SlideShare a Scribd company logo
1 of 71
Download to read offline
วิชา ว 30245
ชีววิทยา 5
ครูวุฒิไกร สาตี
ความหลากหลายทางชีวภาพ
•ความหลากหลายทางชีวภาพ คือ
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ ที่ดารงชีวิต
อยู่ในแหล่งที่อยู่อาศัยเดียวกันหรือแตกต่างกัน ซึ่งสิ่งมีชีวิต
ต่างชนิดกันจะมีความแตกต่างกันทั้งในด้านชนิดและจานวน
หรือแม้เป็นสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันก็อาจมีความแตกต่าง
หลากหลายได้เช่นกัน
• ความหลากหลายทางพันธุกรรม (genetic diversity) คือ
ความแตกต่างหรือความแปรผันทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต
แต่ละชนิด
• ความหลากหลายทางสปีชีส์ (species diversity) คือ
ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (species) ของสิ่งมีสิ่งที่มี
อยู่ในระบบนิเวศต่างๆ ตามธรรมชาติ
• ความหลากหลายทางนิเวศวิทยา (ecology diversity) คือ ความหลากหลายของ
ระบบนิเวศที่มีสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิดอาศัยอยู่รวมกัน
การศึกษาความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตของสิ่งมีชิต
อนุกรมวิธาน (Taxonomy) เป็นการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการจาแนกพันธุ์หรือ
การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิตซึ่งจะศึกษาในด้านต่างๆ 3 ด้าน ได้แก่
•การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต (classification)
•การกาหนดชื่อสากลของหมวดหมู่และชนิดของสิ่งมีชีวิต (nomenclature)
•การตรวจสอบชื่อวิทาศาสตร์ของสิ่งมีชีวิต (identification)
การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต
ในแต่ละระดับขั้นอาจมีการแบ่งขั้นย่อยๆ แทรกอยู่ โดยเติมคาว่าซูเปอร์
(Super) หรือ (Sup) นาหน้าลาดับขั้นหลัก เช่น
•Superorder เป็นขั้นที่มีระดับสูงกว่าออร์เดอร์แต่ต่ากว่าคลาส
•Subclass เป็นขั้นที่มีระดับต่ากว่าคลาสแต่สูงกว่าออเดอร์
ชื่อของสิ่งมีชีวิต
•ชื่อท้องถิ่น (local name) : ชื่อที่ใช้สื่อสารเพื่อความเข้าใจในแต่ละท้องถิ่น
•ชื่อสามัญ (common name) : ชื่อที่เป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวาง
•ชื่อวิทยาศาสตร์ (science name) : ชื่อสากลเพื่อใช้ในการอ้างอิงให้เป็นระบ
เดียวกัน
คาโรลัส ลินเนียส (Carolus Linnaeus) ได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่ง
