SlideShare a Scribd company logo
1 of 194
บทที่ 8
ความหลากหลาย
ทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
(biodiversity) หมายถึง ความหลากหลาย
ของสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆในการดำารงชีวิตอยู่
ในแหล่งที่อยู่อาศัยเดียวกันหรือแตกต่าง
กัน
ตัวอย่างสัตว์ไม่มีกระดูกสัน
หลัง
อาณาจักรโปรติสตา
- สาหร่าย
- โปรโตซัว
อาณาจักรโมเนอรา
- แบคทีเรีย
- สาหร่ายสีเขียวแกมนำ้าเงิน
ความหลากหลายทางความหลากหลายทาง
ชีวภาพชีวภาพ
แนว
โน้ม
สูญ
พันธุ์สูง
• สัตว์ที่ใกล้สูญ
พันธุ์ 586
ชนิด แนวโน้ม
ใกล้สูญพันธุ์
เพิ่ม 4 ชนิด/ปี
• ต่างประเทศแย่ง
TAXONOMY
คำาว่า อนุกรมวิธาน แปลเทียบมา
จากคำาศัพท์ taxonomy
( taxis = การจัดเรียงลำาดับ nomos
= กฎ ) ซึ่งหมายถึง " จำาแนกพันธุ์ "
โดยเฉพาะการจำาแนกพันธุ์ทางชีววิทยา
บางครั้งใช้คำาว่า systematics แทน
คำาว่า taxonomy ก็ได้เช่นกัน
การจัดแบ่งสิ่งต่างๆออกเป็น
หมวดหมู่ ให้ประโยชน์แก่
เราอย่างไร
การจัดสิ่งของต่างๆเช่น อุปกรณ์เครื่อง
ใช้ในบ้าน สำานักงานหรือห้างสรรพสินค้า
ให้เป็นพวกๆ จะให้ประโยชน์ในด้าน
ความสะดวก ซึ่งจะให้ประโยชน์ด้านนี้
มากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับวิธีการจัด ใน
ทางชีววิทยา เราทราบแล้วว่าสิ่งมีชีวิตเท่า
ที่รู้จักในปัจจุบันมีอยู่ไม่น้อยกว่า 1.7
ล้านชนิด ( species ) และยังรู้จักเพิ่ม
•ความสำาคัญของการศึกษาวิจัย
ด้านอนุกรมวิธาน
การศึกษาด้านอนุกรมวิธานมีความสำาคัญ
อย่างยิ่งต่อทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ
ทั้งนี้เพราะประเทศไทยอุดมด้วย
ทรัพยากรธรรมชาติหลายชนิด แต่ใน
ปัจจุบันการศึกษาวิจัยทางอนุกรมวิธานยังอยู่
ในระยะเริ่มต้น เรายังไม่ทราบว่าประเทศ
เรานั้นมีทรัพยากรธรรมชาติ เช่น พืช
สัตว์ โปรติสท์ แร่ธาตุ อยู่กี่ชนิดและ
แต่ละชนิดมีปริมาณมากน้อยเพียงใด
การที่เราจะนำาทรัพยากรธรรมชาติ
เหล่านั้นมาใช้ให้ได้ผลดียิ่ง ต้องรู้
•ความสำาคัญของการศึกษาวิจัย
ด้านอนุกรมวิธาน
นักวิชาการป่าไม้ เมื่อจะจัดวาง
โครงการป่า จำาเป็นต้องสำารวจป่าไม้
ถึงชนิดพันธุ์ไม้ ที่เจริญอยู่ในระบบ
นิเวศป่าเสียก่อน จึงจะสามารถวาง
โครงการที่สมบูรณ์แบบได้ หรือการ
ควบคุมศัตรูพืช และชนิดของศัตรู
ธรรมชาติ ( natural enemies )
ที่จะนำามาควบคุมเสียก่อนจึงจะ
สามารถนำามาปราบได้เป็นผลสำาเร็จ
•ประวัติการจัดจำาพวกสิ่งมีชีวิต
มนุษย์ในสมัยก่อนจำาแนกพืชและสัตว์
ออกเป็นพวกๆ โดยยึดหลักการให้
ประโยชน์หรือให้โทษเป็นเกณฑ์ ซึ่ง
การจัดจำาแนกดังกล่าวช่วยให้มนุษย์มี
ความเป็นอยู่อย่างปลอดภัย และสุข
สมบูรณ์แต่ความสัมพันธ์และโครงสร้าง
ต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตแทบจะไม่มีการ
ศึกษากันเลย แต่ยุคต่อมานักชีววิทยา
จำาแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นพวกๆ เพื่อจุดมุ่ง
หมายอื่นๆ ประกอบ เช่น เพื่อต้องการ
ทราบความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตควบคู่กับ
ชีวิตความเป็นอยู่ และต้องการทราบถึง
•ประวัติการจัดจำาพวกสิ่งมีชีวิต
เมื่อประมาณ 350 ปี ก่อนคริสศักราช นัก
ปรัชญาชาวกรีกชื่อ อริสโตเติล ( Aristotle)
พร้อมทั้งสานุศิษย์ได้จำาแนกสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์
เท่าที่รู้จักประมาณ 1000 ชนิด ออกเป็น
พวกๆดังแผนภาพ
สิ่งมีชีวิต
พืช
สัตว์
ไม้ยืนต้น (Tree)
ไม้พุ่ม (Shrubs)
ไม้ล้มลุก(Herbs)
สัตว์มีกระดูกสันหลัง มีเลือดสีแดง
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ไม่มีเลือดสีแดง
สัตว์ที่
อาศัยอยู่
ในนำ้าจัด
เป็นพวก
เดียวกับ "
ปลา ” .
•ประวัติการจัดจำาพวกสิ่งมีชีวิต
Carolus Linnaeus นัก
วิทยาศาสตร์ชาวสวีเดน ได้จำาแนก
พืชมีดอกเป็นหมวดหมู่ โดยถือเอาจำานวน
เกสรตัวผู้เป็นเกณฑ์ในการแบ่ง ซึ่งใน
ปัจจุบันนี้เกณฑ์ของ Linnaeus ก็ยังคงใช้
กันอยู่ เพราะจำานวนเกสรตัวผู้บ่งบอกสาย
สัมพันธ์ระหว่างพืชได้ดี
หลักเกณฑ์การจัด
จำาแนกสิ่งมีชีวิต
ลักษณะต่างๆ ที่ใช้ในการ
จำาแนกสิ่งมีชีวิต
1. ลักษณะภายนอก (morphology)
และโครงสร้างภายใน (anatomy)
2. แบบแผนการเจริญเติบโต
3. ซากดึกดำาบรรพ์
4. โครงสร้างของเซลล์ และออร์
กาเนลล์
5. สรีรวิทยา
6. ลักษณะทางพันธุกรรม
เกณฑ์ที่ใช้จำาแนกสิ่งมีชีวิต
1. ลักษณะโครงสร้างภายในและ
ภายนอก
– โครงสร้างภายนอกเหมือนกัน หรือ
คล้ายคลึงกัน แต่อาจมีโครงสร้าง
ภายในไม่เหมือนกัน
– เช่น ครีบของปลากับครีบของ
ปลาวาฬ
•ลักษณะและเกณฑ์ที่ใช้ในการจัด
จำาแนกสิ่งมีชีวิต
Homologous
structure
Human
Bat
Dog
Whale
2. ลักษณะแบบแผนการเจริญ
เติบโตของเอ็มบริโอ
–โดยเฉพาะสัตว์มีกระดูกสันหลัง
–เช่น ปลา นก กบ และคน
–ในระยะตัวอ่อนจะมีลักษณะช่อง
เหงือกที่คล้ายคลึงกัน
•ลักษณะและเกณฑ์ที่ใช้ในการจัด
จำาแนกสิ่งมีชีวิต
แบบแผนของการเจริญ
เติบโตในระยะตัว อ่อนข
องคน กระต่าย ไก่ และปลา
3. ลักษณะของซากดึกดำาบรรพ์
ของสิ่งมีชีวิต (Fossil)
–เทอราโนดอล กับ อาร์คีออป
เทอรริกซ์
–มีขากรรไกรยาว มีฟัน
ปลายปีกมีนิ้ว
–คล้ายคลึงกันจึงจัดนกและ
สัตว์เลื้อยคลานไว้เป็นพวก
ใกล้เคียงกัน
4. ลักษณะโครงสร้างและสาร
เคมีภายในเซลล์
–เช่น คลอโรพลาสต์ มีในเซลล์
พืชแต่ไม่มีในเซลล์สัตว์
–เซนทริโอล และไลโซโซมพบ
ในเซลล์สัตว์เท่านั้น
– DNA, RNA
5. ลักษณะพฤติกรรมของสิ่งมี
ชีวิต
–เช่นจิงโจ้ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วย
นำ้านมที่มีเฉพาะทวีป
ออสเตรเลีย แต่มีกระเป๋าหน้า
ท้อง
–จึงจัดอยู่คนละกลุ่มกับสัตว์เลี้ยง
ลูกด้วยนำ้านมในทวีปอื่นๆ
ลำาดับในการจัดหมวด
หมู่
Kingdom
Phylum or Division
Class
Order
Family
Genus
Species
•ลำาดับการจัดหมวดหมู่
ในระหว่างลำาดับขั้นของสิ่งมีชีวิต อาจ
แบ่งเป็น ซุปเปอร์ (Super) หรือ ซับ
(Sub) ได้อีกตามความเหมาะสม เช่น อาจ
แบ่งเป็นซุปเปอร์คลาส (Superclass)
อยู่ระดับเหนือคลาส หรือ ซับคลาส
อยู่ตำ่ากว่าคลาส ในลำาดับขั้นอื่น ๆ ก็เช่น
เดียวกันสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในหมวดหมู่เดียวกัน
จะมีลักษณะร่วมกัน
•SPECIES คืออะไร
species คือ ลำาดับขั้นย่อยสุดของ
การจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต ซึ่ง
ประกอบด้วยกลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่มี
ลักษณะทางกรรมพันธุ์เหมือนกัน และ
ผสมพันธ์กันได้ให้ลูกที่ไม่เป็นหมัน
หรือ species คือ ลำาดับขั้นย่อยสุดของ
การจัดหมวดหมู่สิ่งมีชีวิต ที่ประกอบด้วย
กลุ่มของสิ่งมีชีวิตที่มีกลุ่มยีน (gene pool )
ของประชากรมาจากบรรพบุรุษ เป็นต้น
• SPECIES คืออะไร
สัตว์ที่มีรูปร่างภายนอกเหมือนกันมาก
