SlideShare a Scribd company logo
1 of 80
Download to read offline
What’s Behavior ?
Gene
Environment
Behavior
พฤติกรรม เป็นการตอบสนองของสิ่งมีชีวิตต่อการเปลี่ยนแปลง
ของสภาพแวดล้อม ทั้งภายนอกร่างกาย และภายในร่างกายเพื่อ
การอยู่รอด
สรุป : พฤติกรรมของสัตว์เป็นผลจากการทางานร่วมกันระหว่าง
ปัจจัยทางพันธุกรรมและสภาพแวดล้อม
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
2
Gene - ควบคุมพฤติกรรมซึ่งพัฒนาให้เหมาะสม
กับสภาพแวดล้อมโดย Natural selection
- Gene ควบคุมระดับการเจริญของ
1)ระบบประสาท 2)ฮอร์โมน 3)กล้ามเนื้อ
ตัวอย่าง : งู (Garter snake)
- พวกอยู่บนบกไม่กินทาก - พวกอยู่ใกล้ชายฝั่งกินทาก
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
3
Environment Experience
Stimulus
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
4
วิธีการศึกษาพฤติกรรม
1.การศึกษาทางด้านสรีรวิทยา
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
5
2.การศึกษาทางด้านจิตวิทยา
(physiological approach)
(psychological approach)
 ศึกษาเพื่ออธิบายถึงการแสดงออกของพฤติกรรมในแง่ของกลไก
การทางานของระบบประสาท
 ศึกษาถึงปัจจัยต่างๆ รอบตัวและภายในร่างกายของสัตว์ที่ทาให้สัตว์มี
การพัฒนาและแสดงออกเป็นพฤติกรรมที่มองเห็นได้อย่างชัดเจน
ขั้นตอนการเกิดพฤติกรรม :
Stimulus Receptor
Effector
Integrated
Center
Behavior
(หน่วยตอบสนอง)
(สิ่งเร้า) (หน่วยรับความรู้สึก)
(สมอง, ไขสันหลัง)
..คาสั่ง..
- พฤติกรรมจะสลับซับซ้อนมากหรือน้อยขึ้นกับระดับการเจริญของ
ปัจจัยต่าง ๆ ในขั้นตอนการเกิดพฤติกรรม
Response
(การตอบสนอง)
(พฤติกรรม)
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
6
กลไกการเกิดพฤติกรรม
สิ่งเร้า
สัตว์
กลไกกำรปลดปล่อยพฤติกรรม
(Releasing mechanism)
แสดงพฤติกรรม
เหตุจูงใจ(ความพร้อมทางร่างกาย)
(Motivation)
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
7
แสดงพฤติกรรมออกมา
เหตุจูงใจต่า ตัวกระตุ้นปลดปล่อยสูง
แสดงพฤติกรรมออกมา
เหตุจูงใจสูง ตัวกระตุ้นปลดปล่อยต่า
Comparative about this.
แสดงพฤติกรรมออกมำ แสดงพฤติกรรมออกมำ
A) B)
(หิว) (อำหำรไม่อร่อย) (อิ่ม) (อำหำรอร่อย)
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
8
ประเภทของพฤติกรรม (BEHAVIOR)
พฤติกรรม
พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้
โทรปริซึม
ไคเนซีส
แทกซีส
รีแฟลกซ์
รีแฟลกซ์ต่อเนื่อง
การฝังใจ
ความเคยชิน
การมีเงื่อนไข
การลองผิดลองถูก
การใช้เหตุผล
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
9
พฤติกรรมจาแนกได้ออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ ๆ คือ
(โดยแสดงพฤติกรรมออกมาได้ในช่วงชีวิตของสิ่งมีชีวิต)
1. Innate Behavior : พฤติกรรมที่มีมาแต่กาเนิด
และไม่เปลี่ยนแปลง
2. Learned Behavior : พฤติกรรมที่เกิดจากการ
เรียนรู้ ปรับเปลี่ยนได้ขึ้นกับ Experience ในช่วงชีวิต
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
10
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
11
Innate Behavior