อนุกรมวิธาน ซึ่งจัดระบบการตั้งชื่อวิทยาศาสตร์โดยใช้หลักการของ ชื่อ
ระบบทวินาม (binomial nomenclature)
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
•ใช้ภาษาละติน โดยประกอบด้วยชื่อ 2 ส่วน
•ซึ่งส่วนแรกคือ ชื่อสกุลหรือจีนัส (generic name)
•ส่วนที่สองเป็น ชื่อที่ระบุสปีชีส์ (specific epithet)
•ชื่อสกุลหรือจีนัส (genus) ต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรตัวใหญ่เสมอ ส่วนชื่อที่ระบุสปีชีส์
ใช้ตัวพิมพ์เล็ก
•พิมพ์ด้วยตัวเอน เช่น Homo sapiens หรือขีดเส้นใต้ชื่อทั้งสองโดยไม่ติดกัน เช่น
Homo sapiens
•อาจเขียนชื่อของผู้ตั้งชื่อวิทยาศาสตร์กากับไว้ เช่น ข้าว มีชื่อทางวิทยาศาสตร์
ว่า Oryza sativa Linn. คาว่า Linn เป็นชื่อย่อของ Linnaeus ซึ่งเป็นผู้ตั้งชื่อ
การระบุชนิด
•เครื่องมือที่ใช้ในการระบุชนิดหรือกลุ่มของสิ่งมีชีวิต คือ
ไดโคโตมัสคีย์ (dichotomous key) โดยจะพิจารณาความ
แตกต่างของโครงสร้างทีละลักษณะเป็นคู่ๆ
กาเนิดของสิ่งมีชีวิต
อริสโตเติล (Aristotle) : ทฤษฎีสิ่งมีชีวิตเกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต (spontaneous
generation) กล่าวว่า “สิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นได้จากสิ่งไม่มีชีวิต ซึ่งเป็นอิทธิพลของความ
เชื่อทางศาสนา”
หลุย ปาสเตอร์ (Louis Pasteur) : ทาการวิจัยและพิสูจน์ได้ว่า “สิ่งมีชีวิตกาเนิด
มาจากสิ่งมีชีวิต”
อเล็กซานดร์ อีวาโนวิช โอพาริน (Alexsandr Ivanovich Oparin) : เสนอแนวคิด
ว่า “สิ่งมีชีวิตไม่สามารถเกิดขึ้นได้ในช่วงเวลาสั้นๆ เพียงขั้นตอนเดียว แต่ต้องใช้
เวลานานมากโดยกระบวนการวิวัฒนาการทางเคมีอย่างช้าๆ เป็นการสังเคราะห์
สารอินทรีย์จากโมเลกุลง่ายๆ เป็นโมเลกุลที่ซับซ้อน”
สแตนเลย์ มิลเลอร์ (Stanley Miller) : จาลองสภาวะบรรยากาศของโลกใน
อดีต โดยใส่แก๊สมีเทน (CH4) แอมโมเนีย (NH3) แก๊สไฮโดรเจน (H2) และน้า
(H2O) ภายในชุดทอลองระบบปิด หลังจากนั้นให้ความร้อนและทาให้เกิด
ประกายไฟขึ้นในระบบที่จัดไว้ หลังจากนั้นเวลาผ่านไปหนึ่งสัปดาห์ พบกรดอะมิ
โนและกรดอินทรีย์เกิดขึ้นในชุดทดลอง
ซิดนีย์ ฟอกซ์ (Sidney Fox) และคณะ : แสดงให้เห็นว่า “เซลล์เริ่มแรกเกิดจาก
กรออะมิโนได้รับความร้อนและมีการรวมกลุ่มกัน ซึ่งมีคุณสมบัติหลายประการที่
คล้ายกันกับเซลล์ของสิ่งมีชีวิต เช่น มีการเจริญเติบโต สามารถเพิ่มจานวนโดย
การแตกหน่อและมีกระบวนการเมแทบอลิซึมเกิดขึ้น เป็นต้น”
