
หัวข้ อในการนาเสนอ
 ที่มาและความสาคัญ
 ข้อมู ลทีใช้ในการวิเคราะห์
           ่
  ◦ ข้ อมูลจากดาวเทียม FY-2C/2E
  ◦ ข้อมูลจากสถานีตรวจวัดอากาศ
 การศึกษาเพื่อหาความสัมพันธ์
  ◦ ความสัมพันธ์ของข้ อมูล
  ◦ การคัดกรองข้ อมูลเมฆฝน
 สรุป
พื้นที่ศึกษาวิจัย 1
 จังหวัดอุตรดิตถ์และจังหวัดข้ างเคียง (129 สถานี)


                                              สถานีของกรม
                                              อุตุนิยมวิทยา


                                              สถานีของกรม
                                              ทรัพยากรนา
                                                       ้
พื้นที่ศึกษาวิจัย 2
 จังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดข้ างเคียง (147 สถานี)


                                              สถานีของกรม
                                              อุตุนิยมวิทยา


                                              สถานีของกรม
                                              ทรัพยากรนา
                                                       ้
หัวข้ อในการนาเสนอ
 ที่มาและความสาคัญ
 ข้ อมูลที่ใช้ ในการวิเคราะห์
  ◦ ข้ อมูลจากดาวเทียม FY-2C/2E
  ◦ ข้ อมูลจากสถานีตรวจวัดอากาศ
 การศึกษาเพือหาความสัมพันธ์
             ่
  ◦ ความสัมพันธ์ของข้อมูล
  ◦ การคัดกรองข้ อมูลเมฆฝน
 สรุป
ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิยอดเมฆกับปริมาณนาฝน
                                           ้
   บทความ “The Rainfall Estimation Using Remote Sensing in
    Thailand” โดย ผศ.ดร.ปรียาพร โกษา และ รศ.ดร.กอบเกียรติ
    ผ่องพุฒิ ได้ นาเสนอความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิยอดเมฆกับ
    ปริมาณนาฝนไว้ ดังนี้
             ้
                          P=     aTb

    ◦ P คือปริมาณนาฝนที่วัดได้ จากมาตรวัดฝน
                     ้
    ◦ T คืออุณหภูมิยอดเมฆที่ได้ จากข้ อมูลดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
    ◦ a และ b เป็ นค่าสัมประสิทธิ์ท่หาได้ จากการพล็อตกราฟความสัมพันธ์
                                    ี
      ระหว่างค่า P และ T
ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิยอดเมฆกับปริมาณนาฝน (ต่อ)
                                           ้
   ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิยอดเมฆกับปริมาณนาฝนใน
                                               ้
    รูปแบบอื่นๆ