(Automatic responses to the environment)
 เป็นพฤติกรรมง่ำย ๆ มีลักษณะเฉพำะตัวที่ใช้ในกำรตอบสนอง
ต่อสิ่งเร้ำชนิดใดชนิดหนึ่ง และพฤติกรรมนี้สัตว์ใน species
เดียวกันจะตอบสนองต่อสิ่งเร้ำอย่ำงหนึ่งเหมือนกัน
(Fixed action pattern = FAP)
- พฤติกรรมนี้ได้มำจำกกรรมพันธุ์เท่ำนั้น ไม่จำเป็นต้องเรียนรู้มำก่อน
- พบในสัตว์ชั้นต่ำซึ่งมีระบบประสำทยังไม่เจริญดี เช่น Protozoa
 ตัวอย่าง : กำรกลืนอำหำร, กำรตวัดลิ้นจับแมลง
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
12
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
13
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
14
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
15
1. Orientation
 เป็นพฤติกรรมการวางตัวของสัตว์ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
 แบ่งได้ 2 แบบ คือ kinesis กับ taxis
1.1 Kinesis พฤติกรรมการเคลื่อนที่โดยตอบสนองต่อสิ่งเร้า
ด้วยการเคลื่อนที่หนีหรือเข้าหาโดยไม่มีทิศทาง
การเคลื่อนที่ของพารามีเซียมหนีออกจาก CO2 หรืออุณหภูมิสูง หรือเข้าหากรดอ่อน
พฤติกรรมการเคลื่อนที่ของแมลงสาบในที่โล่ง
พฤติกรรมการเคลื่อนที่ของตัวกุ้งเต้น (wood lice) เมื่อความชื้นน้อยลง
การเคลื่อนที่เข้าหาแสงของยูกลีนา
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
16
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
17
Kinesis
* เชื่อว่า kinesis พัฒนาการไปเป็นพฤติกรรมการลองผิดลองถูก
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
18
1.2 Taxis พฤติกรรมการเคลื่อนที่เข้าหาสิ่งเร้าอย่างมี
ทิศทางที่แน่นอน
การบินเข้าหาแสงไฟของแมลงดานาในเวลากลางคืน
การเคลื่อนที่หนีแสงสว่าง แต่เข้าหาความมืดของหนอนแมลงวัน
การเคลื่อนที่เข้าหาแสงสว่างของเห็บ(Ixodes ricinus)
การเคลื่อนที่ของพลานาเรียเข้าหาแสงและเข้าหาอาหาร
การเคลื่อนที่เข้าหาหรือออกจากวัตถุโดยใช้แสงเป็นเข็มทิศ ช่น ผึ้ง มด โดยใช้
ดวงอาทิตย์เป็นเข็มทิศ
การบินตรงเข้าหาดวงอาทิตย์ ขณะหนีศัตรูของผีเสื้อ grayline betterflies
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
19
- สัตว์จะต้องมี Sensory
receptor ที่เหมาะสมกับสิ่งเร้า
- ช่วยให้ให้สัตว์หาตาแหน่ง
ของบ้านได้ถูกต้อง
การเคลื่อนที่เข้าหาหรือหนีออกจากแรงดึงดูดโลกของวงชีวิตผีเสื้อ
การเคลื่อนที่เข้าหาหรือหนีออกจากเสียง(phonotaxis) เข้าหาได้แก่จิ้งหรีดและ
หนีได้แก่ผีเสื้อหนีเสียงอุลต้าโซนิค
การที่กบตัวเมียว่ายน้าเข้าหาเสียงกบตัวผู้เพื่อผสมพันธุ์
การบินเข้าหาแสงสว่างของแมลงเม่า
การบินของค้างคาวเข้าหาแหล่งอาหาร
ลูกไก่วิ่งเข้าหาเสียงร้องของแม่ไก่
ผีเสื้อกลางคืนบินเข้าหาแสง
ท่าการว่ายน้าของปลา
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
20
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
21
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
22
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
23
2. พฤติกรรมแบบรีเฟลกซ์ (REFLEX ARCS)
เป็นรูปแบบการตอบสนองสิ่งเร้าที่
สาระสาคัญ