สิ่งมีชีวิตที่มีวิวัฒนาการจากเซลล์เริ่มแรก น่าจะเป็นเซลล์โพรคาริโอต ซึ่งสิ่งมีชีวิต
แรกเริ่มนี้ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้และดารงชีวิตโดยไม่ใช้ออกซิเจน
สิ่งมีชีวิตเริ่มแรกมีวิวัฒนาการไปเป็นสิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารได้เองจากการสังเคราะห์ทางเคมี
ต่อมาสิ่งมีชีวิตเริ่มมีวิวัฒนาการจนสร้างอาหารเองได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสง สางผลให้ปริมาณ
ออกซิเจนในบรรยากาศมีมากขึ้น
สิ่งมีชีวิตรูปแบบใหม่ถือกาเนิดจนกลายเป็นสิ่งมีชีวิตพวกยูคาริโอต (eukaryotic cell)
ในที่สุด
กาเนิดของเซลล์ยูคาริโอต
Kingdom of organisms
อาณาจักรมอเนอรา
•เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่มีโครงสร้างเซลล์แบบ prokaryotic cell
•ไม่มีออแกเนลล์ชนิดมีเยื่อหุ้ม โดยมีเฉพาะออร์แกเนลล์ที่ไม่มีเยื่อ
หุ้ม คือ ไรโบโซม
•ผนังเซลล์เป็นสารประกอบด้วยพวกเพปทิโดไกลแคน
(peptidoglycan)
•ภายในเซลล์ไม่มีเยื่อหุ้มสารพันธุกรรม และสารพันธุกรรมเป็น
พวก circular DNA และไม่มีโปรตีนฮิสโตน
• มีรูปร่าง 3 แบบ คือ แบคทีเรียรูปทรงกลมค็อกคัส (coccus) แบคทีเรียทรงแท่งหรือบาซิลัส
(bacillus) และแบคทีเรียทรงเกลียวหรือสไปริลลัม (spirillum)
•มีกระบวนการเมอทบอลิซึมในการดารงชีวิตที่
หลากหลาย
•สร้างอาหารเองไม่ได้ (heterotroph)
•สร้างอาหารเองได้โดยใช้พลังงานแสง (photoautroph) เช่น
ไซยาโนแบคทีเรียหรือสาหร่าสีเขียวแกมน้าเงิน
•สร้างอาหารเองได้โดยใช้พลังงานจากปฏิกิริยาเคมี
(chemautroph)
การติดสีแกรม (grame stain) ของแบคทีเรียมี 2 แบบ คือ
•แบคทีเรียแกรมบวก ย้อมติดสีม่วงอมน้าเงินของคริสตัลไวโอเลต (crystal violet)
ส่วนใหญ่พบในพวกค็อกคัส
•แบคมีเรียแกรมลบ ย้อมติดสีแดงของซาฟานิน (safanin) ส่วนใหญ่พบในบาซิลัส
•โดยทั่วไปมีการสืบพันธุ์โดยการแบ่งเซลล์ แต่บางชนิดสามารถแลกเปลี่ยนสารพันธุกรรมได้
(conjugation)
ความหลากหลายของแบคทีเรีย
•ซับคิงดอมอาร์เคียแบคทีเรียน (Subkingdom Archaea bacteria) :
แบคทีเรียกลุ่มนี้มีผนังเซลล์ที่ไม่มีสารเพปทิโดไกลแคน พบใน
สภาพแวดล้อมที่ค่อนข้างรุนแรง แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ
•กลุ่มยูริอาร์เคียโอตา (Euryarchaeota) เป็นแบคทีเรียที่สามารถสร้าง
มีเทน (methanogen) และอาศัยอยู่ในบริเวณที่มีความเค็มจัด (halophile
•กลุ่มครีนาร์เคียโอตา (Crenachaeota) เป็นแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ใน
