SlideShare a Scribd company logo
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย
(ฉบับอนุรักษ์)
ตำ�ราธาตุวินิจฉัย
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
ISBN : 978-616-11-4053-3
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย
ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์)
ตำ�ราธาตุวินิจฉัย
ISBN : 978-616-11-4053-3
ที่ปรึกษา :
นายแพทย์มรุต จิรเศรษฐสิริ
อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
นายแพทย์ปราโมทย์ เสถียรรัตน์
รองอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
นายแพทย์สรรพงศ์ ฤทธิรักษา
รองอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คณะอนุกรรมการคุ้มครองตำ�รับยาและตำ�ราการแพทย์แผนไทย
ผู้ถ่ายถอด :
นายกัมพล มะลาพิมพ์
ผู้รวบรวมและเรียบเรียง​​
: ดร.นันทศักดิ์ โชติชนะเดชาวงศ์ และคณะฯ
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย
พิมพ์ครั้งที่ ๑ กันยายน ๒๕๖๒
จำ�นวน         ๑,๐๐๐ เล่ม
จัดพิมพ์โดย :
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
สนับสนุนการพิมพ์โดย :
กองทุนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย
พิมพ์ที่ บริษัท สามเจริญพาณิชย์ (กรุงเทพ) จำ�กัด
ห้ามจำ�หน่าย
(2)
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
ระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. ๒๕๔๒
มาตรา ๑๕ กำ�หนดให้กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกมีหน้าที่
รวบรวมข้อมูลภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยเกี่ยวกับตำ�รับยาแผนไทยและตำ�ราการแพทย์แผนไทย
ทั่วราชอาณาจักร เพื่อจัดทำ�ทะเบียนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยเกี่ยวกับตำ�รับยาแผนไทยและ
ตำ�ราการแพทย์แผนไทยใช้ประโยชน์ในการอ้างอิง ทางวิชาการ ศึกษา วิจัย พัฒนา และมาตรา ๑๗
กำ�หนดให้รัฐมนตรีมีอำ�นาจประกาศกำ�หนดตำ�รับยาแผนไทยหรือตำ�ราการแพทย์แผนไทยที่มีประโยชน์
หรือมีคุณค่าในทางการแพทย์หรือการสาธารณสุขเป็นพิเศษ ให้เป็นตำ�รับยาแผนไทยของชาติหรือ
ตำ�ราการแพทย์แผนไทยของชาติแล้วแต่กรณี ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา กระทรวงสาธารณสุข
โดยกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ได้ประกาศกำ�หนดตำ�รับยาแผนไทยของชาติ
และตำ�รายาแผนไทยของชาติ ๒๓ ฉบับ ตำ�ราการแพทย์แผนไทย ๔๑๒ รายการ แผ่นศิลา ๔๖๓ แผ่น
ตำ�รับยาแผนไทย ๓๒,๗๕๘ ตำ�รับ
		 คัมภีร์ธาตุวินิจฉัย ประกาศกําหนดให้เป็นตำ�รับยาแผนไทยของชาติหรือตำ�ราการแพทย์
แผนไทยของชาติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกำ�หนดตํารับยาแผนไทย
ของชาติและตําราการแพทย์ของชาติ (ฉบับที่ ๒๐) พ.ศ. ๒๕๖๑ ลงประกาศราชกิจจานุเบกษา
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๐ ง วันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๖๒ ปัจจุบันอยู่ในความครอบครองของ
สำ�นักหอสมุดแห่งชาติที่เป็นแหล่งกลางในการเก็บรวบรวมเอกสารชั้นต้น ซึ่งบันทึกเป็นรูปแบบ
ไฟล์ดิจิทัลอยู่ในหมวดเวชศาสตร์ มี ๓ เรื่อง ได้แก่ คัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม ๑ เลขที่ ๑๑๓ ว่าด้วย
ธาตุวินิจฉัย คัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม ๒ เลขที่ ๙๕ มีตำ�รับยา ๗๙ ตำ�รับ กล่าวถึงลักษณะกองโรค
และคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม ๓ เลขที่ ๙๙ กรมหมื่นไชยนาทรฯ ประทานเมื่อวันที่  ๖ กุมภาพันธ์ ๒๔๕๗
กล่าวถึงลักษณะกองโรคว่าด้วยธาตุทั้ง๔มีตำ�รับยา๑๐๓ตำ�รับการจัดพิมพ์ครั้งนี้เพื่อเป็นการอนุรักษ์
ต้นฉบับอีกทางหนึ่ง รวมทั้งมีการจัดระบบใหม่ให้อ่านเข้าใจง่าย สามารถนำ�มาเป็นตำ�รับยาสำ�หรับ
ศึกษาค้นคว้าอีกทั้งเป็นฐานข้อมูลอ้างอิงในการคุ้มครองตำ�รับยาแผนไทยและตำ�ราการแพทย์แผนไทย