- พบในสัตว์แทบทุกชนิด รวมทั้งคนด้วย
- พฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาท
- ไม่ต้องมีการเรียนรู้
1. การกระพริบตา
2. การกระตุกเท้าหนีตะปู
3. การกระตุกหัวเข่า
4. การบิดตัวหนีปลายเข็มของ
ไส้เดือนดิน
5. การไอการจามของคน
-รวดเร็ว
-หลีกเลี่ยงอันตราย
-ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
-เกี่ยวข้องกับระบบประสาท
ส่วนกลาง
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
24
3. พฤติกรรมรีเฟลกซ์แบบต่อเนื่อง
(CHAIN OF REFLEXES)
* เป็นพฤติกรรมที่เกิดจากรีเฟลกซ์สามารถไปกระตุ้นรีเฟลกซ์อื่นๆ ของ
ระบบประสาทให้ทางานทาให้เกิดพฤติกรรมย่อยๆ หลายพฤติกรรม
มีแบบแผนแน่นอนในสัตว์แต่ละสปีชีส์
มีผลมาจากกรรมพันธุ์ มากกว่าสิ่งแวดล้อม
เกิดจาก simple reflex + simple reflex+…
รีเฟล็กซ์แบบต่อเนื่อง อาจเรียกว่า สัญชาตญาณ
(Instinct)
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
25
 การสร้างรังของนก
 การชักใยของแมงมุม
 การแทะมะพร้าวของกระรอก
 การฟักไข่และการเลี้ยงลูกอ่อนของไก่
 พฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีของสัตว์
 การปกป้องอาณาบริเวณที่ได้รับการคุ้มครองของกิ้งก่า
 การสร้างปลอกหุ้มไข่ของแมงมุม
 การสร้างรังและหาอาหารมาไว้ในรังของพวกต่อและหมาล่า
 การดูดนมของทารกการค้นหาหัวนมของแม่และการดูดนมของลูกวาฬ
 การเต้นราของผึ้ง
 การนาไข่กลับรังของห่านเกรย์แลก
 การจาศีลของสัตว์ เช่น กบและหมีขั้วโลก และการอพยพย้ายถิ่นของสัตว์
 การกาสิ่งของในมือเด็ก
การใช้ลิ้นตวัดจับแมลงของคางคก
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
26
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
27
การเต้นราของผึ้ง
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
28
การนาไข่กลับรังของห่านเกรย์แลก
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
29
การเกี้ยวพาราสี
ของปลาสติกเกิลสามหนาม
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
30
สาระสาคัญของ chain of reflexes
- สามารถดารงชีวิตและดารงเผ่าพันธุ์ไว้ได้
- สามารถแสดงพฤติกรรมออกมาได้ แม้จะเลี้ยงแยก species
- เปลี่ยนแปลงตามสภาพแวดล้อมและประสบการณ์
- แมลงมีพฤติกรรมแบบรีเฟลกซ์ต่อเนื่องมากที่สุด
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
31
(Learned behavior)
พฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
32
เป็นพฤติกรรมที่ต้องอาศัยประสบการณ์ที่มีในอดีตมาปรับปรุง
พฤติกรรมที่เกิดขึ้น
Learned Behavior
Learning เป็นการเพิ่ม fitness (การอยู่รอดและสืบพันธุ์)ให้แก่สัตว์
แบ่งออกได้หลายแบบ ดังนี้
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
33
1.Habituation : ความเคยชิน
เป็นพฤติกรรมที่สัตว์เพิกเฉยที่จะตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มิได้มีผลต่อ
การดารงชีวิตเมื่อได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้านั้นเป็นเวลานาน
เป็นการลดภาระการตอบสนองของสัตว์ ทาให้ประหยัดพลังงาน
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
34