บริเวณที่มีความเป็นกรดสูง (acidophile) และอุณหภูมิสูง (thermopile)
•ซับคิงดอมยูแบคทีเรีย (Subkingdom Eubacteria) : แบคทีเรียที่สามารถพบได้
ทั่วไปในสิ่งแวดล้อม
1. กลุ่มโพรทีโอแบคทีเรีย Proteobacteria
•เป็นแบคทีเรียแกรมลบ
•มีกระบวนการเมแทบอลิซึมที่หลากหลาย
•บางกลุ่มสามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้
•บางกลุ่มดารงชีวิตโดยใช้ไฮโดรเจนซัลไฟต์ และซัลเฟอร์ในกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสง เช่น เพอเพิลซัลเฟอร์แบคทีเรีย
•บางกลุ่มมีบทบาทช่วยตรึงแก๊สไนโตรเจน เช่น ไรโซเบียมในปมรากพืชตระกูล
ถั่ว
purple sulfur bacteria
rhizobium ในปมรากถั่ว
2. กลุ่มคลาไมเดีย Chlamydias
•เป็นแบคทีเรียแกรมลบ
•ดารงชีวิตแบบปรสิตทาให้เกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น โรคโกโนเรีย
หรือหนองใน และโรคเยื่อตาอักเสบ
• 3. กลุ่มสไปโรคีท Spirochetes
•เป็นแบคทีเรียแกรมลบ
•รูปร่างทรงเกลียว
•ดารงชีวิตทั้งแบบอิสระและแบบปรสิต เป็นสาเหตุของโรคบางชนิด เช่น โรคฉี่หนู โรค
ซิฟิลิส เป็นต้น
4. แบคทีเรียแกรมบวก Positive grame bacteria
•ผนังเซลล์มีเพปติโดไกลแคนหนา ยกเว้น ไมโคพลาสมาที่จะไม่
มีผนังเซลล์
•บางชนิดสามารถผลิตกรดแลคติกได้ เช่น Lactobacillus sp.
•บางชนิดใช้ทายาปฏิชีวนะ เช่น Streptococcus sp.
•บางชนิดสามารถสร้างเอนโดสปอร์ ทาให้ทนต่อ
สภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้ เช่น Bacillus sp.
Lactobacillus sp. Streptococcus sp.
5. ไซยาโนแบคทีเรีย Cyanobacteria
•เป็นแบคทีเรียแกรมลบ
•บริเวณรอบนอกของผนังเซลล์มี พอลิแซ็กคาไรด์หุ้มอยู่และมี
รงควัตถุกระจายทั่วในไซโทพลาสซึม
•สร้างอาหารเองได้ โดยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
•สามารถตรึงในโตรเจนในอากาศได้ เช่น แอนาบีนา (Anabena
sp.) นอสตอก (Nostoc sp.) ออสซิลลาทอเรีย (Oscillatoria
sp.)
Anabena sp. Nostoc sp. Oscillatoria sp.
อาณาจักรโพรทิสตา
•ลักษณะรูปร่างและการดารงชีวิตของโพรทิสต์
•สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนี้มีความหลากหลายมากที่สุด มีทั้งที่เป็น
เซลล์เดียวและหลายเซลล์
•มีรูปแบบกรดารงชีวิตที่หลากหลาย เช่น บางชนิดสามารถสร้าง
อาหารเองได้โดยการสังเคราะห์ด้วยแสง บางชนิดมีการเคลื่อนที่โดย
ใช้ซีเลีย แฟลเจลลา หรือเท้าเทียม (psudopodium) บางชนิดเป็น
สาเหตุของโรค
•การสืบพันธุ์มีทั้งแบบอาศัยเพศและไม่อาศัยเพศ