                  P=     xT2    + yT + z
    ◦ P คือปริมาณนาฝนที่วัดได้ จากมาตรวัดฝน
                     ้
    ◦ T คืออุณหภูมิยอดเมฆที่ได้ จากข้ อมูลดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา
    ◦ x y และ z เป็ นค่าสัมประสิทธิ์ท่หาได้ จากการพล็อตกราฟ
                                      ี
      ความสัมพันธ์ระหว่างค่า P และ T
ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิยอดเมฆแต่ละค่ากับปริมาณนาฝน
                                                   ้
การศึกษาความสัมพันธ์ของข้ อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ยตัวอย่าง
 แบ่งค่าอุณหภูมิยอดเมฆ (IR1) ออกเป็ นช่วงช่วงละ 1K, 2K,
  5K โดยเริ่มที่อณหภูมิต่าสุด (179K) ไปจนถึงอุณหภูมิสงสุด
                     ุ                               ู
  (304K)
 แบ่งกลุ่มตัวอย่างข้ อมูลปริมาณนาฝนออกตามช่วงของค่า IR1
                                  ้
 หาค่าเฉลี่ยตัวอย่าง (Sample Mean) ของปริมาณนาฝนในแต่ละ
                                                 ้
  ช่วง เพื่อใช้ เป็ นตัวแทนปริมาณนาฝนในช่วงนั้นๆ
                                    ้
ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมยอดเมฆกับปริมาณนาฝนที่ได้
                             ิ                  ้
จากการแบ่งกลุ่มข้ อมูลช่วงละ 1K (จังหวัดอุตรดิตถ์)
ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมยอดเมฆกับปริมาณนาฝนที่ได้
                             ิ                  ้
จากการแบ่งกลุ่มข้ อมูลช่วงละ 2K (จังหวัดอุตรดิตถ์)
ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมยอดเมฆกับปริมาณนาฝนที่ได้
                             ิ                  ้
จากการแบ่งกลุ่มข้ อมูลช่วงละ 5K (จังหวัดอุตรดิตถ์)
ความคลาดเคลื่อนของการประมาณปริมาณนาฝน
                                  ้
 จากการศึกษาพบว่าปริมาณนาฝนที่เกิดขึ้น บ่อยครั้งไม่ได้ เกิด
                             ้
  จากเมฆ Cumulonimbus (Cb) เพียงอย่างเดียว
 เมฆ Nimbostratus (Ns) ซึ่งเป็ นเมฆที่อยู่ระดับต่า มีอณหภูมิ
                                                       ุ
  ยอดเมฆค่อนข้ างสูง (มากกว่า 253K) หรือที่เรียกกันว่า
  “เมฆอุ่น” (Warm Cloud) ก็สามารถให้ ปริมาณนาฝนได้ ้
หัวข้ อในการนาเสนอ
 ที่มาและความสาคัญ
 ข้ อมูลที่ใช้ ในการวิเคราะห์
  ◦ ข้ อมูลจากดาวเทียม FY-2C/2E
  ◦ ข้ อมูลจากสถานีตรวจวัดอากาศ
 การศึกษาเพือหาความสัมพันธ์
             ่
  ◦ ความสัมพันธ์ของข้ อมูล
  ◦ การคัดกรองข้อมูลเมฆฝน
 สรุป
การแบ่งประเภทของเมฆตามความสูง
การศึกษาการตรวจจับกลุ่มเมฆ
   จากการศึกษาบทความในต่างประเทศ “Daily Mapping of
    24-Hr Rainfall at Pixel Scale Over South Africa Using
    Satellite, Radar and Rainguage Data” พบว่า
    ◦ ค่าเกณฑ์จากช่องสัญญาณ IR1 ที่ใช้ สาหรับตรวจจับกลุ่มเมฆที่จะเป็ น
      เมฆฝนอยู่ท่ประมาณ -20oC หรือ 253K
                 ี
    ◦ ความสัมพันธ์ของข้ อมูลที่ได้ จากการคัดกรองมีข้อจากัด
       ปริมาณน้ าฝนที่ได้จากการประมาณมีค่าเกินจริง
       ไม่สามารถนาไปใช้คดกรองข้อมูลบริเวณชายฝังหรือหน้าเขาได้
                            ั                     ่
การศึกษาการคัดกรองข้ อมูลเมฆฝน
   จากการศึกษาบทความอื่นๆ ในต่างประเทศ พบว่าความ
    แตกต่างของอุณหภูมิระหว่างช่องสัญญาณ IR1 และ IR3
    (Brightness Temperature Difference: BTD)
    ◦ สามารถใช้ กรองเมฆ Cirrus (Ci) ซึ่งเป็ นเมฆที่อยู่ระดับสูงทาให้ มี
      อุณหภูมิยอดเมฆใกล้ เคียงกับเมฆ Cumulonimbus (Cb) ออกจากกันได้
    ◦ ค่าเกณฑ์ของค่า BTD ที่ใช้ สาหรับคัดกรองเมฆ Cb ออกจากเมฆ Ci
      จะอยู่ท่ประมาณ 0K
              ี
การศึกษาการคัดกรองข้ อมูลเมฆฝน (ต่อ)
   การคัดกรองข้ อมูลเมฆฝนด้ วยวิธี Brightness Temperature
    Different (BTD) ในรูปแบบอื่นๆ
    ◦ ค่าผลต่างของอุณหภูมิระหว่างช่อง Long Wave Infrared (IR1) กับ
      Split Window (IR2)
    ◦ ค่าผลต่างของอุณหภูมิระหว่างช่อง Long Wave Infrared (IR1) กับ
      Medium Wave Infrared (IR4)
ตัวอย่างข้ อมูลจากช่องสัญญาณที่ใช้ ในการวิเคราะห์
      IR1                 IR2                WV
โครงสร้ างของระบบ
ซอฟต์แวร์วิเคราะห์ปริมาณนาฝน KU-Met
                         ้
การเปรียบเทียบผลลัพธ์ท่ได้ จากการคัดกรองเมฆฝน
                       ี
     IR1               VIS              Filter
ตารางเปรียบเทียบวิธการคัดกรองข้ อมูลเมฆฝน
                   ี
วิธีการคัดกรองข้อมูลเมฆฝน     ร้อยละของเหตุการณ์ที่เกิดฝนตก