โดยประกาศกำ�หนดให้เป็นตำ�รับยาแผนไทยของชาติหรือตำ�ราการแพทย์แผนไทยของชาติ
คำ�นำ�
พ
(3)
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย
		 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จึงได้จัดพิมพ์เป็นภูมิปัญญาการแพทย์
แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ นำ�ไปสู่การใช้ประโยชน์ทางการแพทย์และวิชาการ คัมภีร์ธาตุวินิจฉัยนี้
จึงเป็นส่วนหนึ่งของการอนุรักษ์ คุ้มครองและสืบทอดมรดกภูมิปัญญาด้านการแพทย์แผนไทย
ให้คงอยู่คู่ประเทศชาติ ตราบนานเท่านาน
						
(นายแพทย์มรุต จิรเศรษฐสิริ)
อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
(4)
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
คำ�นำ�			 (๓)
สารบาญ			 (5)
บทนำ�			 (7)
คัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม ๑ เลขที่ ๑๑๓ ๑
คัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม ๒ เลขที่ ๙๕ ๑๐๑
		
คัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม ๓ เลขที่ ๙๙ ๒๑๓
อภิธานศัพท์ ๓๒๒
		
			 บรรณานุกรม ๓๓๔
							
							
สารบาญ
(5)
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย
(๖)
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
					 มภีร์ธาตุวินิจฉัย เป็นตำ�ราการแพทย์แผนไทยที่อยู่ในความครอบครองของ
สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ ที่เป็นแหล่งกลางในการเก็บรวบรวมเอกสารชั้นต้น
ที่เป็นตำ�รายาต่าง ๆ ซึ่งบันทึกเป็นไมโครฟิล์มอยู่ในหมวดเวชศาสตร์ ปัจจุบันบันทึกเป็นรูปแบบ
ไฟล์ดิจิทัลอยู่ในหมวดเวชศาสตร์ มี 3 เรื่อง ได้แก่ คัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม ๑ เลขที่ 113 ว่าด้วย
ธาตุวินิจฉัย คัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม 2 เลขที่ 95 มีตำ�รับยา 79 ตำ�รับ กล่าวถึงลักษณะกองโรค
และคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม 3 เลขที่ 99 กรมหมื่นไชยนาทรฯ ประทานเมื่อวันที่ 6
กุมภาพันธ์ 2458กล่าวถึงลักษณะกองโรคว่าด้วยธาตุทั้ง 4 มีตำ�รับยา 103 ตำ�รับ โดยมี
นักศึกษาปริญญาโท นายกัมพล มะลาพิมพ์ ทำ�การถ่ายถอดปริวรรต เป็นวิทยานิพนธ์หลักสูตร
ปริญญาศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปกร ตำ�ราดังกล่าวประกาศกำ�หนดให้เป็น
ตำ�รับยาแผนไทยของชาติหรือตำ�ราการแพทย์แผนไทยของชาติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข
เรื่องการประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ  (ฉบับที่๒๐)
พ.ศ. ๒๕61 ลงประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓6 ตอนพิเศษ 20 ง วันที่ 2๒ มกราคม ๒๕62
ด้วยเหตุผลดังกล่าว กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จึงได้จัดพิมพ์ชุดตำ�รา
ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ คัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เนื่องจากเป็นตำ�ราแพทย์แผนไทย
ที่มีความสำ�คัญอย่างยิ่ง ด้วยพิจารณาเห็นว่าตำ�รายาของไทยที่ได้รวบรวมไว้ตั้งแต่สมัยโบราณ
จนมาถึงปัจจุบัน แต่ยังไม่มีการเผยแพร่เท่าที่ควรทั้งที่ภูมิปัญญาไทยด้านการแพทย์แผนไทยได้อยู่
คู่กันกับคนไทยตลอดมา
คัมภีร์ธาตุวินิจฉัยเป็นตำ�ราที่ถอดความจากต้นฉบับหนังสือสมุดไทยดำ� คัดและเขียน
ด้วยลายมือ สมัยเก่า เนื้อหาในเล่มมีอายุ ๑๐๐ ปีขึ้นไป อักขรวิธี ภาษาที่ใช้ สัญลักษณ์ที่ปรากฏ
แตกต่างจากปัจจุบันพอสมควร  ดังนั้นเพื่อเป็นความรู้พื้นฐานด้านภาษาและอักษรศาสตร์ในตำ�รายา  
จึงขอกล่าวถึงสิ่งที่เกี่ยวข้องกับการถอดความตำ�รายานี้คือลักษณะสมุดไทยเอกสารใบลานการบันทึก
ภาษาและอักขรวิธีที่ใช้ ซึ่งรายละเอียดมีดังนี้
บทนำ�
คั
(7)
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย
ลักษณะสมุดไทย การบันทึก ภาษา และอักขรวิธีที่ใช้
เนื่องจากการเขียนหนังสือของคนไทยสมัยก่อนที่มิได้รับราชการในกรมอาลักษณ์ มักมี
ลักษณะเฉพาะเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละบุคคล และเป็นยุคสมัยที่คนไทยยังไม่มีการประกาศใช้
พจนานุกรมเพื่อกำ�หนดหลักเกณฑ์เป็นมาตรฐานให้สะกดคำ�ที่มีความหมายเดียวกันเหมือนกัน
ทั่วประเทศ ดังนั้นการผสมคำ�เพื่อการอ่านจึงเป็นไปอย่างอิสระ มีรูปแบบแตกต่างกันตามแต่สำ�นัก
ที่เรียนแต่ละแห่งนิยม หากสำ�นักเรียนนั้น อยู่ใกล้ความเจริญ เช่น พระราชวัง หรือวัดในกรุง
การเขียนหนังสือก็จะมีแบบแผนที่ชัดเจนและถูกต้อง มากกว่า๑
ด้วยเหตุดังกล่าว การใช้รูปอักษร
เขียนคำ�  เพื่อสื่อความหมายให้อ่านออกเสียงได้เข้าใจตามภาษาพูดที่ใช้กันในท้องถิ่นจึงมี
ความสำ�คัญมาก ทำ�ให้เกิดผลกระทบต่อการใช้รูปพยัญชนะ รูปสระสำ�หรับสะกดคำ�ได้หลากหลาย
รูปแบบ แม้จะมีความหมายเช่นเดียวกันก็ตาม เช่น คำ�ว่า บรเพช บอรเพช บระเพช เป็นต้น
เห็นได้ชัดเจนว่าการเขียนหนังสือของคนไทยสมัยก่อนเขียนตามเสียงพูดเพื่อให้สามารถอ่านออกเสียง
และเข้าใจความหมายได้โดยไม่ให้ความสำ�คัญกับวิธีการเขียน
นอกจากนั้นสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ ยังได้อธิบายถึงลักษณะ
การเขียนข้อความลงในหนังสือสมุดไทยว่ามี ๓ ลักษณะ๒
คือ
๑. ลักษณะการเขียนหนังสืออย่างอาลักษณ์ ได้แก่ หนังสือที่ผู้เขียนเป็นผู้มีความรู้ ฝึกหัด
งานเขียนจากข้าราชการในกรมอาลักษณ์หรือจากผู้รู้หลัก ผู้รู้เหล่านี้จะมีความรู้ความสามารถ
ในทางอักษรศาสตร์ จึงเขียนหนังสือได้ถูกต้อง สวยงาม เป็นระเบียบตามแบบฉบับ
๒. ลักษณะการเขียนอย่างหนังสือเสมียน ได้แก่ หนังสือที่ผู้เขียนหัดเขียนแต่หนังสือหวัด
เพื่อการเขียนให้เร็วและข้อความไม่ตกหล่นเป็นหลัก ส่วนอักขรวิธีนั้นไม่ถือเป็นเรื่องสำ�คัญ
เน้นเฉพาะเพื่อการอ่านเข้าใจในความหมายของข้อความที่ต้องการสื่อสารเท่านั้น
๓. ลักษณะการเขียนอย่างหนังสือหวัด ได้แก่ หนังสือที่เขียนให้มีลักษณะคล้าย
ตัวบรรจง แต่ไม่กวดขันในทางอักษรศาสตร์ ไม่มีรูปแบบแห่งการเขียนอันเป็นแบบฉบับที่แน่นอน
มีความประสงค์เพียงเพื่อให้สามารถอ่านได้รู้เรื่องเท่านั้น การเขียนเช่นนี้ จึงมีทั้งการเขียนตกหล่น
และเพิ่มเติมข้อความตามความประสงค์ของผู้เขียนเป็นสำ�คัญ
๑
ก่องแก้ว  วีระประจักษ์,“ลักษณะอักขรวิธีต้นฉบับหนังสือกฎหมายตราสามดวง”,กฎหมายตราสามดวงฉบับราชบัณฑิตยสถาน,
กรุงเทพ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2550, หน้า 27.
๒
“สาส์นสมเด็จเล่ม 26”, กรุงเทพ : คุรุสภา, 2525, หน้า 158 - 162
(8)
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
		 ตัวอย่างลายมือเขียนแบบอาลักษณ์
อักขรวิธีที่ปรากฏในตำ�รายา  มีบางส่วนที่แปลกไปจากอักขรวิธีปัจจุบัน  บางส่วนเป็นอักขรวิธี
แบบโบราณค่อนข้างมาก  บางส่วนเป็นอักขรวิธีที่พัฒนามาตามยุคสมัย  ซึ่งสังเกตได้ดังนี้
		 ๑. การสะกดคำ� มีลักษณะดังนี้
๑.๑ ในตำ�รายาแต่ละฉบับ  การเขียนสะกดคำ�จะแตกต่างกันบ้างคือ คำ�ๆ เดียวกันใน
ฉบับเดียวกันเขียนต่างกันหลายแบบ  และแต่ละฉบับเขียนไม่เหมือนกัน
				 พยัญชนะต้นไม่เหมือนกัน  เช่น
ขืน เขียนเป็น ฃืน
แข้ง เขียนเป็น แฃ้ง
ธาตุ เขียนเป็น ทาตุ
ข้าวสาร เขียนเป็น     เฃ้าสาร
  หญ้า เขียนเป็น     ญ่า
ใหญ่ เขียนเป็น     ไญ่
สารภี เขียนเป็น     ษารภี
ฯลฯ
(9)
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย
			 คำ�เดียวกันเขียนไม่เหมือนกัน เช่น        
บุคคล        เขียนเป็น     บุทคล บุคล
ริดสีดวง เขียนเป็น     ฤศดวง
ศีรษะ เขียนเป็น     ศีศะ
สะอึก เขียนเป็น       สอึก
ราศรี เขียนเป็น     ราษีร
พิษ เขียนเป็น     พิศม
สรรพยา เขียนเป็น     สัพยา
จำ�เพาะ เขียนเป็น     จำ�เภาะ
พยาธิ เขียนเป็น     พยาทิ
อายุ เขียนเป็น     อายุศม
ยาดำ� เขียนเป็น     อยาดำ�
ขัณฑศกร เขียนเป็น     ขันทษกอร
มะขามป้อม เขียนเป็น     มฃามปอม
สมุฏฐาน ขียนเป็น     สมุถาน
กระดูก เขียนเป็น     กดูก
พิษนาศน์ เขียนเป็น     เพชนาด
พิมเสน เขียนเป็น     ภิมเสน