•ความหลากหลายของโพรทิสต์
•หากแบ่งโพรทิสต์เป็นกลุ่มตามสายวิวัฒนาการ จะแบ่งกลุ่ม
ได้ดังนี้
1. กลุ่มไดโพลโมนาดิดา (Dipomonadida) และพาราบาซาลา
(Parabasala)
•เป็นโพรทิสต์ที่มีแต่นิวเคลียสและไรโบโซม
•แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มย่อย ได้แก่
•กลุ่มไดโพลโมแนด (Dipomonads)
•มีแฟลเจลลาหลายเส้น มีนิวเคลียส 2 อัน
•ตัวอย่างเช่น Giardia lambia เป็นปรสิตในลาไส้ของคน
Giardia lambia
•กลุ่มพาราบาซาลิต (Parabasalide)
•มีแฟลเจลลาเป็นคู่
•ผิวเยื่อหุ้มเซลล์มีลัษณะเป็นรอยหยักคล้ายคลื่น
•ตัวอย่างเช่น Trichonympha sp. ที่อาศัยอยู่ในลาไส้ปลวก
และ Tricchomonas vaginalis ที่ทาให้เกิดอาการติดเชื้อใน
ช่องคลอด
Trichonympha sp.
Tricchomonas vaginalis
2. กลุ่มยูกลีโนซัว (Eulenozoa)
•เป็นโพรทิสต์กลุ่มที่เคลื่อนที่โดยใช้แฟลเจลลา
•แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มย่อย ได้แก่
•กลุ่มยูกลีนอยด์ (Euglenoid)
•ส่วนใหญ่สังเคราะห์ด้วยแสงได้
•ตัวอย่างเช่น ยูกลีนา เป็นโพรทิสต์เซลล์เดียวที่มีสารแคโรทีนและ
คลอโรฟิลล์ จึงสามารถดารงชีวิต เป็นผู้ผลิตและมีอายสปอต
(eye spot) ในการตอบสนองต่อแสง
•กลุ่มคิเนโทพลาสติด (Kinetoplastid)
•มีโครงสร้างที่เรียกว่า คิเนโทพลาสติด (kinetoplastid) ซึ่ง
ภายในมีสารพันธุกรรมแบบวงแหวน (circular DNA) และมีไม
โทคอนเดรียขนาดใหญ่
•ตัวอย่างเช่น Trypamosoma sp. เป็นปรสิตที่ทาให้เกิดโรคเหงา
หลับ
3. กลุ่มแอลวีโอลาตา (Alveolata)
•เป็นโพรทิสต์เซลล์เดียวมีลักษณะร่วมกันคือ มีช่องว่างเล็กๆ ใต้เยื้อหุ้มเซลล์ที่
เรียกว่า แอลวีโอไล (alveoli)
•แบ่งเป็น 3 กลุ่มย่อย ได้แก่
•กลุ่มไดโนแฟลเจลเลต (Dinoflagellate)
•มีสารแคโรทีนและคลอโรฟิลล์ในพลาสติด ทาให้สังเคราะห์ด้วยแสงได้
•เคลื่อนที่โดยอาศัยแฟลเจลลา 2 เส้น ในแนวขวางและแนวดิ่ง
•บางชนิดมีแผ่นเซลลลูโลสหลายแผ่นประกอบกันคล้านเกราะ
•เมื่อมีการเพิ่มจานวนจนมีปริมาณมาก จะทาให้เกิดปรากฏการณ์ขี้
ปลาวาฬ (red tide)
•กลุ่มเอพิคอมเพลซา (Apicomplexa)
•ส่วนใหญ่ดารงชีวิตเป็นปรสิต
•มีโครสร้างที่ใช้สาหรับแทงผ่านเซลล์โฮสต์ ไม่มี
โครงสร้างในการเคลื่อนที่ ยกเว้นในเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้
•ตัวอย่างเช่น Plasmodium sp. ทาให้เกิดโรคมาลาเรียใน
คนและสัตว์ มียุงก้นปล่องเป็นพาหะ
เต่าทะเล งูจงอาง กระรอก วาฬ
ปลากระเบน ปลาตะเพียน คางคก ไก่
มดแดง แมงมุม