แต่ถูกจัดอยู่คนละspecies ก็ได้ เช่น กบ 2
species คือ Hyla versicolar เละ Hyla
femoralis มีลักษณะภายนอกเหมือนกันมากและ
มีการผสมพันธุ์ในบริเวณเดียวกัน แต่พบว่าไม่มี
การผสมพันธุ์ต่าง species กันเกิดขึ้น เพราะ
เสียงร้องของตัวผู้ซึ่งตัวเมียจะจำาได้ในเวลาก่อน
ผสมพันธุ์จะไม่เหมือนกัน
ถ้านำาสัตว์ 2 species มาผสมพันธุ์กัน
เช่น ม้ากับลา จะได้ลูกออกมาเป็นล่อ ซึ่งล่อ
จะเป็นหมัน กล่าวคือ ล่อผสมกันเองจะไม่มีลูก
ดังนั้น ม้ากับลาควรเป็นสัตว์ในจีนัสเดียวกัน
แต่คนละ species กัน
การตั้งชื่อสิ่งมีชีวิต
1. ชื่อสามัญ (common name) เป็นชื่อ
เรียกสิ่งมีชีวิตชนิดใดชนิดหนึ่ง ซึ่งแตกต่างกันไป
ตามภาษาและท้องถิ่น และมักมีชื่อเรียกกันอย่าง
สับสน ก่อให้เกิดปัญหามากมาย
2. ชื่อวิทยาศาสตร์ ( Scientific name
) เป็นชื่อเฉพาะเพื่อใช้เรียกสิ่งมีชีวิตเป็นแบบ
สากล ซึ่งนักวิทยาศาสตร์ทั่วโลก ไม่ว่าชาติใด
ภาษาใดรู้จักกัน โดยใช้ภาษาละตินสำาหรับตั้งชื่อ
วิทยาศาสตร์
Carolus Linnaeus นักชีววิทยาชาว
สวีเดนเป็นผู้ริเริ่มในการตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ให้กับสิ่ง
มีชีวิต เมื่อ พ. ศ. 2310 โดยเสนอให้ใช้ 2
ชื่อ เรียกว่า Binomial nomenclature
หลักเกณฑ์การเขียนชื่อ
วิทยาศาสตร์
(Scientific name) ของ
สิ่งมีชีวิต• ชื่อวิทยาศาสตร์จะต้องเป็นภาษาลาตินหรือ
ภาษาอื่นที่เปลี่ยนแปลงมาจากภาษาลาติน
• ให้เขียนชื่อ Family ด้วยอักษรตัวใหญ่เสมอ
คำาลงท้าย family group ของพืชและสัตว์มี
ดังนี้
– Family พืช มักลงท้ายด้วย – aceae
เช่น Rosaceae
– Family สัตว์ มักลงท้ายด้วย – idae
เช่น Culicidae
• ให้เขียนชื่อ subgenus ในวงเล็บด้วยอักษร
ตัวใหญ่ตัวเอน ถ้าไม่เขียนด้วยตัวเอนต้อง
ขีดเส้นใต้ชื่อนั้นเสมอ โดยขีดไม่ต่อกับชื่อ
genus เช่น Anopheles, (Cellia)
• ให้เขียนชื่อ species ด้วยอักษรตัวเล็กตัวเอน
ถ้าไม่เขียนด้วยตัวเอนต้องขีดเส้นใต้ชื่อนั้น
เสมอ โดยขีดไม่ต่อกับชื่อ genus และ
subgenus เช่น Anopheles (Cellia)
sundaicus
• การเขียนชื่อผู้ตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ให้เขียนตามหลัง
หลักเกณฑ์การเขียนชื่อ
วิทยาศาสตร์
(Scientific name) ของสิ่งมี
ชีวิต
ตัวอย่างชื่อวิทยาศาสตร์
•
เลขทะเบียน : 7-53000-001-0025
ชื่อทั่วไป : โกสน
ชื่อสามัญ : Croton
ชื่อพื้นเมือง : ,โกสน โกต๋น
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Codiaeum variegatum BIume.
ชื่อวงศ์ : EUPHORBIACEAE
การจัดจำาแนกสิ่งมีชีวิต
ในปัจจุบัน
ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์ได้
จัดจำาแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็น 5
อาณาจักร (Kingdom) โดยอาศัย
แนวคิดของวิตเทเกอร์
(Whittaker, 1969) คือ
1. Kingdom Monera ได้แก่
แบคทีเรีย และสาหร่ายสีเขียว
แกมนำ้าเงิน
2. Kingdom Protista ได้แก่
โปรโตซัวและสาหร่าย
3. Kingdom Fungi ได้แก่ เห็ด
ราต่าง ๆ ราเมือก
4. Kingdom Plantae ได้แก่
พืชที่มีท่อลำาเลียงและไม่มีท่อลำาเลียง
KINGDOM ANIMALIA or
METAZOA
หลักในการพิจารณาและจัดสิ่งมี
ชีวิตเข้าไว้ในอาณาจักรสัตว์
- เซลล์เป็นแบบ Eucaryotic cell มีไรโบโซม
เป็นชนิด 80s
- ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ที่ไม่มีผนัง
เซลล์ ทำาให้เซลล์มีลักษณะอ่อนนุ่มและแตกต่างไป
จากเซลล์พืช เซลล์เหล่านี้จะมารวมกันเป็นเนื้อเยื่อ
เพื่อทำาหน้าที่เฉพาะอย่าง
- สร้างอาหารเองไม่ได้ จึงต้องกินสิ่งมีชีวิตชนิด
อื่น
- โดยทั่วไปเคลื่อนที่ได้ด้วยตัวเองตลอดชีวิต
- ส่วนใหญ่สามารถตอบสนองต่อสิ่ง
เร้าได้อย่างรวดเร็วเนื่องจากมี
ระบบประสาท มีอวัยวะรับความ
รู้สึกและตอบสนอง เช่น การกิน
อาหาร การสืบพันธุ์ การขับถ่าย
หลักที่สำาคัญที่ใช้ในการแบ่งหมวด
หมู่สัตว์
1. ระดับการร่วมกันทำางานของเซลล์
(Level of Organization)
แบ่งสัตว์ออกเป็น 2 พวกใหญ่ๆคือ
1 สัตว์ที่มีเนื้อเยื่อ 2 ชั้น
(Diploblastica animal) ซึ่งประกอบ
ด้วยเนื้อเยื่อชั้นนอก (ectoderm) และ
เนื้อเยื่อชั้นใน (endoderm) ได้แก่พวก
ฟองนำ้า และพวกซีเลนเตอเรท
2 สัตว์ที่มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น
(Triploblastica animal) ซึ่งประกอบ
2 สมมาตร (Symmetry)
โดยดูว่าสัตว์แต่ละชนิดมีสมมาตร
(การตัดหรือผ่าออกทำาให้ได้ 2 ส่วนที่เหมือน
กัน) เป็นอย่างไร แบ่งเป็น
1. สมมาตรแบบรัศมี (Radial
Symmetry) สมมาตรแบบนี้มีลักษณะแบบ
รูปทรงกระบอกหรือล้อรถ การตัดถ้าให้ผ่าน
แนวจุดศูนย์กลางแล้วจะตัดอย่างไรก็ได้ 2
ส่วนที่เท่ากันเสมอ เช่น สัตว์พวกไฮดรา และ
แมงกะพรุน
2. สมมาตรแบบผ่าซีก (Bilateral
3 ทางเดินอาหาร (Digestive tract)
ทางเดินอาหารของสัตว์แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ
1 ทางเดินอาหารแบบช่องร่างแห
(Channel network) เป็นทางเดินอาหารที่
ไม่ใช่ทางเดินอาหารที่แท้จริง แต่เป็นเพียง
ทางผ่านของนำ้าจากภายนอกเข้าสู่ภายในลำาตัว
เท่านั้นประกอบด้วยช่องหลายช่องซึ่งอาจมีการ
ติดต่อถึงกันในแต่ละช่องด้วย ได้แก่ทางเดิน
อาหารของฟองนำ้า
2 ทางเดินอาหารแบบปากถุง (One-
hole sac) เป็นทางเดินอาหารที่มีช่องเปิด
ทางเดียว ช่องเปิดนี้ทำาหน้าที่เป็นทางเข้าของ
อาหารและทางออกของกากอาหารไปพร้อมๆ กัน
ได้แก่ทางเดินอาหารของซีเลนเตอเรท และหนอน
4 ช่องตัว (coelom)
ช่องตัวพบในสัตว์ที่มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น
เท่านั้นโดยเป็นช่องที่เกิดขึ้นระหว่างชั้น
เนื้อเยื่อของลำาตัว (ไม่ใช้ทางเดินอาหาร)
ช่องตัวแบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ
1 สัตว์ที่ไม่มีช่องตัว (Acoelomate
animal) สัตว์กลุ่มนี้มีเนื้อเยื่อชั้นกลางซึ่ง
ประกอบด้วยเซลล์หยุนๆ บรรจุอยู่เต็มไปหมด
ได้แก่พวกหนอนตัวแบน
2 สัตว์ที่มีช่องตัวแบบเทียม
(Pseudocoelomate animal) สัตว์กลุ่ม
นี้มีช่องตัวที่อยู่ระหว่างเนื้อเยื่อชั้นกลางกับ
เนื้อเยื่อชั้นนอกหรือเนื้อเยื่อชั้นใน
ได้แก่ พวกหนอนตัวกลม
5 การแบ่งเป็นปล้อง
(Segmentation)
การแบ่งเป็นปล้องเป็นการเกิดรอยคอดขึ้น
กับลำาตัว แบ่งออกเป็น
1 การแบ่งเป็นปล้องเฉพาะ
ภายนอก (Superficial
Segmentation)เป็น การเกิดปล้องขึ้น
เฉพาะที่ส่วนผิวลำาตัวเท่านั้น ไม่ได้เกิดตลอด
ตัว เช่น พวกพยาธิตัวตืด
2 การแบ่งเป็นปล้องที่แท้จริง
(Metameric Segmentation) เป็นการ
เกิดปล้องขึ้นตลอดลำาตัวทั้งภายนอก
และภายใน โดยข้อปล้องเกิดขึ้นที่
เนื้อเยื่อชั้นกลาง ทำาให้เนื้อเยื่อชั้นอื่นๆเกิด
• ภาพแสดงการจัดสิ่งมีชีวิตใน
Kingdom metazoa (Kingdo
m Animalia)
•Kingdom metazoa
(Kingdom Animalia) สามารถแบ่ง