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
35
การหนีของกาที่มีต่อหุ่นไล่กา
การหลบของลูกนกต่อสิ่งที่บินอยู่เหนือหัว
กบที่เลี้ยงไว้ในบ่อ
สุนัขที่เลี้ยงไว้ในบ้านที่ใกล้สนามบิน
ในเวลาสงคราม เมื่อมีการเปิดสัญญาณเตือนภัย
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
36
นกที่สร้างรังอยู่ริมถนนหรือหากินตามแหล่งถนน
การฝ่ าสัญญาณไฟแดงของนักขับรถ
การกินอาหารสุกๆ ดิบๆ
การที่คางคกตวัดลิ้นจับแมลงทุกชนิดที่ผ่านหน้า
การหนีเรียน การโดดเรียน การนอนในเวลาเรียน
การหนีเที่ยว การโกหกครู/อาจารย์
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
37
 เป็นพฤติกรรมที่สัตว์สามารถจดจาและผูกพันกับแม่หรือพ่อได้
 เป็นการทางานร่วมกันระหว่างกรรมพันธุ์และการเรียนรู้ โดย
กรรมพันธุ์จะเป็นตัวกาหนดช่วงเวลาที่จาเป็น เป็นการเรียนรู้
ที่จากัดโดยเวลา (critical period) ซึ่งจะเกิดความฝังใจขึ้น
ส่วนการเรียนรู้ความผูกพันระหว่างสัตว์กับพ่อแม่หรือวัตถุที่จะ
ทาให้เกิดความฝังใจขึ้น
2.Imprinting : การฝังใจ
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
38
Q: ระยะวิกฤตของสัตว์ปีก (ห่าน) อยู่ที่ ...... ชั่วโมง?
(36 ชั่วโมง)
“Father of Behavior”
ดร.คอนรำด ลอเรนซ์ (Dr. Konrad
Lorenz)
(born Nov. 7, 1903, Vienna, Austria—
died Feb. 27, 1989, Altenburg)
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
39
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
40
 การเดินตามวัตถุแรกที่เคลื่อนที่ได้และส่งเสียงได้ของลูกสัตว์ เช่น ลูกนก ลูกห่าน ลูกวัว ลูกควาย
หลังจากฝักออกจากไข่หรือหลังคลอดแล้ว และเดินได้แล้ว
 การฝังใจต่อกลิ่นต่อพืชชนิดหนึ่งที่แมลงหวี่ฟักออกจากไข่ที่แม่แมลงหวี่วางไข่ทิ้งไว้
 การฝังใจที่เกิดจากการได้ยินเสียงของลูกเป็ด
 การฝังใจที่เกิดจากกลิ่นในปลาแซลมอน
 การผสมพันธุ์ของสัตว์ในสปีชีส์เดียวกัน
 การเกี้ยวพาราสีของนกต่างสปีชีส์
 การเดินไปกอดวัตถุที่อ่อนนุ่มและมีขวดนมของลูกลิงชิมแพนซี
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
41
เป็นพฤติกรรมที่สิ่งเร้าใหม่ (CS) เข้าแทนสิ่งเร้าที่แท้จริงหรือสิ่ง
เร้าเดิม (US) แล้วชักนาให้เกิดการตอบสนองแบบเดียวกัน
ตัวอย่าง หมา + เนื้อ (Stimulus I) น้าลายไหล
หมา + เสียงกระดิ่ง (Stimulus II) + เนื้อ น้าลายไหล
หมา + เสียงกระดิ่ง
3.Conditioning : มีเงื่อนไข
(น้าลายไหล)
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
42
พฤติกรรมการมีเงื่อนไข ในการตอบสนองของสุนัข
โดย... อีวาน พาฟลอฟ (Ivan Pavlov)
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
43
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
44
พฤติกรรมการมีเงื่อนไข ในการกดบาร์ของหนูเพื่อได้อาหาร
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
45
 การที่เด็กไม่กินผักสีเขียวหั่นฝอยที่โรยบนอาหาร เพราะคิดว่าเป็นต้นหอมที่เขาไม่กิน
 การฝึกสัตว์ให้แสดงพฤติกรรมที่เราต้องการ โดยการให้รางวัลและการลงโทษ
 การเห็นภาพวิวทิวทัศน์แล้วทาให้เกิดความสุข
 การได้ยินคาว่า มะม่วง หรือ มะยมแล้วทาให้เกิดน้าลายไหล