More Related Content

Similar to ความหลากหลายทางชีวภาพ slide biology diversity

ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพฟลุ๊ค ลำพูน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพLPRU
 
ความหลากหลายนิเวศ190957
ความหลากหลายนิเวศ190957ความหลากหลายนิเวศ190957
ความหลากหลายนิเวศ190957Myundo
 
ระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์Tin Savastham
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตฟลุ๊ค ลำพูน
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจkrunidhswk
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตSumalee Khvamsuk
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02oranuch_u
 
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตUnlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตmahachaisomdet
 
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteriaIntroduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteriapitsanu duangkartok
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพสำเร็จ นางสีคุณ
 

Similar to ความหลากหลายทางชีวภาพ slide biology diversity (20)

Ecosystem ii
Ecosystem iiEcosystem ii
Ecosystem ii
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
1
11
1
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ความหลากหลายนิเวศ190957
ความหลากหลายนิเวศ190957ความหลากหลายนิเวศ190957
ความหลากหลายนิเวศ190957
 
ระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์
ระบบนิเวศน์
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
 
10 intro-taxonomy
10 intro-taxonomy10 intro-taxonomy
10 intro-taxonomy
 
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตUnlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteriaIntroduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 

More from ssusera700ad

การย่อยอาหาร และระบบย่อยอาหารของมนุษย์human digestive sysytem
การย่อยอาหาร และระบบย่อยอาหารของมนุษย์human digestive sysytemการย่อยอาหาร และระบบย่อยอาหารของมนุษย์human digestive sysytem
การย่อยอาหาร และระบบย่อยอาหารของมนุษย์human digestive sysytemssusera700ad
 
ความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม human and enveronment
ความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม human and enveronmentความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม human and enveronment
ความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม human and enveronmentssusera700ad
 
Class9 DNA technology in secondary school
Class9 DNA technology in secondary schoolClass9 DNA technology in secondary school
Class9 DNA technology in secondary schoolssusera700ad
 
ไฟล์แนวข้อสอบ TGAT.pdf
ไฟล์แนวข้อสอบ TGAT.pdfไฟล์แนวข้อสอบ TGAT.pdf
ไฟล์แนวข้อสอบ TGAT.pdfssusera700ad
 
Photosynthesis Slide.pdf
Photosynthesis Slide.pdfPhotosynthesis Slide.pdf
Photosynthesis Slide.pdfssusera700ad
 
COVID-19_update110263
COVID-19_update110263 COVID-19_update110263
COVID-19_update110263 ssusera700ad
 
พฤติกรรมสัตว์ .pdf
พฤติกรรมสัตว์ .pdfพฤติกรรมสัตว์ .pdf
พฤติกรรมสัตว์ .pdfssusera700ad
 
วิชาชีววิทยา ระบบสืบพันธุ์.pdf
วิชาชีววิทยา ระบบสืบพันธุ์.pdfวิชาชีววิทยา ระบบสืบพันธุ์.pdf
วิชาชีววิทยา ระบบสืบพันธุ์.pdfssusera700ad
 

More from ssusera700ad (8)

การย่อยอาหาร และระบบย่อยอาหารของมนุษย์human digestive sysytem
การย่อยอาหาร และระบบย่อยอาหารของมนุษย์human digestive sysytemการย่อยอาหาร และระบบย่อยอาหารของมนุษย์human digestive sysytem
การย่อยอาหาร และระบบย่อยอาหารของมนุษย์human digestive sysytem
 
ความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม human and enveronment
ความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม human and enveronmentความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม human and enveronment
ความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม human and enveronment
 
Class9 DNA technology in secondary school
Class9 DNA technology in secondary schoolClass9 DNA technology in secondary school
Class9 DNA technology in secondary school
 
ไฟล์แนวข้อสอบ TGAT.pdf
ไฟล์แนวข้อสอบ TGAT.pdfไฟล์แนวข้อสอบ TGAT.pdf
ไฟล์แนวข้อสอบ TGAT.pdf
 
Photosynthesis Slide.pdf
Photosynthesis Slide.pdfPhotosynthesis Slide.pdf
Photosynthesis Slide.pdf
 
COVID-19_update110263
COVID-19_update110263 COVID-19_update110263
COVID-19_update110263
 
พฤติกรรมสัตว์ .pdf
พฤติกรรมสัตว์ .pdfพฤติกรรมสัตว์ .pdf
พฤติกรรมสัตว์ .pdf
 
วิชาชีววิทยา ระบบสืบพันธุ์.pdf
วิชาชีววิทยา ระบบสืบพันธุ์.pdfวิชาชีววิทยา ระบบสืบพันธุ์.pdf
วิชาชีววิทยา ระบบสืบพันธุ์.pdf
 

ความหลากหลายทางชีวภาพ slide biology diversity