ออกเป็น Phylum ดังนี้
Phylum Porifera Phylum
Mollusca
Phylum Coelenterata
Phylum Arthropoda
Phylum Platyhelminthes
Phylum Echinodermata
Phylum Nematoda
Phylum Chordata
Phylum Annelida
PHYLUM PORIFERA
(Greek Roots ;
Porus=Pore + Fera=to
Bear) สัตว์ที่จัดอยู่ในไฟ
ลัมนี้เรียกกันทั่วไปว่า
สัตว์ที่มีรูพรุนรอบตัวหรือ
ฟองนำ้า (sponge) ซึ่งมี
ลักษณะสำาคัญดังนี้
- มีสมมาตรแบบรัศมี (Radial symmetry)
หรือไม่มีสมมาตร (Asymmetry)
- มีเนื้อเยื่อ 2 ชั้น ชั้นนอกทำาหน้าที่เป็นผิวลำาตัว
หรืออิพิเดอร์มีส ส่วนชั้นในประกอบด้วยเซลล์
พิเศษเรียกว่า Choanocyte หรือ Collar
cell ซึ่งเป็นเซลล์ที่มีแฟลกเจลลา 1 เส้นและ มี
ปลอกคอ (collar) บุอยู่โดยรอบเรียกเซลล์ชั้นนี้ว่า
gastral layer
- ทางเดินอาหารเป็นแบบช่องร่างแห
(Channel network) ซึ่งประกอบด้วยรูเปิด
เล็กๆ (ostia) ที่บริเวณผิวลำาตัวรอบตัว ทำา
หน้าที่เป็นทางนำ้าไหลเข้าภายในตัวและมีรู
ขนาดใหญ่ (osculum) ทำาหน้าที่เป็นทางนำ้า
ไหลออกจากตัว
- ไม่มีระบบหมุนเวียน ระบบหายใจ ระบบขับ
ถ่าย และระบบประสาท
- มีโครงร่างภายใน (Endoskeleton) เรียก
ว่าหนามฟองนำ้า (spicule) ซึ่งมักจะเป็นสาร
พวกหินปูนหรือแก้ว (silica) บางชนิดมีโครง
ร่างเป็นพวกใยโปรตีน(spongin) ทำาให้ตัว
ฟองนำ้ามีลักษณะนุ่มนิ่ม
- การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศโดยการแตก
หน่อ และการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศโดยกา
รสร้างสเปิร์มและไข่ผสมกัน และจะได้ตัวอ่อนที่มี
ขนซีเลียว่ายนำ้าได้ และต่อมาก็หาที่เกาะเจริญ
เป็นฟองนำ้าเต็มวัยต่อไป
Phylum Porifera แบ่งเป็น 4 Class
1 Class Calcispongiae
คลาสแคลซิสปองเจีย (Class
Calcispongae) ฟองนำ้าคลาสนี้มีขนาดเล็ก
มีโครงสร้างเป็นสารจำาพวกหินปูน
(Calcareous Spicule) จึงเรียกชื่อทั่วไป
ว่าฟองนำ้าหินปูน (Calcareous sponge)
ได้แก่ ฟองนำ้ารูปแจกัน (Scypha) ลิวโคโซลิ
เนีย (Leucosolenea)
2 Class
Hyalosponga
e
คลาสไฮยาโลส
ปองเจีย(Class
Hyalospongae)
ฟองนำ้าคลาสนี้มีโครง
ร่างเป็นสารจำาพวก
ซิลิกา (siliceous
spicule) จึงเรียกชื่อ
กันทั่วไปว่าฟองนำ้า
แก้ว (Glass
sponge) พวกนี้พบ
เฉพาะในนำ้าเค็มและมัก
อยู่ในระดับลึก ได้แก่
3 Class
Demospongia
e
คลาสเดโมสปองเจีย
(Class
Demospongiae)
ฟองนำ้าในคลาสนี้มีใย
โปรตีนเป็นโครงร่าง
บางชนิดอาจจะมีหนาม
ฟองนำ้าแก้วปนอยู่ด้วย
ส่วนใหญ่อาศัยอยู่ใน
นำ้าเค็ม เช่น ฟองนำ้าถู
ตัว (spongia) บาง
4 Class
Sclerospongae
คลาสสเคลอโรส
ปองเจีย (Class
Sclerospongae) เป็น
ฟองนำ้า Leuconoid ที่
มีการเกาะของ
แคลเซี่ยม
คาร์บอนเนตเป็นรูป
คล้ายเข็ม และมี
Spongin
(โครงสร้างเส้นไย
โปรตีน)อยู่ด้วยกัน พบ
สัตว์จำาพวกฟองนำ้ามัก
จะเจริญและอาศัยอยู่ใน
บริเวณแนวหินปะการัง
ดังนั้นฟองนำ้าจึงเป็น
ส่วนหนึ่งที่ทำาให้เกิด
สมดุลธรรมชาติ
- เป็นที่อยู่อาศัยของ
สัตว์นำ้าขนาดเล็กและ
พวกลูกกุ้ง ลูกปู ลูกปลา
ทำาให้มัวอ่อนรอดพ้น
จากการถูกจับกินและ
ทำาให้มีโอกาสในการ
เจริญเป็นตัวเต็มวัยได้
มากยิ่งขึ้น
PHYLUM CEOLENTERATA
(Greek Roots ;
Koilos=Hollow +
Enteron=Gut) สัตว์
ที่จัดอยู่ในไฟลัมนี้
เรียกกันทั่วๆไปว่า
พวก ซีเลนเตอเรท
(Coelenterate)ซึ่งมี
ลักษณะสำาคัญดังนี้
- มีสมมาตรแบบรัศมี (Radial
symmetry)
- มีเนื้อเยื่อ 2 ชั้นคือ เนื้อเยื่อชั้นนอกทำา
หน้าที่เป็นผิวลำาตัวเรียกว่า อิพิเดอร์มีส
(epidermis) และเนื้อเยื่อชั้นในทำาหน้าที่
เป็นเยื่อบุทางเดินอาหารเรียกว่า กาสโตรเด
อร์มีส (gastrodermis) ระหว่างเนื้อเยื่อชั้น
นอกและเนื้อเยื่อชั้นในมีสารลักษณะคล้ายวุ้น
แทรกอยู่ เรียกว่า ชั้นมีโซเกลีย (mesoglea
)
- ทางเดินอาหารเป็นแบบถุงไม่สมบูรณ์ มี
ปากแต่ไม่มีทวารหนัก ช่องทางเดินอาหารนี้
อยู่ กลางลำาตัว ทำาหน้าที่เป็นทั้งทางเดิน
อาหารและระบบหมุนเวียนเรียกว่า กาสโตร
- ไม่มีระบบหายใจ ระบบหมุนเวียน
โลหิต ระบบขับถ่ายโดยเฉพาะ มีระบบ
การแลกเปลี่ยนก๊าซโดยการแพร่
- ระบบประสาทเป็นแบบข่ายใยประสาท
(Nerve net)
- สัตว์กลุ่มนี้มีรูปร่างเป็น 2 แบบ คือ
รูปร่างแบบต้นไม้เรียกว่า
โพลิป (Polyp) เช่น ไฮดรา
ปะการัง ดอกไม้ทะเล และรูปร่างคล้ายร่ม
หรือกระดิ่งควำ่าเรียกว่า
เมดูซ่า (Medusa) ได้แก่ แมงกะพรุนชนิด
ต่างๆ
-สัตว์กลุ่มนี้อาศัยอยู่ในนำ้าทั้งหมด มีทั้งนำ้า
- การสืบพันธุ์มีทั้งแบบอาศัยเพศและไม่
อาศัยเพศ แบบอาศัยเพศ คือแตกหน่อ
สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ มีวงชีวิตแบบสลับคือ
ทั้ง Polyp และ medusa อยู่ในวงชีวิต
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศจะเกิดขึ้นใน
ช่วงของชีวิตที่มีรูปร่างเป็น medusa และ
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศจะเกิดขึ้นใน
ช่วงชีวิตที่มีรูปร่างเป็นแบบ polyp เสมอ
Coelenterate แบ่ง
ออกเป็น 4 Class
1 Class
Hydrozoa
คลาสไฮโดรซัว (Class
Hydrozoa) สัตว์ในคลาสนี้
อาศัยทั้งในนำ้าจืดและนำ้าเค็ม
ส่วนใหญ่มีรูปร่างเป็นแบบ
polyp ได้แก่ ไฮดรา
(Hydra) โอบีเลีย (Obelia)
บางชนิดมีรูปร่างแบบ medu
sa เช่น แมงกระพรุนนำ้าจืด
2 Class
Scyphozoa
คลาสไซโฟซัว
(Class
Scyphozoa) สัตว์
ในคลาสนี้อาศัยอยู่
เฉพาะในนำ้าเค็ม
เท่านั้น ส่วนใหญ่มี
รูปร่างแบบ
medusa ได้แก่
แมงกะพรุน (Jelly
fish) มีลักษณะเป็น
วุ้นมีหนวด
3 Class
Anthozoa
คลาสแอนโทซัว
(Class
Anthozoa)สัตว์ใน
คลาสนี้อาศัยอยู่
เฉพาะในทะเล
เท่านั้น มีรูปร่าง
แบบ polyp อย่าง
เดียว มักเกาะอยู่กับ
ที่ อาจอาศัยอยู่
เดี่ยวๆหรือรวม
กลุ่มเป็น colony
ก็ได้ ได้แก่
ปะการัง (Coral)
โครงสร้างของ Sea anemon
สัตว์ในกลุ่มนี้จัดว่ามีความสำาคัญ
อย่างมาก
- แนวหินปะการัง ซึ่งให้ความ
สวยงาม เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ
- มีความสำาคัญต่อระบบนิเวศ เพราะ
แนวหินปะการังเป็นที่อยู่อาศัย ที่หลบภัย ที่
หาอาหาร ที่ผสมพันธุ์ แพร่พันธุ์ และการ
เจริญของตัวอ่อนของสัตว์ทะเลหลายชนิดก็
อาศัยแนวหินปะการังเป็นแหล่งที่อยู่และที่
เจริญเติบโต
- โทษของสัตว์กลุ่มนี้เช่น พวกแมงกระ
พรุนไฟหลายชนิดมีพิษร้ายแรง ถ้าถูกเข้าจะ
ทำาให้ได้รับอันตราย เป็นผื่นคันเป็นแผล ปวด
PHYLUM
PLATYHELMINTHES
(Greek Roots ;
Platys = Flat +
Hemins=Worm)
สัตว์ที่จัดอยู่ในไฟ
ลัมนี้เรียกกันทั่วไป
ว่าพวกหนอนตัว
แบน (Flat Worm)
มีลักษณะสำาคัญ
ดังนี้
- มีสมมาตรเป็นแบบครึ่งซีก (bilateral
symmetry)
- ไม่มีช่องว่างในลำาตัว (Acoelomate
animal) เนื่องจากเนื้อเยื่อชั้นกลางมีเนื้อเยื่อ
หยุ่นๆ