 การฝึกหนูให้กระโดดหนีเมื่อหลอดไฟสว่าง
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
46
ซับซ้อนมากกว่า Habituation เป็นพฤติกรรมที่สัตว์แสดงออก
โดยบังเอิญ แล้วถ้าได้รางวัลก็จะชักนาให้ทาพฤติกรรมเช่นนั้นอีก
ซึ่งการตอบสนอง (Response) ที่ถูกต้องจะทาให้อยู่รอดและ
ประสบผลสาเร็จในการสืบพันธุ์
4.Trail and Error : การลองผิดลองถูก
- Reward (ให้รางวัล)
- Punishment (การลงโทษ)
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
47
 การเคลื่อนที่แบบลองผิดลองถูกของไส้เดือนดินในกล่องพลาสติกที่มีความมืดและชื้น
 การเคลื่อนที่ของมดในทางวกวน
 การเคลื่อนที่ของหนูในเขาวงกต
 ความพยายามของสุนัขที่จะไปกินอาหาร โดยมีเชือกอ้อมเสาไม้อยู่
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
48
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
49
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
50
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
51
พฤติกรรมการลองผิดลองถูกในการกินแมลงปอ แมลงรอบเบอร์และผึ้ง
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
52
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
53
เกิดในพวก Primates เป็นพฤติกรรมที่มีการดัดแปลงมาจากการ
ลองผิดลองถูก โดยการเรียนรู้นี้จะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วโดยสัตว์
ตอบสนองได้ถูกต้องเลยในครั้งแรก
Fixed-action pattern Insight
เป้าหมายเพื่อ เพิ่มโอกาสอยู่รอด + โอกาสสืบพันธุ์
(Innate) (Learned)
5.Insight Learning: การใช้เหตุผล
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
54
การแก้เชือกของกาที่ผูกอาหารไว้
การใช้ไม้สอยกล้วยที่อยู่ที่สูง
โดยใช้ลังต่อกัน
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
55
ตารางเปรียบเทียบลาดับการเกิดพฤติกรรมในสิ่งมีชีวิต
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
56
พฤติกรรมทางสังคม /
การสื่อสารระหว่างสัตว์
(Social behavior /Communication)
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
57
เสียงของสัตว์ใช้ในการติดต่อสื่อสารระหว่างกันและก่อให้เกิดการตอบสนอง
ถือว่าเป็นการเรียนรู้อย่างหนึ่ง
1. Sound Communication : การสื่อสารโดยใช้เสียง
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
58
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
59
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
60
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
61
การสื่อสารด้วยเสียงมีจุดมุ่งหมายคล้ายกันดังนี้
1. ใช้ในการบอกชนิดสัตว์ ซึ่งอยู่ใน species เดียวกัน
2. ใช้บอกเพศว่าเป็นเพศผู้หรือเพศเมีย
3. บอกตาแหน่งตนเองให้ทราบว่าอยู่จุดใด
4. เป็นการประกาศเขตแดนให้สัตว์ตัวอื่นๆรู้
5. บอกสัญญาณเตือนภัยหรือข่มขู่
6. บอกความรู้สึกต่างๆและเกี้ยวพาราสี
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
62
เสียงมีความหมายที่แตกต่างกันออกไปคือ
1. เสียงเรียกติดต่อ (contact calls)
2. เสียงเรียกเตือนภัย (warning calls)