ขี้เหล็ก        เขียนเป็น     ขี้เหลก ขี้เลก
บด เขียนเป็น บท
แข็ง เขียนเป็น แขง
ยา เขียนเป็น อยา
คลั่ง เขียนเป็น     คลั้ง
เน่า เขียนเป็น     เน้า
ชะโลม เขียนเป็น     โฉลม
เล็บ เขียนเป็น     เลบ
เทศ เขียนเป็น     เทษ
กัน เขียนเป็น     กรร
หน้าผาก เขียนเป็น     น่าผาก
(10)
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
				 ใช้ตัวสะกดไม่ตรงตามรูปปัจจุบัน เช่น
ปวด เขียนเป็น     ปวต
ใบ เขียนเป็น     ไบ
ปัสสาวะ เขียนเป็น     ปสาวะ
ท่าน เขียนเป็น     ท่าร
สุนัข เขียนเป็น     สุนักข์
สมอ เขียนเป็น     ษหมอ
สะค้าน เขียนเป็น     สฆ้าน
ฯลฯ
โทษ เขียนเป็น โทศ
โกรธ เขียนเป็น โกรฏ
พิษ เขียนเป็น     พิศม์
วันพฤหัสบดี เขียนเป็น     วันพระหัศ
เม็ด เขียนเป็น     เมต
กำ�หนด เขียนเป็น     กำ�นฏ
ประเภท เขียนเป็น     ประเพท
สรรพคุณ เขียนเป็น     สรัพคุน
พิจารณา เขียนเป็น     พิจรนา พิจรรนา
ใบหนาด เขียนเป็น     ไบนาศ
ฯลฯ
(11)
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย
		นิยมเขียนตามเสียงพูดและสะกดตามแนวนิยมในสมัยนั้น เช่น
อายุ เขียนเป็น อายุศม์                                  
ข้าวสาร     เขียนเป็น   เข้าสาน
มิ เขียนเป็น   หมิ
ขัดมอน เขียนเป็น   คัดม้อน
หยอด เขียนเป็น   ยอด
อัญชัน เขียนเป็น   อังชัน
ตานหม่อน เขียนเป็น   ตานมอน
หิ่งห้อย เขียนเป็น     หิงหอย
ฯลฯ
ไส้ เขียนเป็น ไสย
เน่า เขียนเป็น    เหน้า
เหม็น เขียนเป็น    เหมน
เกล็ด เขียนเป็น    เกลด
กระดอง เขียนเป็น    กดอง
ก้าง เขียนเป็น    กาง
ฯลฯ
ฝักเข้า      เขียนเป็น   ฟักข้าว
คัดเค้า           เขียนเป็น   ขัดค้าว
บดละลาย เขียนเป็น บดลาย
คุลีการ เขียนเป็น คูลีกาน
ฯลฯ
๑.๒ รูปวรรณยุกต์ในตำ�รายา มีทั้งการใช้รูปวรรณยุกต์และไม่ใช้ รูปวรรณยุกต์ ผู้อ่าน
ต้องเติมเอาเองเวลาอ่านเป็นขนบการเขียนแบบโบราณ เช่น
๒. การใช้คำ�ในตำ�รายา จะนำ�คำ�ที่เป็นภาษาพูดในท้องถิ่นด้านคำ�และการออกเสียงคำ�มา
เป็นภาษาเขียนในตำ�รายา เช่น
(12)
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
๓. การใช้เครื่องหมายและสัญลักษณ์ต่างๆ มีการใช้สัญลักษณ์ประกอบการเขียน
อยู่หลายประเภทดังนี้
๓.๑ เครื่องหมายเริ่มต้นข้อความระหว่างข้อความและเครื่องหมายจบ
ข้อความ เครื่องหมายเหล่านี้ ถือว่าเป็นเครื่องหมายที่พบอย่างสม�่ำเสมอในการเขียนในต�ำรายา
และเอกสารโบราณ  ได้แก่
      ๏ เครื่องหมายฟองมัน หรือตาไก่ หรือก้นหอย เพราะบางคนเขียนเหมือนก้นหอย
เป็นเครื่องหมายที่ใช้ในการเริ่มต้น หรือเริ่มต�ำรับยา จะเขียนไว้ข้างหน้า  เช่น                          
๏ อาจาริเยน ฯ
๏ จกล่าวคุณแห่งมะขามป้อมนั้น…
			 ฯ, ๚, ๚ะ เครื่องหมายเปยยาล เป็นเครื่องหมายที่มักพบต่อจากเครื่องหมายฟองมัน
นั่นคือ เมื่อเริ่มเนื้อความ เช่น บอกชื่อโรค ชื่อยา ต�ำรับยาจบแล้วจะใช้เครื่องหมาย ฯ ในกรณีที่ยังมียา
อีกขนานหนึ่งที่ใช้รักษาโรคนั้นได้  จะมีข้อความต่ออีกและจบด้วยเครื่องหมาย๚  เครื่องหมายเปยยาล
จึงเป็นเครื่องหมายที่เริ่มข้อความ และจบข้อความ ดังตัวอย่าง
(13)
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย
			 ๛  เครื่องหมายโคมูตร เป็นเครื่องหมายที่ใช้ตอนจบข้อความหรือเรื่องใหญ่ๆ ที่เนื้อความ
ต่อจากนั้นเป็นเรื่องใหม่ เครื่องหมายโคมูตรมีหลายลักษณะคือ
ใช้เขียนเดี่ยวๆ หรือเขียนร่วมกับเครื่องหมายเปยยาล ดังตัวอย่าง
๛ ๚๛ ๚ ะ๛ ๛
(14)
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
					 เครื่องหมายปีกกาหรือเครื่องหมายควง เป็นเครื่องหมายที่พบค่อนข้างมาก                                                                                                                                             
อีกเครื่องหมายหนึ่งในต�ำรายา ใช้วางหลังข้อความหรือค�ำ ซึ่งเขียนไว้หลายบรรทัด
เพื่อให้อ่านข้อความนั้นต่อเนื่องกัน ดังตัวอย่าง           
(15)