- ไม่มีข้อปล้อง แต่บางชนิด เช่น พยาธิตัวตืด มี
ข้อปล้องแต่เป็นข้อปล้องที่เกิดขึ้นเฉพาะที่ผิวลำาตัว
เท่านั้น
- พวกที่ดำารงชีวิตแบบพยาธิ (Parasitic
type) จะมีสารคิวติเคิล (cuticle) ป้องกัน
อันตรายซึ่งจะเกิดจากนำ้าย่อยของผู้ที่มันเป็นปรสิต
อยู่ (Host)
- ไม่มีระบบหมุนเวียนโลหิต ไม่มีเส้นเลือด ไม่มี
หัวใจ สารอาหารไปเลี้ยงเซลล์โดยการแพร่จาก
- ไม่มีอวัยวะที่ใช้ในการหายใจโดย
เฉพาะ
- ระบบทางเดินอาหารเป็นแบบไม่
สมบูรณ์ มีปากแต่ไม่มีทวารหนัก และทาง
เดินอาหาร
- ระบบระบบขับถ่ายใช้เซลล์ชนิดพิเศษเรียก
เฟลมเซลล์ (Flame cell) แทรกอยู่ทั่วลำา
ตัว
- มีระบบประสาทอยู่ทางด้านหน้าและแตก
แขนงออกไปทางด้านข้างของลำาตัว
- ระบบสืบพันธุ์ จัดเป็นพวกกระเทย
(Hermaprodite) คือมีทั้ง 2 เพศในตัว
เดียวกัน สามารถผสมพันธุ์ได้ในตัวเอง (self
fertilization) และผสมพันธุ์ข้ามตัว (cross
1 Class
Turbellaria
ส่วนมากดำารง
ชีวิตแบบอิสระ เช่น
พลานาเรีย
(Planaria) หนอน
หัวขวาน มีขนาด
เล็กยาวประมาณ 1
cm.หัวท้ายมน พบ
ได้ตามแหล่งนำ้าจืด
เช่น บ่อ สระ คู
2 Class
Trematoda
ดำารงชีวิตแบบ
ปรสิตในสัตว์ทั่วไป
ได้แก่พวกพยาธิใบไม้
ชนิดต่างๆ ผิวรูปร่าง
คล้ายใบไม้หนังมีคิวติ
เคิลหนา มีปากดูด 2
อัน ปกติมี host
มากกว่า 1 ชนิด เช่น
พยาธิใบไม้ในตับ
แกะ (Fasciola
hepatica) พยาธิ
ใบไม้ในตับคน
- มีสมมาตรแบบ bilateral symmetry
- มีช่องว่างในลำาตัวแบบเทียม
(Pseudocoelomate animal) โดยช่อง
ว่างอยู่ระหว่างเนื้อเยื่อชั้นกลางและเนื้อเยื่อชั้น
ใน
- ลำาตัวกลมยาว แหลมหัวแหลมท้าย ไม่มี
ข้อปล้อง ผิวลำาตัวเรียบ มีสารคิวติเคิล
หนาหุ้มตัว
- ไม่มีระบบหมุนเวียนเลือด แต่ใช้ของเหลว
ในช่องว่างเทียมช่วยในการลำาเลียงสาร
- ไม่มีอวัยวะหายใจโดยเฉพาะ ใช้ผิวหนัง
ในการแลกเปลี่ยนก๊าซ
PHYLUM NEMATODA
- ระบบประสาทประกอบด้วยปมประสาทรูป
วงแหวน (Nerve ring) อยู่รอบคอหอย
และมีแขนงประสาทแยกออกทางด้านท้อง
และทางด้านหลัง
- เป็นสัตว์แยกเพศ ตัวเมียมักมีขนาดใหญ่
กว่าตัวผู้เนื่องจากตัวเมียต้องทำาหน้าที่ในการ
ออกไข่
หนอนตัวกลมแบ่งออกเป็น 3 พวก
คือ
1 พยาธิตัวกลมในสัตว์ (Animals round
worms)
- พวกที่อยู่ในลำาไส้ (Intestine round worms)
- พวกที่อยู่ในกล้ามเนื้อ (Tissue round worms)
2 หนอนตัวกลมในพืช เช่น ไส้เดือนฝอย
(nematod)
3 พวกดำารงชีวิตอย่างอิสระ เช่นหนอนนำ้าส้ม
สายชู
หนอนตัวกลมในไฟลัมนี้ที่สำาคัญเช่น
พยาธิตัวจี๊ด ในคนถ้าขึ้นสมองอาจทำาให้
ปวดศีรษะ หมดสติและเป็นอัมพาตได้ คนเป็น
พยาธิโรคเท้าช้าง จะอุดกั้นทางเดินของ
ท่อนำ้าเหลือง ทำาให้เนื้อเยื่อใต้ท่อนำาเหลือง
ขยายพองออกเพราะมีนำาเหลืองคั่งอยู่ มักจะ
เป็นที่ขา
ผู้ป่วยโรคเท้าช้า
พยาธิปากขอ
ดูดเลือดหรือนำาของ
เยื่อบุลำาไส้เล็กทำาให้
ตัวซีด อ่อนเพลีย
มึนงง ถ้าเป็นมาก
อาจทำาให้หัวใจวาย
ได้ ยาถ่ายพยาธิ
ชนิดนี้ที่ได้ผลดีคือ
มะเกลือ
ไส้เดือน
ไฟลัมแอนเนลิดา (Phylum
Annelida)
• หนอนปล้อง ลำาตัวแบ่งเป็นปล้อง
ชัดเจน มีเนื้อเยื่อสามชั้นมี
สมมาตรแบบด้านข้าง มีช่องตัว
ที่แท้จริง (coelom) มีระบบไหล
เวียนและระบบประสาท
• ได้แก่ แม่เพรียง (Nereis)
• หนอนฉัตร (trbe worm)
• ไส้เดือนดิน (Pheretima)
ไฟลัมมอลลัสกา (Phylum
Mollusca)• สิ่งมีชีวิตในไฟลัมนี้รวมเรียกว่า มอลลัส
(Mollus) เป็นพวกที่มีลำาตัวอ่อนนุ่ม มีเปลือก
แข็งหุ้มภายนอกมีจำานวนมากอันดับสองรอง
จากแมลงพบทั่วไปบนบกในนำ้าเค็ม นำ้าจืด
และนำ้ากร่อย ส่วนใหญ่ดำารงชีวิตเป็นอิสระ
เคลื่อนที่และว่ายนำ้าไปมาได้ มีบางชนิดยึดติด
กับหิน ฝังตัวในดินและทราย พวกนี้มีเนื้อเยื่อ
3      ชั้น แบ่งเป็นกลุ่มๆ ดังนี้
• 1. หอยฝาเดียว (gastropoda)
• 2. หอยสอง  ฝา (pelecypoda)
• 3.  พวกที่มีลำาตัวเป็นรูปรี
Mouth
Mantle
Foot
Gill
Anut
Shell
Neopilina sp.
ลิ่นทะเล (chiton) หรือหอยแปดเกล
หอยงาช้าง
ไฟลัมอาร์โทรโพดา
(Phylum Arthropoda)
• สัตว์ในกลุ่มนี้รวมเรียก
      ว่า อาร์โทรพอด เป็นกลุ่มที่
 มีชนิดและจำานวนมาก มี
      ลักษณะสำาคัญร่วมกัน คือ
• มีเปลือกแข้งหุ้มลำาตัว
(exoskelton) ลำาตัวแบ่งเป็น 3
    ส่วน คือ
• บางกลุ่มอาจมีส่วนหัวและส่วนอก
 เชื่อมเป็นส่วนเดียวกันเรียกว่า เซฟ
 าโลทอแรกช์ (cephalothorax)
•  มีหนวด (antenna) และมีระยางค์ที่
 เป็นข้อๆ ต่อกันรยางค์ทำาหน้าที่ใน
การเคลื่อนที่และจับอาหาร
•   ไรนำ้า (daphnia)
•  เพรียงหิน (Balanus)
• กั้งตั๊กแตน (Squilla mantis)
•  ตัวกะปิ (Oniscus)
ไฟลัมเอไคโนเดอร์
 มาตา (Phylum Echinodermata)
• สัตว์ในไฟลัมนี้อยู่ในทะเล
  ทั้งหมด     ลักษณะสำาคัญ คือ
• ผิวหยาบขรุขระเพราะมีสารประกอบ
พวกหินปูน          ผสมอยู่
•   มีรูปร่างกลมแบน สีสัน
 สวยงาม ลำาต้นมีส่วนยื่นออกจาก
จุดศูนย์กลางในแนวรัศมีเป็นแขน
จำานวน 5    แฉก หรือทวีคูณ 5  แฉก
•  ปากอยู่ด้านล่าง ทวารหนักเปิดทาง
   ด้านบน มี มีทิวบ์ฟีต (tube
feet) สำาหรับใช้ในการเคลื่อนที่และจับ
      อาหาร
•  บางพวกมีการมีการสืบพันธุ์โดยไม่
  อาศัยเพศ
และสามารถงอกส่วนที่ขาดหายไป
  ได้
•   ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในไฟลัมนี้เช่น
• ดาวทะเล (Sea star)
• ขนนกทะเล (Antedon )
 ไฟลัมคอร์ดาตา (Phylum
Chordata)• สัตว์ในไฟลัมนี้แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่
 คือ
โพรโท
คอร์เดต(Protochordate) กับ
สัตว์ที่มีกระดูกสัน
 หลัง (Vertebrate)
•  โพรโทคอร์เคต (Protochordate)
สัตว์ในกลุ่มนี้มีโครงสร้างที่เรียกว่า
 โนโตคอร์ด เป็นแกนของ
   ร่างกาย ตัวอย่างเช่น
• สัตว์มีกระดูกสัน
หลัง(Vertebrate) สัตว์มีกระดูกสัน
 หลังทุกชนิดนั้น ในช่วงที่เป็นตัว
 อ่อน (embryo)
• สัตว์มีกระดูกสันหลังในไฟลัมนี้
แบ่งออกเป็นหลายคลาส ดังนี้
1. คลาสออสติอิคไทอิส (Class
Osteichthyes)
2. คลาสคอนดริคไทอิส (Class Chondrichythyes)
สัตว์ในคลาสนี้มีโครงสร้างเป็นกระดูกอ่อน
  คลาสนี้เป็นปลากระดูกแข็งต่างๆ อาศัยอยู่ในนำ้าจืดและน
. คลาสแอมฟิเบีย (Class Amphibia)สัตว์สะเทินนำ้าสะเทินบก
4.  คลาสเรปทีเลีย (Class Reptilia)
     ว่า สัตว์เลื้อยคลาน เป็นสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังที่ดำารงช
5. คลาสเอวีส (Class Aves )         สัตว์ในคลาสนี้เป็นพวก สัตว์ปีก ได้แก่
6. คลาสแมมมาเลีย (Class Mammalia)
    าสนี้เรียกว่า สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (mammal) เป็นสัตว์เล
 อาณาจักรพืช (Kingdom
Plantae)
• สิ่งมีชีวิตอยู่ในอาณาจักรนี้ ได้แก่
พืชสีเขียวทั้งหมดซึ่งมี
  ประมาณ 240,000   สปีชีส์
• ผนังเชลล์ส่วนใหญ่เป็นเชลล์ลูโลส
 