  IR1        BTD(IR1-IR3) จังหวัดอุตรดิตถ์ จังหวัดเชียงใหม่

< 253K              -           25.04%           25.43%
> 253K              -           11.52%           10.79%
< 253K            < 0K          34.83%          34.55%

< 253K            > 0K          20.15%           21.12%
ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมยอดเมฆกับปริมาณนาฝนที่ผ่าน
                           ิ              ้
การคัดกรองข้ อมูลเมฆฝน (จังหวัดอุตรดิตถ์)
ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมยอดเมฆกับปริมาณนาฝนที่ผ่าน
                           ิ              ้
การคัดกรองข้ อมูลเมฆฝน (จังหวัดเชียงใหม่)
ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมยอดเมฆกับปริมาณนาฝนที่ผ่าน
                           ิ              ้
การคัดกรองข้ อมูลเมฆฝน (ทั้งสองจังหวัด)
หัวข้ อในการนาเสนอ
 ที่มาและความสาคัญ
 ข้ อมูลที่ใช้ ในการวิเคราะห์
  ◦ ข้ อมูลจากดาวเทียม FY-2C/2E
  ◦ ข้ อมูลจากสถานีตรวจวัดอากาศ
 การศึกษาเพื่อหาความสัมพันธ์
  ◦ ความสัมพันธ์ของข้ อมูล
  ◦ การคัดกรองข้ อมูลเมฆฝน
 สรุป
สรุป
 ข้ อมูลปริมาณนาฝนถือได้ ว่าเป็ นข้ อมูลที่สาคัญที่ถูกนาไป
                 ้
  ประยุกต์ใช้ ในงานวิจัยหลายด้ านทั้งในประเทศไทยและ
  ต่างประเทศ
 การประมาณปริมาณนาฝนที่มความถูกต้ องแม่นยา และสามารถ
                        ้       ี
  ตอบสนองต่อความต้ องการได้ อย่างรวดเร็วจึงมีความสาคัญเป็ น
  อย่างยิ่ง
 ในการวิเคราะห์ข้อมูลจึงจาเป็ นที่จะต้ องมีการพัฒนาเครื่องมือที่
  ช่วยลดความยุ่งยากและความซับซ้ อนในการวิเคราะห์หา
  ความสัมพันธ์ของข้ อมูล และมีการแสดงผลลัพธ์ท่ชัดเจนเพื่อ
                                                      ี
  ช่วยในการตัดสินใจ
คาถาม/ข้อเสนอแนะ
   ขอบคุณครับ

More Related Content

Viewers also liked

ใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1page
ใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1pageใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1page
ใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pageใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศPatzuri Orz
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 

Viewers also liked (6)

ใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1page
ใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1pageใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1page
ใบความรู้+เมฆ หมอก ฝน เกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f46-1page
 
เรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆเรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆ
 
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pageใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
 
ชนิดของเมฆ
ชนิดของเมฆชนิดของเมฆ
ชนิดของเมฆ
 
ลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศ
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 

Similar to SMMS Rainfall

08 Oscilloscope.ppt
08 Oscilloscope.ppt08 Oscilloscope.ppt
08 Oscilloscope.pptbaipho
 
บทที่ 7 E D M Total Station
บทที่ 7  E D M  Total  Stationบทที่ 7  E D M  Total  Station
บทที่ 7 E D M Total StationChattichai
 