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย
เล่ม ๑
ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
1
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม
หมวด เวชศาสตร์
เลขที่ ๑๑๓
ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ
๑
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม
หมวด เวชศาสตร์
เลขที่ ๑๑๓
ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ
๑
2 ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย
เอกสารต้นฉบับ
หน้าที่ 1-2
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
3
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม
หมวด เวชศาสตร์
เลขที่ ๑๑๓
ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ
๑
คำ�ถ่ายถอด
หน้าที่ 1-2
๏ พรคัมภีร์ธาตุวินิ+จไฉยผูก 1
กล่าวมาในลักษณกองโรคยว่าด้วย (ขันธบัญจกทั้ง 5 แลอายตณะ 6)
(คติดำ�เนินแห่งพระจันทร) พระ (อาทิ) ตย
(ธาตุอภิญญาณ)
จ(ตุรธาตุสมา)สรรพ
ธ(าตุแตก) ให้โทศ
(ธาตุกำ�เริบให้โทศ)
(ธาตุลดถอย)
(ธาตุวิ) นิจฺฉ (ย) สตฺถํ (โจ) ราเณหิบ (ก) …………….... (กฺ) ขามิสุขิปุลฺลํ วนฺทิตฺวา รตตนตฺต (ยํ)
๚ อหํ ๚ อันว่าข้า วนฺทิตฺวา ไหว้ (กราบ รตนตฺต) ยํ ซึ่งพรรัตณไตรย ปวกฺขามิ
จักกล่าวบัดนี้ สตฺถํ ซึ่งพรคัมภีร์ (ธาตุวินิจฺฉัย) นั้น ชื่อว่าธาตุวินิจไฉย
สุวิปลฺลํ อันไพร+ย+บูร(ย์) เปนอัน……………..แพทยทังหลาย
คำ�อ่าน
หน้าที่ 1-2
๏ พระคำ�ภีร์ธาตุวินิจฉัยผูก 1
กล่าวมาในลักษณะกองโรคด้วย ขันธ์บัญจกทั้ง 5 แลอายตน 6
คติดำ�เนินแห่งพระจันทร์พระอาทิตย์
ธาตุอภิญญาณ
จตุธาตุสมาสรรพ
ธาตุแตกให้โทษ
ธาตุกำ�เริบให้โทษ
ธาตุลดถอย
ธาตุวินิจฺฉย......สตฺถํ โจราเณหิบก..........กฺขามิสุขิปุลฺลํ  วนฺทิตฺวา รตตนตฺตยํ
๚ อหํ ๚ อันว่าข้า วนฺทิตฺวา ไหว้กราบ รัตนตตยัง ซึ่งพระรัตนตรัย ปวกฺขามิ
จักกล่าวบัดนี้ สตฺถํ ซึ่งพระคัมภีร์ ธาตุวินิจฉัยนั้น ชื่อว่าธาตุวินิจฉัย
สุวิปลลํ อันไพบูลย์ เป็นอัน............. แพทย์ทั้งหลาย
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม
หมวด เวชศาสตร์
เลขที่ ๑๑๓
ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ
๑
4 ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย
เอกสารต้นฉบับ
หน้าที่ 3-4
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
5
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม
หมวด เวชศาสตร์
เลขที่ ๑๑๓
ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ
๑
คำ�ถ่ายถอด
หน้าที่ 3-4
ผู้เปนอาจาริยในก่อน (ตฺต)………………………อายตนํ
อุตุ วิถึสุริยสฺส เวลํโรคนกา...............วชฺชกมฺมิกา วชฺชกมฺมิกา
อนนว่าบุคลท้งงหลายอนนปราถ.......ม สิกฺเบยฺยํ พึงสึกษาให้
รู้จัก ขนฺธธาตุอายตนํ ซึ่งขันธ์ (บัญจก) แลธาตุท้งง 4 แลอาตณะ 6
ก็ดี อุตํ ซึ่ง ระดู ก็ดี วิถึ ซึ่ง วิถี ก็ดี สุริ (ยํ) ของพรอาทิตย (ก็ดี) เวลํ ซึ่งเวลา
ก็ดี+กุปฺปติ อนน เปนเพลากำ�เริบ โร(คานิ) (ซึ่งโร) คยท้งงหลาย ๚ อธิบายว่า
ถ้าบุกคลผู้ใดจะเรยีนเปนแพทย (พึงสึกษา) ให้รู้จักในลักษณเบญ+จ+ขนนธ์
(แลเบญจขันธ์) ทั้ง 5 นั้น คือ รูป + กขนนธ์ 1 คือ (เวทนาขันธ์ 1) คือสยา+กขนนธ์ 1
คำ�อ่าน
หน้าที่ 3-4
ผู้เป็นอาจารย์ในก่อนตฺต……................อายตนํ
อุตํ วิถึสุริยสฺส เวลํโรคนกา...............วชฺชกมฺมิกา วชฺชกมฺมิกา
อันว่าบุคคลทั้งหลายอันปรารถนา............ม สิกฺเบยฺยํ พึงศึกษาให้
รู้จัก ขนฺธธาตุอายตนํ ซึ่งขันธ์บัญจกแลธาตุทั้ง 4 แลอาตนะ 6
ก็ดี อุตํ ซึ่ง ฤดูก็ดี ซึ่งวิถีก็ดี สุริยํ ของพระอาทิตย์ ก็ดี เวลํซึ่ง เวลา
ก็ดี กุปฺปติ อันเป็นเพลากำ�เริบ โรคย ซึ่งโรคทั้งหลาย ๚ อธิบายว่า
ถ้าบุคคลผู้ใดจะเรียนเป็นแพทย์พึงศึกษาให้รู้จักในลักษณะเบญจขันธ์
แลเบญจขันธ์ทั้ง 5 นั้น รูปกขันธ์ 1 คือ เวทนาขันธ์ 1 คือสัญญากขันธ์ 1
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม
หมวด เวชศาสตร์