• เป็นสิ่งมีชีวิตที่สามารถสร้างอาหาร
 ได้เอง (Autotrophicorganisms)
• แบ่งออกเป็น 8 ดิวิชันดังนี้
 ดิวิชันไบรโอไฟตา (Division
Bryophyta)
• พืชดิวิชันนี้มีประมาณ 20,000 สปีชีต
์์
• เป็นพืชที่ไม่มีท่อลำาเลียงนำ้าและ
อาหาร 
   เช่น
•  มอส (moss) ลิ
  เวอเวิดต์ (liverwort) เป็นต้น
ดิวิชันไซโลไฟตา (Division
Psilophyta)
• พืชในวิดิชันนี้เป็นพืชที่มีเนื้อเยื่อ
ลำาเลียงลำาต้นมีขนาดเล็ก เป็น
 เหลี่ยม ลำาต้นส่วนใหญ่อยู่ในดิน
เรียกว่า  ลำาต้นใต้ดิน (rhizome)
•  ไม่มีใบ แต่มีเกล็ดเล็กๆ ติดอยู่ที่ผิว
•   ตัวอย่างเช่น หวายทะนอย หรือ
 ไซโลตัม  (Psilotum)
ดิวิชันไลโคไฟตา (Divison
Lycophyta)
• พืชในดิวิชันนี้บางชนิดเจริญเป็น
อิสระ บางชนิดเจริญบนต้นไม้
ชนิดอื่น เรียกว่า อีพิไฟต์
(Epiphyte) มีรากจำานวนมากต้นแต่
มีอายุสั้น
• ลำาต้นสร้างใบที่แท้จริงแล้วเป็นใบ
ชนิด
 ไมโคฟีลล์ (microphyll)
ได้แก่ ต้นตีนตุ๊กแก สามร้อยยอดหรือ
หางกระรอก
ดิวิชันสฟีโนไฟตา (Division
Sphenophyta)
• ในดิวิชันนี้สปอร์โรไฟต์มีลำาต้นที่มีข้อและ
ปล้องเห็นได้ชัดเจน เมื่อเจริญเต็มที่
ภายในกลวง
• มีสรอบิลัสที่บริเวณปลายกิ่ง
•  เช่น หญ้าถอดปล้อง หรือหญ้าเงือก หรือ
 หญ้าหูหนอก (Equisetum)
ดิวิชันเทอโรไฟตา(Division
Pterophyta)
• พืชในดิวิชันนี้ เป็นกลุ่มพืชที่มี
จำานวนชนิดหรือสปีชีส์มากกว่าดิวิ
 ชันอื่นๆ ทั้งหมดที่ผ่านมา
• ตัวอย่างพืชในดิวิชันนี้ เช่น เฟิร์น มี
ราก ลำาต้น และใบ ชัดเจน
- บางชนิดเป็นพืชลอยนํ้า เช่น แหนแดง
จอกหูหนู
- บางชนิดอยู่ในร่มหรือที่ชื้นแฉะ เช่น ผัก
แว่น ผักกูด
- บางชนิดแกาะอยู่ตามต้นไม้หรือกิ่งไม้
เช่น ชายผ้าสีดา เฟิร์นเขากวาง
ดิวิชันโคนิเฟอโรไฟ
ตา( Division  Coniferophyta)
• พืชในดิวิชันนี้เป็นไม้ยืนต้นที่มี
ขนาดสูงใหญ่  แตกกิ่งก้านมาก
• ใบเป็นใบเดี่ยวแต่มักมีขนาดเล็ก
คล้ายรูปเข็ม
• มีโคน เป็นอวัยวะสืบพันธุ์
•     ตัวอย่างพืช เช่นสนสอง
  ใบ (Pinus merkusii)
  สนสามใบ (Pinus khasya)
   ดิวิชันไซแคโดไฟตา (Division 
Cycadophyta)
• พืชในดิวิชันนี้มีลําต้นใหญ่ ลําต้น
  ส่วนใหญ่ใต้ดิน มีลักษณะเป็นหัว
เก็บอาหารจําพวกแป้ง  อีกส่วนหนึ่ง
   อยู่เหนือดิน
• ใบย่อยมีจํานวนมาก ขนาดเล็กและ
แข็ง
• พืชในกลุ่มนี้ คือ   ปรง (cycads)     
ดิวิชันแอนโทไฟตา(Division 
Anthophyta)
• พืชในดิวิชันนี้เป็นพืชที่สร้าง
อวัยวะสืบพันธุ์ เรียกว่า ดอก
เป็นกลุ่มพืชที่มีวิวัฒนาการมาก
ที่สุด
• บางชนิดมีดอกขนาดใหญ่เห็นได้
   ชัดเจน เช่น กุหลาบ ชบา
• บางชนิดไม่ค่อยเห็นดอก เช่น
 ตะไคร้ สาหร่ายหางกระรอก พลู
•  พืชใบเลี้ยงเดี่ยว (Monocotyledon) 
• พืชใบเลี้ยงคู่ (Dicotyledon) 
ดิวิชันกิงโกไฟตา (Division 
Ginkgophyta) 
• พืชในอาณาจักรนี้ปัจจุบันมีเพียง
ชนิดเดียว คือ  แป๊ะก๊วย (ginkgo 
billoba) 
KINGDOM PROTISTA
1. โปรตีสตาที่มีลักษณะเหมือนสัตว์และมี
เซลล์เดียว (Protozoa) อยู่ใน Phylum
Protozoa
2. โปรตีสตาที่มีลักษณะคล้ายพืช เรียกว่า
พวกสาหร่าย (Algae) แบ่งออกเป็น 5
ดิวิชัน คือ
1. Division Chlorophyta
ได้แก่ สาหร่ายสีเขียว
2. Divisio Chrysophyta ได้แก่
สาหร่ายสีนํ้าตาลแกมเหลือง
3. Division Phaeophyta ได้แก่
สาหร่ายสีนํ้าตาล
1. Eukaryote คล้ายสัตว์
2. มีการสืบพันธุ์เป็นแบบไม่ใช้เพศโดยการแบ่ง
เซลล์ตามความยาวของเซลล์
(Longitudinal binary fission)
3. พวกแฟลกเจลเลตมีการดํารงชีวิตหลายแบบ
คือ
- ดํารงชีวิตเป็นปรสิตอยู่ในเลือดของ
คนและสัตว์เลี้ยง เช่น Trypanosoma ทําให้
เกิดโรคเหงาหลับ (sleeping sickness)
อาการ ตอนแรกที่เชื้ออยู่ในเลือดจะ มีไข้ต่อ
มาเมื่อเชื้อเข้าสู่นํ้าสมองและไขสันหลังแล้ว
ทําให้ผู้ป่วยอ่อนเพลีย ง่วง นอน ผอมลง
ๆ และตายในที่สุด
- ดํารงชีวิตแบบภาวะที่ต้องมีการพึ่งพา
เช่น Trichonympha ซึ่งเป็นโปรโตซัวใน
ตัวอย่างสิ่งมีชีวิต
flagellate
1. Class
Mastigophora
2. Class Sarcodina
เป็นโปรโตซัวที่ใช้การ
เคลื่อนไหวของโปรโต
ปลาสซึมสร้างเป็นขา
เทียม (Pseudopodia)
ช่วยทําให้เกิดการ
เคลื่อนที่ ซาโคดินามี
ลักษณะสําคัญดังนี้
1. มีการสร้างขาเทียม
ในขณะที่มีการเคลื่อนที
นอกจากนี้การสร้างขา
เทียมใช้ในการกินอาหาร
ด้วย โดยยื่นส่วนของขา
เทียมโอบล้อมอาหาร และ
ทําให้อาหารตกเข้าไปอยู่
ภายในเซลล์และกลาย
2. Class Sarcodina
ภาพจาก SEM แสดง Amoeba
x400
Nucleus
Contractile vacuole
Food vacuole
Pseudopod
- พวกอาศัยเป็นปรสิตในลําไส้คน ได้แก่
เอ็นตามีบา (Entamoeba histolytica)
ทําให้เกิดโรคบิด ลําไส้อักเสบ ท้องร่วง
เรียกว่า บิดมีตัว (amoebic
dysentery)
- พวกดํารงชีวิตอิสระอยู่ในนํ้าเน่า
ได้แก่ อะมีบา โดยอาศัยกินพวกสาร
อินทรีย์และสิ่งมีชีวิตเล็กๆอื่นๆ
3. Class Sporozoa
เป็นโปรโตซัวที่ไม่มีอวัยวะที่เป็น
โครงสร้างของการเคลื่อนที่ มีลักษณะ
2. การสืบพันธุ์มีทั้งการสืบพันธุ์แบบอาศัย
เพศและไม่อาศัยเพศ
โปรโตซัวไฟลัมนี้ ดํารงชีวิตแบบเป็น
ปรสิตทั้งสิ้น
- พลาสโมเดียม (Plasmodium)
หรือเชื้อไข้มาเลเรียเป็นโปรโตซัวที่
อาศัยอยู่ในคนมียุงก้นปล่องเป็นพาหะ
ของโรค เชื้อมาเลเรียอาศัยอยู่ในคน
และมีการสืบพันธุ์แบบสร้างสปอร์เพิ่ม
จํานวนและเจาะเข้าสู่เม็ดเลือดแดง
4. Class Ciliata
เป็นโปรโตซัวที่มีความเจริญมาก
ที่สุด มีขนซีเลีย (cilia) ใช้ในการ
เคลื่อนที่จึงเรียกว่า พวกซีลีเอต
(ciliate) ซึ่งมีลักษณะสําคัญดังนี้
1. มีขนซีเลียอยู่บริเวณผิวลําตัวและ
บริเวณร่องปาก (Oral groove) ทําให้มี
การเคลื่อนที่ ได้อย่างคล่องแคล่ว
ว่องไว ขนซีเลียในร่องปากช่วยในการ
โบกพัดอาหารเข้าไปในเซลล์และมี
สภาพเป็น food vacuole และพร้อมที่
พวกซิลิเอต มีนิวเคลียส
2 อัน คือ
- นิวเคลียสอันเล็ก
(Micronucleus) ทํา
หน้าที่ ควบคุมเกี่ยวกับ
การสืบพันธุ์
- นิวเคลียสอัน
ใหญ่ (Macronucleus)
ทําหน้าที่ควบคุมเมตา
บอลิซึมและกิจกรรม
ต่าง ๆ ของเซลล์
พารามีเซียม
Micro nucleus
Contractile vacuoleFood vacuole
Macro nucleus
Gullet
Anal pore
Trichocyst
Cillia
Lysosome
Pellicle
x400
3. มีการสืบพันธุ์ทั้งแบบอาศัยเพศและ
แบบไม่อาศัยเพศ ดังนี้
- การสืบพันธุ์แบบไม่มีเพศโดย
การแบ่งตัวตามขวาง Transverse
binary fission
- การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ โดย
การจับคู่กัน (conjugation) โดยมีการ
แลกเปลี่ยนสารพันธุกรรมกันแล้ว พารา
มีเซียม 2 ตัวที่มาจับคู่กันนี้จะแยกออก
จากกันแล้วแต่ละตัว มีการแบ่งตัว 2
ครั้งได้ 4 ตัว ดังนั้นในการ
conjugation ของพารามีเซียม 1 คู่ ทํา
ให้ได้พารามีเซียมใหม่ 8 ตัว
Vortice
lla Parame
cium Stento
r
ALGAE
สาหร่ายเป็นโปรตีสต์ที่มี คลอโรฟิลล์จึง
สามารถสร้างอาหารได้ สาหร่ายมีทั้งชนิดที่
เป็นเซลล์เดียวและหลายเซลล์ พวกที่เป็น
หลายเซลล์ยังไม่มีการรวมกันเป็นเนื้อเยื่อ