3. เสียงเรียกคู่ (mating calls)
4. เสียงเรียกกาหนดสถานที่ของวัตถุ (echolocation)
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
63
2. Visual Signal Communication
: การสื่อสารโดยใช้ท่าทาง
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
64
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
65
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
66
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
67
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
68
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
69
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
70
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
71
การสื่อสารของผึ้ง : BEE LANGUAGE
1. การเต้นรา
* แบบวงกลม (round dance)
- อาหารอยู่ใกล้ ประมาณ 50 เมตร ไม่เกิน 80 เมตร
* แบบเลข 8 (wagging dance)
- อาหารอยู่ไกล เกิน 80 เมตร ขึ้นไป
2. การส่ายท้อง
- อาหารอยู่ไม่ไกล อัตราการเต้นราแบบส่ายท้องจะเร็วและสั้น
- อาหารอยู่ไกล อัตราการเต้นราแบบส่ายท้องจะช้าและนาน
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
72
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
73
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
74
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
75
ตัวอย่าง Bee Language
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
76
3. Chemical Communication
: การสื่อสารโดยใช้สารเคมี
เช่น การปล่อยฟีโรโมน
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
77
ฟีโรโมน (PHEROMONE)
1. ฟีโรโมนที่ทาให้เกิดพฤติกรรมทันที (releaser pheromone)
เช่น สารดึงดูดเพศตรงข้าม ได้แก่ ฟีโรโมนที่ผีเสื้อไหมตัวเมีย
ปล่อยออกมาเพื่อดึงดูดความสนใจของผีเสื้อไหมตัวผู้
2. ฟีโรโมนที่ไม่ทาให้เกิดพฤติกรรมทันที (primer pheromone)
เช่น ฟีโรโมนของหนูตัวผู้ปล่อยออกมา ชักนาให้หนูตัวเมียเป็นสัด
และพร้อมที่จะผสมพันธุ์
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
78
ประเภทฟีโรโมน
ฟีโรโมนเพศ (sex pheromone) เช่น ผีเสื้อไหม
ฟีโรโมนปลุกระดม (aggregation pheromone) เช่น
ด้วงที่ทาลายเปลือกไม้
ฟีโรโมนเตือนภัย (alarm pheromone) เช่น ผึ้ง
ฟีโรโมนตามรอย (trail pheromone) เช่น สุนัข
ฟีโรโมนนางพณา (queen-substance pheromone)
เช่น แมลงสังคม ได้แก่ มด ผึ้ง ต่อ แตน ปลวก
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
79
เช่น การสัมผัสเป็นสื่อเพื่อขออาหารของลูกนกนางนวลบางชนิด โดยใช้จะงอยปาก
จิกที่จุดสีแดงบริเวณจะงอยปากของแม่เพื่อกระตุ้นให้แม่ไปหาอาหารมาให้
4. Physical Communication
: การสื่อสารโดยการสัมผัส
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
80
เช่น สัตว์ที่อาศัยอยู่ในทะเลลึก และหิ่งห้อย โดยเกิด
กระบวนการ bioluminescence ดังนี้
Luciferin (L) + O2
Luciferase (E)
E - L E + L + hv (แสง)
5. luminous Communication
: การสื่อสารโดยใช้รหัสแสง
จัดทำโดย นำงสำวสุกฤตำ โสมล
81