การพยากรณ์อากาศ
การพยากรณ์อากาศการพยากรณ์อากาศ
การพยากรณ์อากาศdnavaroj
 
SMMS 53 Spectrum Library
SMMS 53 Spectrum LibrarySMMS 53 Spectrum Library
SMMS 53 Spectrum LibrarySunt Uttayarath
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsfreelance
 
อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์Chakkrawut Mueangkhon
 

Similar to SMMS Rainfall (10)

08 Oscilloscope.ppt
08 Oscilloscope.ppt08 Oscilloscope.ppt
08 Oscilloscope.ppt
 
Wave 1
Wave 1Wave 1
Wave 1
 
บทที่ 7 E D M Total Station
บทที่ 7  E D M  Total  Stationบทที่ 7  E D M  Total  Station
บทที่ 7 E D M Total Station
 
การพยากรณ์อากาศ
การพยากรณ์อากาศการพยากรณ์อากาศ
การพยากรณ์อากาศ
 
SMMS ฝนหลวง
SMMS ฝนหลวงSMMS ฝนหลวง
SMMS ฝนหลวง
 
01 coastal erosion 6 provinces
01 coastal erosion 6 provinces01 coastal erosion 6 provinces
01 coastal erosion 6 provinces
 
4 april report
4 april report4 april report
4 april report
 
SMMS 53 Spectrum Library
SMMS 53 Spectrum LibrarySMMS 53 Spectrum Library
SMMS 53 Spectrum Library
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 
อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์
 

More from Sunt Uttayarath

โครงการ Apsco 53
โครงการ Apsco 53โครงการ Apsco 53
โครงการ Apsco 53Sunt Uttayarath
 
สรุปโครงการ SMMS 53
สรุปโครงการ  SMMS 53สรุปโครงการ  SMMS 53
สรุปโครงการ SMMS 53Sunt Uttayarath
 
สรุปโครงการ APSCO 53
สรุปโครงการ APSCO 53สรุปโครงการ APSCO 53
สรุปโครงการ APSCO 53Sunt Uttayarath
 
ลักษณะดินถล่ม 16 Dec 2010
ลักษณะดินถล่ม 16  Dec 2010ลักษณะดินถล่ม 16  Dec 2010
ลักษณะดินถล่ม 16 Dec 2010Sunt Uttayarath
 
เเผนที่ดินถล่ม 16 Dec 2010
เเผนที่ดินถล่ม 16  Dec 2010เเผนที่ดินถล่ม 16  Dec 2010
เเผนที่ดินถล่ม 16 Dec 2010Sunt Uttayarath
 
Presentation SMMS Application
Presentation SMMS ApplicationPresentation SMMS Application
Presentation SMMS ApplicationSunt Uttayarath
 

More from Sunt Uttayarath (9)

SMMS Application
SMMS ApplicationSMMS Application
SMMS Application
 
โครงการ Apsco 53
โครงการ Apsco 53โครงการ Apsco 53
โครงการ Apsco 53
 
SMMS 53 R S Software
SMMS 53  R S  SoftwareSMMS 53  R S  Software
SMMS 53 R S Software
 
SMMS Landslide
SMMS  LandslideSMMS  Landslide
SMMS Landslide
 
สรุปโครงการ SMMS 53
สรุปโครงการ  SMMS 53สรุปโครงการ  SMMS 53
สรุปโครงการ SMMS 53
 
สรุปโครงการ APSCO 53
สรุปโครงการ APSCO 53สรุปโครงการ APSCO 53
สรุปโครงการ APSCO 53
 
ลักษณะดินถล่ม 16 Dec 2010
ลักษณะดินถล่ม 16  Dec 2010ลักษณะดินถล่ม 16  Dec 2010
ลักษณะดินถล่ม 16 Dec 2010
 
เเผนที่ดินถล่ม 16 Dec 2010
เเผนที่ดินถล่ม 16  Dec 2010เเผนที่ดินถล่ม 16  Dec 2010
เเผนที่ดินถล่ม 16 Dec 2010
 
Presentation SMMS Application
Presentation SMMS ApplicationPresentation SMMS Application
Presentation SMMS Application
 

SMMS Rainfall