แต่ละเซลล์สามารถทําหน้าที่และกิจกรรมของ
ชีวิตได้อย่างสมบูรณ์ (fertile cell)
โครงสร้างที่ทําหน้าที่สืบพันธุ์ประกอบด้วย
เซลล์เพียงเซลล์เดียว เมื่อเซลล์สืบพันธุ์รวม
กันเป็นไซโกต (Zygote) แล้วจะไม่มีการ
เจริญพัฒนาไปเป็นเอมบริโอ (embryo)
การแบ่งสาหร่ายมีเกณฑ์ดังนี้
1. ชนิดของรงควัตถุที่เป็นองค์
ประกอบอยู่
2. อาหารสะสมภายในเซลล์
3. องค์ประกอบทางเคมีของผนังเซลล์
4. ตําแหน่งและลักษณะของแฟลกเจล
ลา
5. การสืบพันธุ์ทั้งแบบที่อาศัยเพศและ
แบบไม่อาศัยเพศ
1. Division Chlorophyta
ได้แก่สาหร่ายสีเขียว (green
algae) มีทั้งหมดประมาณ 17,500
สปีชีส์ พบอยู่ในแม่นํ้า ลําคลอง
1. มีคลอโรฟิลล์เป็นชนิด คลอโรฟิลล์
เอและบี และมีคาโรทีน
แซนโทฟิลล์ด้วย
2. อาหารสะสมเป็นพวกแป้ง (starch)
เช่นเดียวกับพืชชั้นสูงทั่วไป
3. ผนังเซลล์เป็นสารพวกเซลลูโลส
บางชนิดอาจมีแคลเซียมและซิลิคอน
ปนอยู่ด้วย
4. มีแฟลกเจลลา 1,2 หรือจํานวนมาก
อยู่ทางด้านหน้าสุดของเซลล์
5. ตัวอย่างของสาหร่ายในดิวิชันนี้
ได้แก่
- พวกเป็นกลุ่มเคลื่อนที่ไม่ได้ เช่น
ซินเดสมัส (Scenedesmus)
เพดิแอสตรัม (Pediastrum)
- พวกที่เป็นเซลล์เดียวมีแฟลกเจลลา
เคลื่อนที่ได้ เช่น แคลมิโดโมแนส
(Chlamydomonas)
Chlamyd
- พวกเป็นสาย เช่น เทานํ้าหรือสไปโรไจ
รา (Spirogyra)
- พวกที่เป็นแผ่นและมีขนาดใหญ่
พบในทะเล เช่น อูลวา (Ulva)
สาหร่ายสีเขียวเป็นผู้ผลิต
อาหารที่สําคัญของระบบนิเวศ
นอกจากนี้สาหร่ายสีเขียวหลายชนิดยัง
ใช้เป็นอาหารที่มีโปรตีนสูงอีกด้วย
Volvox ย้อมสี
Acetabularia
x100
Euglena
Eyespot
ChloroplastNucleus
storage bodies
Contractile vacuole
x400
2. Division Chrysophyta
ได้แก่ สาหร่ายสีนํ้าตาลแกมทอง
(goldenbrown algae) มีอยู่ประมาณ
16,600 สปีชีส์ มีลักษณะสําคัญดังนี้
1. มีคลอโรฟิลล์เป็นชนิดคลอโรฟิลล์เอ
และดี และมีคาโรทีน แซนโทฟิลล์ด้วย
จึงทําให้ดูมีสีเขียวแกมเหลืองจนถึงสี
นํ้าตาลแกมทอง
2. อาหารสะสมเช่นนํ้าตาลโมเลกุลใหญ่
เรียกว่า คริสโซลามินาริน
(Chrysolaminarin) และหยดนํ้ามัน
3. ผนังเซลล์ประกอบด้วยเซลลูโลสมักมี
ซิลิคอนและไคตินปนอยู่ด้วย
- ไดอะตอม
(Diatom) เป็น
สาหร่ายเซลล์
เดียวผนังเซลล์มี
สารซิลิกาพบมาก
ทั้งในนํ้าจืดและนํ้า
เค็ม ซากได
อะตอมที่ตายและ
ทับถมกันเป็นภูเขา
ใต้นํ้าเรียกว่า
Diatomaceous
earth มีแร่ธาตุ
และนํ้ามันมาก
3. Division Phaeophyta
ได้แก่สาหร่ายสีนํ้าตาล (brown algae)
มีทั้งสิ้นประมาณ 1,500 สปีชีส์ มี
ลักษณะสําคัญดังนี้
1. มีคลอโรฟิลล์เป็นชนิด a และ c และมี
คาโรทีน ฟิวโคแซนทีนด้วย จึงทําให้
มองดูเป็นสีนํ้าตาล
2. อาหารสะสมเป็นนํ้าตาลโมเลกุลใหญ่
เรียกว่า ลามินาริน (laminarin)
3. ผนังเซลล์เป็นสารพวกเซลลูโลสและ
พวกกรดอัลจินิก (alginic acid)
4. มีส่วนที่คล้ายรากเรียกว่า hold fast
ใช้ในการยึดเกาะกับสิ่งที่เป็นพื้นผิวที่
เจริญอยู่ ส่วนที่คล้ายลําต้นเรียกว่า
stipe ส่วนที่คล้ายใบเรียกว่า blade
5. ตัวอย่างของ
สาหร่ายดิวิชันนี้
ได้แก่
- ไจแอนต์
เคลป์ (giant kelp)
มีขนาดใหญ่ที่สุด
- ลามินาเรีย
(Laminaria) พาได
นา (Padina) ฟิวคัส
(fucus) ซาร์กัส
ซัม(Sargassum)
สาหร่ายสีนํ้าตาล
มีประโยชน์ ในแง่
ของการเป็นอาหาร
เป็นที่หลบภัยของ
สัตว์ทะเลนานาชนิด
ลามินาเรีย
พาไดนา ฟิวคัสใช้
4. Division Rhodophyta
ได้แก่ สาหร่ายสีแดง (red
algae) มีประมาณ 3,900 สปีชีส์ มี
ลักษณะที่สําคัญดังนี้
1. มีคลอโรฟิลล์เป็นชนิดเอและดี คาร์โร
ทีน แซนโทฟิลด์และไฟโคอิริทริน
(Phycoerythrin) ซึ่งเป็นสารสีแดง จัง
ทําให้สาหร่ายพวกนี้มีสีแดง
2. อาหารสะสมเป็นแป้งมีชื่อเฉพาะว่า
ฟลอริเดียนสตาซ (floridean starch)
3. ผนังเซลล์เป็นสารเซลลูโลส โพลี่แซค
คาไรด์ที่เป็นเมือกบางชนิดมี Ca ด้วย
4. ส่วนใหญ่อยู่ในทะเลมีบางชนิดเท่านั้น
ที่อยู่ในนํ้าจืด
- กราซีลาเรีย (Gracilaria) นํา
มาสกัดสารคาร์ราจิแนน
(carrageenan) ใช้ในการทําวุ้น
ซึ่งมีความสําคัญในการทําอาหาร
เลี้ยงจุลินทรีย์ ทําเครื่องสําอางทํา
ยาขัดรองเท้า ครีมโกนหนวด
5. Division Pyrrophyta
มักเรียกกันว่า ไดโนแฟลกเจลเลต
(dinoflagellate) มีลักษณะที่สําคัญดังนี้
1. มีคลอโรฟิลล์เป็นชนิดเอและซี คาร์โรทีน
แซนโทฟิลล์
2. ผนังเซลล์เป็นเซลลูโลสและสารที่เป็นเมือก
บางชนิดอาจไม่มีผนังเซลล์
3. ส่วนใหญ่เป็นเซลล์เดี่ยวมีแฟลกเจลลา 2
เส้น เส้นหนึ่งใช้ในการเคลื่อนที่และอีกเส้น
หนึ่งพันอยู่รอบเซลล์
4. ตัวอย่างของสาหร่ายในดิวิชันนี้ได้แก่
- ซีราเตียม (Ceratium) นอคติลูกา
(Noctiluca) จิมโนดิเนียม
( Gymnodinium)
โกนีออแรกซ์(Gonyaulax)
Ceratium
x400
พวกสาหร่ายไดโนแฟลกเจลเลตนี้
เมื่อมันเพิ่มจํานวนมากขึ้นอย่างรวดเร็ว
ทําให้เกิดปรากฎการณ์ที่เรียกว่า
วอร์เตอร์บลูม (water bloom) นํ้า
ทะเลบริเวณนั้นเป็นสีแดงเรียกว่า ขี้
ปลาวาฬ (red tide) มีการปล่อยสาร
พิษออกมาทําให้สัตว์และพืชทะเล
บริเวณนั้นตายเป็นจํานวนมาก
Noctilucawater bloom
จากGonyaulax x100
PHYLUM 
MYXOMYCOPHYTA
ราเมือก (Slime mold) เป็นโปรตีสต์
ที่มีช่วงชีวิตที่มีลักษณะคล้ายสัตว์และ
ช่วงชีวิตที่มีลักษณะคล้ายพืช มี
ลักษณะสําคัญดังนี้
1. มีเซลล์เป็นแบบยูคาริโอต
2. ไม่มีผนังเซลล์ไม่มีคลอโรฟิลล์
3. โปรโตปลาสซึมที่แผ่กระจายมีลักษณะ
เป็นเมือก
4. การสืบพันธุ์มีวงชีวิตที่มีลักษณะคล้าย
สัตว์สลับกับวงชีวิตคล้ายพืช
ลักษณะ
ทั่วไป•ยูคาริโอท (Eukaryote) ไม่มี
รงควัตถุ
•เซลล์เดี่ยว (yeast) หรือหลาย
เซลล์เป็นเส้นใย (mold)
Kingdom Fungi
yeast mold
ไม่มีคลอโรฟิิลล์ จึงสร้าง
อาหารเองไม่ได้
heterotroph - saprophyte,
free living, parasite
สัณฐาน
วิทยา•เซลล์มีหลายนิวเคลียส
(multinucleate)
•ประกอบด้วยเส้นใย (hypha)
รวมเป็นกลุ่ม (mycelium)
ประเภทของ
เส้นใย•แบ่งตามหน้าที่ มี 2
ชนิด
เส้นใยปกติ
(vegetative
hyphae) ดูดซึมนํ้า
และสารอาหาร
เส้นใย
สร้างสืบพันธุ์
(fertile
hyphae)
ประเภทของ
เส้นใย•แบ่งตามโครงสร้างของ
เส้นใย มี 2 ชนิด
ไม่มีผนังกั้น (non-
septum hyphae)
มีผนังกั้น (septum
hyphae)
ผนังเซลล์ (cells
wall)
•ไคติน (chitin)
β1-4 n-acetyl
glucosamine
•กลูแคน (β-
glucans)
polymers of
glucose
β1-3 glucose
องค์ประกอบอื่นๆ เช่น
glycoprotein , melanins
Organel
ls อื่นๆNucleus ที่มีเยื่อหุ้ม
Mitochondria
Golgi bodies
ribosomes, endoplasmic
reticulum, vacuoles,
lipid bodies, glycogen
storage particles,
microbodies, microtubules,
vesicles
สารที่สะสมในเซลล์
(Storage Compounds)
•Glycogen, lipids and
trehalose in fungi and
การสืบพันธุ์
(Reproduction)•มี 2 ชนิด
อาศัยเพศ (Sexual
reproduction)
ไม่อาศัยเพศ (Asexual
reproduction)
ไม่อาศัยเพศ (Asexual
reproduction)
แตกหักแตกหัก
(Fragmentation)(Fragmentation)
แตกหน่อแตกหน่อ (budding)(budding)