More Related Content

Similar to พฤติกรรมสัตว์ .pdf

เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
Ausa Suradech
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
Issara Mo
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ฟลุ๊ค ลำพูน
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
nokbiology
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
Nokko Bio
 
กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)
กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)
กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)
Kel2ol3yte ™
 
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำสื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
savokclash
 
ตัวอย่างpowerpoint 1
ตัวอย่างpowerpoint 1ตัวอย่างpowerpoint 1
ตัวอย่างpowerpoint 1
Abhai Lawan
 

Similar to พฤติกรรมสัตว์ .pdf (20)

Minibook animal
Minibook animalMinibook animal
Minibook animal
 
1
11
1
 
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
1
11
1
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 
กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)
กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)
กุ้งเครย์ฟิช(Crayfish)
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
Behavior
BehaviorBehavior
Behavior
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
Project3
Project3Project3
Project3
 
Project3
Project3Project3
Project3
 
Primate-15-ก.ย.64.pdf
Primate-15-ก.ย.64.pdfPrimate-15-ก.ย.64.pdf
Primate-15-ก.ย.64.pdf
 
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำสื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
สื่อประกอบการสอนเรื่องสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ
 
Lecture12
Lecture12Lecture12
Lecture12
 
ตัวอย่างpowerpoint 1
ตัวอย่างpowerpoint 1ตัวอย่างpowerpoint 1
ตัวอย่างpowerpoint 1
 
Lecture12
Lecture12Lecture12
Lecture12
 

More from ssusera700ad

ความหลากหลายทางชีวภาพ slide biology diversity
ความหลากหลายทางชีวภาพ slide biology diversityความหลากหลายทางชีวภาพ slide biology diversity
ความหลากหลายทางชีวภาพ slide biology diversity
ssusera700ad
 
การย่อยอาหาร และระบบย่อยอาหารของมนุษย์human digestive sysytem
การย่อยอาหาร และระบบย่อยอาหารของมนุษย์human digestive sysytemการย่อยอาหาร และระบบย่อยอาหารของมนุษย์human digestive sysytem
การย่อยอาหาร และระบบย่อยอาหารของมนุษย์human digestive sysytem
ssusera700ad
 
ความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม human and enveronment
ความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม human and enveronmentความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม human and enveronment
ความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม human and enveronment
ssusera700ad
 
ไฟล์แนวข้อสอบ TGAT.pdf
ไฟล์แนวข้อสอบ TGAT.pdfไฟล์แนวข้อสอบ TGAT.pdf
ไฟล์แนวข้อสอบ TGAT.pdf
ssusera700ad
 
ความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diver
ssusera700ad
 
Photosynthesis Slide.pdf
Photosynthesis Slide.pdfPhotosynthesis Slide.pdf
Photosynthesis Slide.pdf
ssusera700ad
 
COVID-19_update110263
COVID-19_update110263 COVID-19_update110263
COVID-19_update110263
ssusera700ad
 
วิชาชีววิทยา ระบบสืบพันธุ์.pdf
วิชาชีววิทยา ระบบสืบพันธุ์.pdfวิชาชีววิทยา ระบบสืบพันธุ์.pdf
วิชาชีววิทยา ระบบสืบพันธุ์.pdf
ssusera700ad
 

More from ssusera700ad (9)

ความหลากหลายทางชีวภาพ slide biology diversity
ความหลากหลายทางชีวภาพ slide biology diversityความหลากหลายทางชีวภาพ slide biology diversity
ความหลากหลายทางชีวภาพ slide biology diversity
 
การย่อยอาหาร และระบบย่อยอาหารของมนุษย์human digestive sysytem
การย่อยอาหาร และระบบย่อยอาหารของมนุษย์human digestive sysytemการย่อยอาหาร และระบบย่อยอาหารของมนุษย์human digestive sysytem
การย่อยอาหาร และระบบย่อยอาหารของมนุษย์human digestive sysytem
 
ความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม human and enveronment
ความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม human and enveronmentความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม human and enveronment
ความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อม human and enveronment
 
Class9 DNA technology in secondary school
Class9 DNA technology in secondary schoolClass9 DNA technology in secondary school
Class9 DNA technology in secondary school
 
ไฟล์แนวข้อสอบ TGAT.pdf
ไฟล์แนวข้อสอบ TGAT.pdfไฟล์แนวข้อสอบ TGAT.pdf
ไฟล์แนวข้อสอบ TGAT.pdf
 
ความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diver
 
Photosynthesis Slide.pdf
Photosynthesis Slide.pdfPhotosynthesis Slide.pdf
Photosynthesis Slide.pdf
 
COVID-19_update110263
COVID-19_update110263 COVID-19_update110263
COVID-19_update110263
 
วิชาชีววิทยา ระบบสืบพันธุ์.pdf
วิชาชีววิทยา ระบบสืบพันธุ์.pdfวิชาชีววิทยา ระบบสืบพันธุ์.pdf
วิชาชีววิทยา ระบบสืบพันธุ์.pdf
 

พฤติกรรมสัตว์ .pdf