เลขที่ ๑๑๓
ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ
๑
6 ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย
เอกสารต้นฉบับ
หน้าที่ 5-6
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
7
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม
หมวด เวชศาสตร์
เลขที่ ๑๑๓
ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ
๑
คำ�ถ่ายถอด
หน้าที่ 5-6
คือสงงขารักขนนธ์ 1 คือวิญ (ญาณขันธ์ 1) รูปขนนธ์นั้น ได้แก่
นิบผันนะรูป 18 ประการ คือ มหาภู (รูป 4) ปสาทรูป 5 วิใสยรูป 4
ภาวะรูป 2 หทัยรูป 1 ชีวิตรูป 1 (อาหาร) รูป 1 เปนรูป 18 ประการ
ด้วนกัน ดงงนี้ จะแจกออกให้เข้า (ใจพอ) สังเขปก็ครันจะว่าให้วิถาร
ก็จนเนิ่นความในพรคำ�ภีร์แพทยา (นี้ส่วนหนึ่ง) อยู่ในพรคัมภีร์ปรมัตถ์
โนนแล้ว อนนว่ามหาภูตรูป 4 (นั้นได้) แก่ธาตุทงง 4 คือ          ธาตุนี้  
ได้ชื่อว่ามหาภูตรูป เพราะเหตุว่า (เปน) ใหญ่แลเปนที่อาไส+ยแห่ง
รูปทงงปวง มีอุปมาดังถ�้ำอัน (มีอยู่ในภูเขาเป็นที่) (อาใสย) แห่งสัตวท้งงปวง ๚
คำ�อ่าน
หน้าที่ 5-6
คือสังขารักขันธ์ 1 คือวิญญาณขันธ์ 1 รูปขันธ์นั้น ได้แก่
นิปผันนะรูป 18 ประการ คือมหาภูตรูป 4 ประสาทรูป 5 วิสัยรูป 4
ภาวรูป 2 หทัยรูป 1 ชีวิตรูป 1 อาหารรูป 1 เป็นรูป 18 ประการ
ด้วนกัน ดังนี้ จะแจกออกให้เข้าใจพอสังเขปก็ครันจะว่าให้วิตถาร
ก็จนเนิ่นความ ในพระคัมภีร์แพทยานี้ ส่วนหนึ่งอยู่ในพระคัมภีร์ปรมัตถ์
โน้นแล้ว อันว่ามหาภูตรูป 4 นั้นได้ แก่ธาตุทั้ง 4 ปถวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุนี้
ได้ชื่อว่ามหาภูตรูปเพราะเหตุว่าเป็นใหญ่แลเป็นที่อาศัยแห่ง
รูปทั้งปวง มีอุปมาดังถ�้ำอันมีอยู่ในภูเขาเป็นที่อาศัยแห่งสัตว์ทั้งปวง ๚
ปัถวี
อาโป
เตโช
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม
หมวด เวชศาสตร์
เลขที่ ๑๑๓
ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ
๑
8 ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย
เอกสารต้นฉบับ
หน้าที่ 7-8
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
9
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม
หมวด เวชศาสตร์
เลขที่ ๑๑๓
ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ
๑
คำ�ถ่ายถอด
หน้าที่ 7-8
๚ อนนว่าประสาทรูป 5 นั้น คือ (จักษุประสาท 1) คือโสตประสาท 1
คือ ฆานประสาท 1 คือชิวหาประ (สาท 1 คือกาย) ประสาท 1 จักษุประสาท
นนน มีสัณฐานอนนน้อยเท่าศีศะเหา (ตั้งอยู่) ในถ�้ำกลางแห่งวงตาด�ำ
เปนใหญ่ในที่จะให้เหนรูปสรรพสิ่ง (ทงง) ปวง ถ้าแลจักษุประสาท (ฃาด)
สูญก็มิ+เห็นสิ่งใดเลย ๚ แลโสตประสาทนั้นมีสันฐานน้อยเท่าขน
ทรายจามจุรีเป็นวงกลมดุจวง (แว่นตั้ง) อยู่ในช่องหูทัง 2 เปน
ใ+หญ่ที่จะให้ได้ยิน ซึ่งสรรส�ำ (เนียงทั้ง) ปวง ถ้าแลโสตประสาท
ฃาดสูญก็มิได้ยินซึ่ง (สิ่งใดเลย) แลฆานประสาท
ค�ำอ่าน
หน้าที่ 7-8
๚ อันว่าประสาทรูป 5 นั้น คือจักษุประสาท 1 คือโสตประสาท 1
คือ ฆานประสาท 1 คือชิวหาประสาท 1 คือกายประสาท 1 จักษุประสาท
นั้น มีสัณฐานอันน้อยเท่าศีรษะเหาตั้งอยู่ในท่ามกลางแห่งวงตาด�ำ
เป็นใหญ่ในที่จะให้เห็นรูปสรรพสิ่งทั้งปวง ถ้าแลจักษุประสาทขาด
สูญก็มิเห็นสิ่งใดเลย ๚ แลโสตประสาทนั้นมีสัณฐานน้อยเท่าขน
ทรายจามจุรีเป็นวงกลมดุจแว่นตั้งอยู่ในช่องหูทั้ง 2 เป็น
ใหญ่ที่จะให้ได้ยินซึ่งสรรพส�ำเนียงทั้งปวง ถ้าแลโสตประสาท
ขาดสูญก็มิได้ยินซึ่งสิ่งใดเลยแลฆานประสาท
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม
หมวด เวชศาสตร์
เลขที่ ๑๑๓
ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ
๑
10 ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย
เอกสารต้นฉบับ
หน้าที่ 9-10
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
11
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม
หมวด เวชศาสตร์
เลขที่ ๑๑๓
ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ
๑
ค�ำถ่ายถอด
หน้าที่ 9-10
นั้นมีสันฐานดงงเขาแพะ ตังง (อยู่ถ�้ำกลางจมูก) เปนให+ญ่อยู่ในที่จะให้รู้จักกลิ่น
ทงงปวง ถ้าแลฆาณะประสาทฃาดสูญ (แล้วก็มิได้รู้) จักกกลิ่นหอมแลเหมนท้ง
ปวง ๚ แลชิวหาประสาทน้นน (มีสัณฐาน) (ดังง) กลีบอุบล ตั้งอยู่ในถ�้ำกลาง
ลิ้น เปนให+ญ่ในที่จะให้รู้จักรษทงงปวง (ถ้าแล) ชิวหาประสาทฃาดสูญแล้ว
ก็+มิได้รู้จักรศอาหารทังงหลาย ๚ (แลกายประสาท) นั้นซึมทราบอยู่ทัวกรชกาย
เปนไ+หญ่ในที+จะให้รู้จัก+สิ่งอันเปนทีเนื้ออ่อนแลกระดูก (อันหยาบอัน) ละเอยีดน้นน
ก็อาใส+ยแก่กายประสาทน้นน ถ้าแลกายประสาท (พิรุธฃาดสูญไป) ให้กายเปนเหนบ
ชาไปยมิได้รู้ซึ่งสิ่งทงงปวง อนนเปน...................นั้นเฃ้ากรรจึ่งเปน
ค�ำอ่าน
หน้าที่ 9-10
นั้นมีสัญฐานดังเขาแพะ ตั้งอยู่ท่ามกลางจมูกเป็นใหญ่อยู่ในที่จะให้รู้จักกลิ่น
ทั้งปวง ถ้าแลฆานประสาทขาดสูญแล้วก็มิได้รู้จักกลิ่นหอมแลเหม็นทั้ง
ปวง ๚ แลชิวหาประสาทนั้นมีสัญฐานดังกลีบอุบลตั้งอยู่ในท่ามกลาง
ลิ้น เป็นใหญ่ในที่จะให้รู้จักรสทั้งปวง ถ้าแลชิวหาประสาทขาดสูญแล้ว
ก็มิได้รู้จักรสอาหารทั้งหลาย ๚ แลกายประสาทนั้นซึมซาบทั่วสรรพกาย
เป็นใหญ่ในที่จะให้รู้จักสิ่งจับเป็นที่เนื้ออ่อนแลกระดูกอันหยาบอันละเอียดนั้น ก็อาศัยแก่
กาย-ประสาทนั้น ถ้าแลกายประสาทพิรุธขาดสูญไปให้กายเป็นเหน็บชาไป
มิได้รู้ซึ่งสิ่งทั้งปวง อันเป็น.................นั้นเข้ากันจึงเป็น
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม
หมวด เวชศาสตร์
เลขที่ ๑๑๓
ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ
๑
12 ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย
เอกสารต้นฉบับ
หน้าที่ 11-12
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
13
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม
หมวด เวชศาสตร์
เลขที่ ๑๑๓
ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ
๑
ค�ำถ่ายถอด
หน้าที่ 11-12
ประสาทรูป 5 ดุจกล่าวมาดงงนี้แล (วิสัยรูป 4) ได้แก่อารมณ์ทัง 4
คือรูปารมณ์ คือสัททารมณ์ 1 คือ (คันธารมธ์ 1) คือระสารมณ์ 1
แลภาวรูป 2 น้นน คืออิตถีภาวรูป (1 คือปุริส) ภาวรูป 1 แล้วหทยรูป 1
น้นน ได้แก่ดวงกมลหฤไท+ยแลชีวิต (รูป 1) น้นน ได้แก่ชีวิตรอันกระท�ำ
ให้รูปท้งงปวงสดชื่น ผิอุปะมาดุจ (น�้ำเลี้ยง) ซึ่งชาติอุบล แลอาหาร
รูป 1 น้นน ได้แก่ฃองบริโภค (เปนต้นว่า) เฃ้าแลน�้ำ ของบริโภคนี้
ย่อมบ�ำรุงไว้ซึ่งก�ำลัง แลฉวีวรรณ (เนื้อหนังมังษ) แลโลหิต ในรูป
กายในปจุบันนั้น เหตุฉนี้ (รูปกายทั้งหลายที่พรรณนา) เฃ้ากรรซึ่ง
ค�ำอ่าน
หน้าที่ 11-12
ประสาทรูป 5 ดุจกล่าวมาดังนี้แลวิสัยรูป 4 ได้แก่อารมณ์ทั้ง 4
คือรูปารมณ์ คือสัททารมณ์ 1 คือคันธารมณ์ 1 คือรสารมณ์ 1
แลภาวรูป 2 นั้น คืออิตถีภาวรูป 1 คือปุริสภาวรูป 1 แล้วหทัยรูป 1
นั้น ได้แก่ดวงกมลหฤทัยแลชีวิตรูป 1 นั้น ได้แก่ชีวิตอันกระท�ำ
		
ให้รูปทั้งปวงสดชื่น ผิอุปมาดุจน�้ำเลี้ยงซึ่งชาติอุบล แลอาหาร
รูป 1 นั้น ได้แก่ของบริโภคเป็นต้นว่าข้าวแลน�้ำ ของบริโภคนี้
ย่อมบ�ำรุงไว้ซึ่งก�ำลัง แลฉวีวรรณ เนื้อหนังมังสะ แลโลหิต ในรูป
กายในปัจจุบันนั้น เหตุฉะนี้รูปกายทั้งหลายที่พรรณนาเข้ากันซึ่ง
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม
หมวด เวชศาสตร์
เลขที่ ๑๑๓
ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ
๑
14 ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย
เอกสารต้นฉบับ
หน้าที่ 13-14
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
15
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม
หมวด เวชศาสตร์
เลขที่ ๑๑๓
ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ
๑
ค�ำถ่ายถอด
หน้าที่ 13-14
เปนนิ+บผันรูป 18 จัตเปน (รูปธรรม) ๚ อนนว่าเวทนา + กขันธ์นั้น
ได้แก่เวทนาเจตสิก เวทนา (เจตสิกเปน) ใหญ่ในที่ให้เสวยอารมณ์
อนนสุกขแลทุกขแลอุเบกขา (เวทนาอนนบัง) เกิดทั่วไปในจิตทังปวง