Mitotic sporesMitotic spores
1. สปอร์ที่มี
สิ่งห่อหุ้ม •สปอร์ที่เคลื่อนที่ได้
เรียก zoospore
•สปอร์ที่เคลื่อนที่ไม่
ได้เรียก
aplanospore
•โครงสร้างห่อหุ้มส
ปอร์เรียก
sporangium
•ก้านชูสปอร์เรียก
เช่น เชื้อราในกลุ่ม
phycomycetes
•คอนิเดีย (conidia) คล้าย
ลูกปัดอยู่บนสเตอริกมา
(sterigma)
ห่อหุ้ม
•Chlamydospore สปอร์ที่สร้าง
ในผนังเส้นใย
•Arthrospore หรือ oidia
เกิดจากการขาดของเส้นใย
รูปร่างกลมหรือรูปไข่
•1) เกิดจากการรวมตัวของ
นิวเคลียสระหว่างเซลล์
2 เซลล์
•2) สร้างเซลล์สืบพันธุ์
(gamete)
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
(sexual reproduction)
Sex Spores ของเชื้อรา
OosporeOospore ZygosporeZygospore
AscosporesAscospores BasidiosporesBasidiospores
OosporesOospores มีผนังเซลล์หนา เกิดมีผนังเซลล์หนา เกิด
จากการรวมกันจากการรวมกัน
ของเพศผู้ที่มีของเพศผู้ที่มี
ขนาดเล็กและเพศเมียที่ขนาดเล็กและเพศเมียที่
มีขนาดใหญ่มีขนาดใหญ่
ตัวอย่างเชื้อรากลุ่มตัวอย่างเชื้อรากลุ่ม
PhycomycesPhycomyces
ZygosporeZygospore เกิดจากการรวมกันเกิดจากการรวมกัน
ของเซลล์เพศผู้ของเซลล์เพศผู้
และเพศเมียที่มีขนาดและเพศเมียที่มีขนาด
และรูปร่างเหมือนกันและรูปร่างเหมือนกัน
Zygote
Gametangia Zygospore
การสืบพันธุ์แบบ
อาศัยเพศ
- สร้าง
AscosporesAscospores อยู่ภายในอยู่ภายในถุงถุง
แอสคัสแอสคัส (ascus)(ascus)-- ถุงที่ไม่มีช่องเปิดเรียกว่าถุงที่ไม่มีช่องเปิดเรียกว่า
cleistotheciumcleistothecium-- ถุงที่มีช่องเปิดเรียกว่าถุงที่มีช่องเปิดเรียกว่า
apotheciumapothecium
BasidiosporeBasidiospore อยู่ในอยู่ใน basidiocarpbasidiocarp
ส่วนใหญ่พบส่วนใหญ่พบ
ในเห็ดในเห็ด
การจำาแนกเชื้อ
ราKingdom Fungi
Phylum Eumycophyta
แบ่งเป็น 4 class
1) Phycomycetes
2) Ascomycetes
3) Basidiomycetes
4) Deuteromycetes
Class Phycomycetes
• รานำ้า (water
mold)
• ผนังเซลล์
ประกอบด้วย
เซลลูโลส และ
มีไคทินเล็ก
น้อย
ราขนมปังราขนมปัง
ราดำาราดำา
รานำ้าและราขนมปัง
สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
- สร้างสปอร์ที่มีแฟลเจลลัม 2 เส้น
Class Ascomycetes
สร้างสปอร์แบบคอนิเดีย
(conidia) และ แอสโคส
ปอร์(ascospore)สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ - สร้าง
conidia บน conidiophore
การสืบพันธุ์แบบ
ไม่อาศัยเพศ
- สร้าง
sporangium
บน
sporangiophore
Penicillium sp.
Aspergillus sp.
การสืบพันธุ์แบบอาศัย
เพศ
- สร้าง ascospore ใน
Class Basidiomycetes
•เส้นใยมี
septum
•มีวิวัฒนาการ
สูงสุด
•สืบพันธุ์แบบ
อาศัยเพศ เรียก
ว่า
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
–สร้าง basidiospore บน
basidium ใน basidiocarp
Class Deuteromycetes
•Septate mycelium
•สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
โดยสร้าง
conidia
•ดำารงชีวิตแบบปรสิต
•เช่น ราก่อโรคกลาก เกลื้อน
เท้าเปื่อย
ส่าหรือยีสต์•อยู่ใน Class ascomycetes
•รูปร่างกลม ไข่ ทรงกระบอก
-หายใจใช้ออกซิเจน (aerobic
respiration)
-เกิดกระบวนการหมักในสภาพ
•สืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศโดย
ตกหน่อ (budding)
•อาศัยเพศ สร้าง ascospore
Budding
Ascospore
ตัวอย่างเชื้อยีสต์
Saccharomyces Candida Pichia
Lichens
• อาศัยร่วมกันแบบ mutualism
ประกอบด้วย สาหร่ายและรา
Mycorrhiza
• เห็ดราที่อาศัยอยู่ในราก
พืชชั้นสูง
- เพิ่มความแข็งแรงแก่ต้นไม้
- เพิ่มการดูดซับนำ้าอาหาร
- ย่อยสลายสารอินทรีย์
Mycorrhizae
fungal association (mutualistic) with roots
ประโยชน์ของเชื้อรา
- ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร เช่น
เต้าเจี้ยว ซีอิ้ว เช่น
Aspergillus oryzae
- Rhizopus stolonifer ทำาเทม
เป้
- ใช้ยีสต์ในอุตสาหกรรมเบียร์
โทษเชื้อรา
•ก่อโรคมะเร็ง เช่น
Aspergillus flavus
•กระเป๋๋า รองเท้าเป็นขุย
•ก่อโรคกลาก เกลื้อน
Candida albicans :
yeast infection
KINGDOM MONERA
Division Schizomycophyta
ได้แก่แบคทีเรียซึ่งทำาหน้าที่เป็นผู้
ย่อยสลายสารอินทรีย์ในระบบนิเวศ
แบคทีเรีย
มีลักษณะสำาคัญดังนี้
-เป็น Procaryotic cell DNA มีเป็นรูป
วงแหวน (Cercular DNA)
-เกือบทุกชนิดไม่มีคลอโรฟิลล์ บาง
ชนิดมีคลอโรฟิลล์ชนิดพิเศษคือ
Bacteriochlorophyll
-มีรูปร่างเป็น 3 แบบคือ รูป
กลม(Coccus) รูปแท่ง(Bacillus) และ
Typical Bacterial Shapes
องค์ประกอบเซลล์
เซลล์
ชั้นตำ่า
เซลล์
ชั้นสูง
เยื่อหุ้ม
นิวเคลียส
ไม่มี
(nucl
eoid)
มี
(nucl
eus)
ผนัง
เซลล์
มี
peptido
glycan
ไม่มี
peptido
glycan
ไรโบ
โซม
70
S
80
S
จำานวน 1 มากก
ไมโต
คอนเด
รีย
ไม่
มี
มี
โครงสร้างและหน้าที่
ของแบคทีเรีย
แฟลกเจลลา
(Flagella)หน้าที่ ช่วยในการ
เคลื่อนที่โครงสร้าง มี 3 ส่วน filament,
hook , basal body
ประกอบด้วย protein
เรียกว่า flagellinลักษณะการจัดเรียงตัว
ของแฟลกเจลลาMonotrichous แส้ 1 แส้
ยื่นด้านใดด้านหนึ่ง
Lophotrichous กลุ่มแส้
ออกจากขั้วเซลล์ด้านใด
ด้านหนึ่งAmphitrichous แส้ยื่น
ออกมา 2 ข้างPeritrichous แส้ยื่น
ออกมารอบๆ เซลล์
ตัวอย่าง Escherichia coli, Samonella
typhi, Vibrio cholerae
E.
coli
S.
typhi
V.
choler
ae
Spirillu
m
Pseudo
monas
การทดลองของ
หลุยส์ ปาสเตอร์ (Louis Pasteur)
Division Cyanophyta หรือ
Myxophyta, Cyanophycophyta
• สาหร่ายสีเขียวแกมนำ้าเงินเรียก
ว่า Blue green algae,
cyanobacteria
• Prokaryote, ไม่มีนิวเคลียสที่แท้
จริง
• สังเคราะห์แสงได้
• รงควัตถุอยู่ในไซโตพลาสซึม 18
การสืบพันธุ์
•การเซลล์แบบทวิภาค
(binary fission)
•การสร้างอะคีนีท (akinete)
• ตัวอย่างสาหร่าย
Anabaena, Nostoc, 19
Oscillato
ria
Scytone
ma
Nostoc
Hapalosi Stigone Fischere
20
VIRUS AND VIROID
Virus and Viroid
เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก
มาก ไม่สามารถมองเห็น
ได้ด้วยกล้องจุลทรรศน์
แบบใช้แสงไม่ประกอบ
ด้วยเซลล์ แต่ประกอบ
ด้วยกรดนิวคลีอิคชนิด
DNA หรือ RNA หรือทั้ง
สองอย่าง และมีโปรตีนหุ้ม
อยู่ภายนอก มีรูปร่าง
หลายแบบ
รูปร่างต่างๆของไวรัส
ขนาด
ของ
ไวรัส
“Big”
“Medium”
“Small”
“Even Smaller”
สัณฐานวิทยาและ
สรีรวิทยาของไวรัส
ไวรัสมีส่วนประกอบ
Head ส่วนหัวมี DNA
หรือ RNA
Collar ส่วนคอ
Tail ส่วนหาง
การจัดหมวดหมู่
ไวรัส
จัดตาม host cell ของไวรัส
TMV (tobacco mosaic
virus)
Pox virus โรคฝีดาษ
Hog chlorella virus ไวรัส
อหิวาห์ในหมู
Fowl plaque virus ไวรัสใน
ทางผิวหนัง เช่น rabies virus
(พิษสุนัขบ้า) และ HIV
ทางการหายใจ เช่น influenza
virus (ไข้หวัดใหญ่)
ทางการกิน เช่น HBV (ไวรัสตับ
อักเสบ)
ทางปัสสาวะหรือการสืบพันธุ์
(HIV)
การเข้าสู่ host
ของไวรัส
จบแล้วค่ะ

More Related Content

What's hot

ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 
อาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืชอาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืชPandora Fern
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)firstnarak
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
ไดโนเสาร
ไดโนเสาร ไดโนเสาร
ไดโนเสาร FoFour Thirawit
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตSumalee Khvamsuk
 
111006099215982 1111190995955
111006099215982 1111190995955111006099215982 1111190995955
111006099215982 1111190995955Bira39
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรมใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรมSumalee Khvamsuk
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1tarcharee1980
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์Wan Ngamwongwan
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพLPRU
 
1(1) แมลงสาบ (แมลงล้านปี ชีวีคงกระพัน)
1(1) แมลงสาบ (แมลงล้านปี ชีวีคงกระพัน)1(1) แมลงสาบ (แมลงล้านปี ชีวีคงกระพัน)
1(1) แมลงสาบ (แมลงล้านปี ชีวีคงกระพัน)โนเนม กานต์ภพ
 
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตUnlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตmahachaisomdet
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการsupreechafkk
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตSumalee Khvamsuk
 
Kingdom for knowledge บทที่ 2
Kingdom for knowledge บทที่ 2 Kingdom for knowledge บทที่ 2
Kingdom for knowledge บทที่ 2 Choom' B't
 

What's hot (19)

ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
อาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืชอาณาจักรสัตว์และพืช
อาณาจักรสัตว์และพืช
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
Taxonomy(อนุกรมวิทฐาน)
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ไดโนเสาร
ไดโนเสาร ไดโนเสาร
ไดโนเสาร
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
 
111006099215982 1111190995955
111006099215982 1111190995955111006099215982 1111190995955
111006099215982 1111190995955
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรมใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง ความหลากหลายทางพันธุกรรม
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต1
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
1(1) แมลงสาบ (แมลงล้านปี ชีวีคงกระพัน)
1(1) แมลงสาบ (แมลงล้านปี ชีวีคงกระพัน)1(1) แมลงสาบ (แมลงล้านปี ชีวีคงกระพัน)
1(1) แมลงสาบ (แมลงล้านปี ชีวีคงกระพัน)
 
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตUnlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิตอาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
 
Kingdom for knowledge บทที่ 2
Kingdom for knowledge บทที่ 2 Kingdom for knowledge บทที่ 2
Kingdom for knowledge บทที่ 2
 
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 

Viewers also liked

Viewers also liked (7)

06
0606
06
 
49
4949
49
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
68b21dddcfd596977f43060fc4f45a34
68b21dddcfd596977f43060fc4f45a3468b21dddcfd596977f43060fc4f45a34
68b21dddcfd596977f43060fc4f45a34
 
Deliverable 1.27
Deliverable 1.27Deliverable 1.27
Deliverable 1.27
 
How to Narrow your Real Estate Investment Universe by Jon Strishak
How to Narrow your Real Estate Investment Universe by Jon StrishakHow to Narrow your Real Estate Investment Universe by Jon Strishak
How to Narrow your Real Estate Investment Universe by Jon Strishak
 
Kmuttv25n1 2
Kmuttv25n1 2Kmuttv25n1 2
Kmuttv25n1 2
 

Similar to Biodiversity

ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2chirapa
 
ความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverssusera700ad
 
ความหลากหลายของชีวิต.pdf
ความหลากหลายของชีวิต.pdfความหลากหลายของชีวิต.pdf
ความหลากหลายของชีวิต.pdfKalasin University
 
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพWichai Likitponrak
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาweerabong
 
Bio is all around us
Bio is all around usBio is all around us
Bio is all around usAlisaYamba
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศmaleela
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศcrunui
 
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพฟลุ๊ค ลำพูน
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์sirieiei
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...MukMik Melody
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจkrunidhswk
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJira Boonjira
 

Similar to Biodiversity (20)

ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
Manybio
ManybioManybio
Manybio
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
ความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diverความหลากหลาย bio diver
ความหลากหลาย bio diver
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
ความหลากหลายของชีวิต.pdf
ความหลากหลายของชีวิต.pdfความหลากหลายของชีวิต.pdf
ความหลากหลายของชีวิต.pdf
 
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 
Bio is all around us
Bio is all around usBio is all around us
Bio is all around us
 
Diver i
Diver iDiver i
Diver i
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
Envi lecture8[2]
Envi lecture8[2]Envi lecture8[2]
Envi lecture8[2]
 
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b980e0b884e0b8a3e0b8b7e0b988e0b8a...
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 

More from Nomoretear Cuimhne

More from Nomoretear Cuimhne (20)

โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
เฉลย O net 49 ภาษาอังกฤษ
เฉลย O net 49 ภาษาอังกฤษเฉลย O net 49 ภาษาอังกฤษ
เฉลย O net 49 ภาษาอังกฤษ
 
52
5252
52
 
Onet 50
Onet 50Onet 50
Onet 50
 
sol 52
sol 52sol 52
sol 52
 
feb 52
feb 52feb 52
feb 52
 
02
0202
02
 
เฉลย
เฉลยเฉลย
เฉลย
 
ข้อสอบโอเน็ต3
ข้อสอบโอเน็ต3ข้อสอบโอเน็ต3
ข้อสอบโอเน็ต3
 
ข้อสอบโอเน็ต4
ข้อสอบโอเน็ต4ข้อสอบโอเน็ต4
ข้อสอบโอเน็ต4
 
เฉลย54
เฉลย54เฉลย54
เฉลย54
 
โครงงานไทย
โครงงานไทยโครงงานไทย
โครงงานไทย
 
โครงงานคอมพ วเตอร ใบงานท__ 2-15
โครงงานคอมพ วเตอร  ใบงานท__ 2-15โครงงานคอมพ วเตอร  ใบงานท__ 2-15
โครงงานคอมพ วเตอร ใบงานท__ 2-15
 
โครงงานคอมพ วเตอร ใบงานท__ 2-15
โครงงานคอมพ วเตอร  ใบงานท__ 2-15โครงงานคอมพ วเตอร  ใบงานท__ 2-15
โครงงานคอมพ วเตอร ใบงานท__ 2-15
 
K11
K11K11
K11
 
K10
K10K10
K10
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
กลศาสตร์
กลศาสตร์กลศาสตร์
กลศาสตร์
 

Biodiversity