เหตุดังนั้นจึงจัดเปนเวทนาขันธ์ (อนน) ว่าสัญญา+กขนนธ์น้นน
ได้แก่สัญญาเจตสิกๆ นี้มีลักษณะเปนต้นว่าสิ่งนี้             ให้รู้เปน
แต่เอกเทศดังนี้ สญญานี้เกิด (ทั่งทงง) จิตทงงปวง เหตุดัง
น้นนจึงจัตได้ชื่อว่าสญญา+กขนนธ์ อนนว่าสังขารรักขนนธ์นั้น ได้แก่
เจตสิกทรร 50 ดวงอนน (เศษจากสัญญาเวทนา) เดิมทีนั้นจัตเปน
ค�ำอ่าน
หน้าที่ 13-14
เป็นนิปผันรูป 18 จัดเป็นรูปธรรม ๚ อันว่าเวทนากขันธ์นั้น
ได้แก่เวทนาเจตสิก เวทนาเจตสิกเป็นใหญ่ในที่ให้เสวยอารมณ์
อันสุขแลทุกข์แลอุเบกขา เวทนาอันบังเกิดทั่วไปในจิตทั้งปวง
เหตุดังนั้นจึงจัดเป็นเวทนาขันธ์อันว่าสัญญากขันธ์นั้น
ได้แก่สัญญาเจตสิก สัญญาเจตสิกนี้มีลักษณะเป็นต้นว่าสิ่งนี้ขาว เหลือง แดง ด�ำให้รู้เป็น
แต่เอกเทศดังนี้ สัญญานี้เกิดทั่วทั้งจิตทั้งปวง เหตุดัง
นั้นจึงจัดได้ชื่อว่าสัญญากขันธ์ อันว่าสังขารักขันธ์นั้น ได้แก่
เจตสิกทั้ง 50 ดวงอันเศษจากสัญญาเวทนาเดิมทีนั้นจัดเป็น
ฃาว
เหลือง
แดง
ดำ�
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม
หมวด เวชศาสตร์
เลขที่ ๑๑๓
ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ
๑
16 ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย
เอกสารต้นฉบับ
หน้าที่ 15-16
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
17
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม
หมวด เวชศาสตร์
เลขที่ ๑๑๓
ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ
๑
ค�ำถ่ายถอด
หน้าที่ 15-16
เจตสิก 25 ยกเวทนาเจตสิก (ไปเปนเวทนา) (ขนนธ์) ยกเจตสิกไปย
เปนสัญญากขนนธ์แล้วยัง 50 ดงงนั้นจัตเปนขนนธ์อันนห+นึ่ง ชื่อว่า
						
สงงขารักขนนธ์ แลขนนธ์ทงง 3 นั้นคือ             ขนนธ์นี้
จัตเฃ้ากันเปนนามธรรม ๚ อนนว่าเวทนากขนนธ์ ได้แก่วิชากจิต
นั้นเปนเจ้าพนักงานลงสู่ปิติสนธิ (แล) วิชากจิตอนนเปนเจ้า
พนักงาน ให้ผลในปจุบันนี้แลได้ (ชื่อ) ว่าวิญญาณ วิญญา+ณนี้แปลว่ารู้
แต่บันดาจิตรทงงปวงน้นน ย่อม (มีลักษณะ) รู้ซึ่งอารมณ์เหมือนกัน
สิ้นเหตุดงงนี้จึงจัต (ออกเปน)……………..เฃ้ากรรเปนเบญจ
ค�ำอ่าน
หน้าที่ 15-16
เจตสิก 25 ยกเวทนาเจตสิกไปเป็นเวทนาขันธ์ เสียยกสัญญาเจตสิกไป
เป็นสัญญากขันธ์แล้วยัง 50 ดังนั้นจัดเป็นขันธ์อันหนึ่ง ชื่อว่า
สังขารักขันธ์ แลขันธ์ทั้ง 3 นั้น คือเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารักขันธ์ นี้
จัดเข้ากันเป็นนามธรรม ๚ อันว่าเวทนากขันธ์ ได้แก่วิชากจิต
นั้นเป็นเจ้าพนักงานลงสู่ปฏิสนธิ แลวิชากจิตอันเป็นเจ้า
พนักงาน ให้ผลในปัจจุบันนี้แลได้ชื่อว่าวิญญาณ วิญญาณนี้แปลว่ารู้
แต่บรรดาจิตทั้งปวงนั้น ย่อมมีลักษณะรู้ซึ่งอารมณ์เหมือนกัน
สิ้นเหตุดังนี้จึงจัดออกเป็น...............เข้ากันเป็นเบญจ-
เวทนา
สัญญา
สงงขารัก
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม
หมวด เวชศาสตร์
เลขที่ ๑๑๓
ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ
๑
18 ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย
เอกสารต้นฉบับ
หน้าที่ 17-18
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
19
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม
หมวด เวชศาสตร์
เลขที่ ๑๑๓
ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ
๑
ค�ำถ่ายถอด
หน้าที่ 17-18
ขนนธ์ท้งง 5 ดุจกล่าวมานี้ ๚ (ล�ำดับต่อไปว่าด้วย) อายตณะ 6 น้นน
คือ จักขุวายตณะ 1 โสตายตณะ 1 (ฆานายตณะ 1) ชิวหาอายตณะ 1
กา+ยายตณะ 1 + มะนายตณะ 1 อนนว่าจักขุวายตณะ ได้แก่จักษุทงง 2 ซ้าย ขวา
อันที่ปรากฎแห่งรูปารมณ์ รูป(สร+รพสิ่ง) ทั้งปวงนั้นไห+ญ่แลน้อยยาบและ
(ละเอียด) ปรากฏน้นน ก็ย่อมปรากฏว่าจักษุ จักษุนี้มีอุปมาดุจ
เปนบ่อแห่งรูป เหตุดังนี้จึ่งให้ ชื่อว่าจักขุวายตณะ ๚ อนนว่าโสดายตณะ
น้นน ได้แก่กรร+ณทงงสองอันเปนที่ (ปรากฏแห่ง) เสียง ฆานายตณะ ได้แก่
นาสิก ชิวหาตณะ ได้แก่ลิ้น (กายายตณะ) ได้แก่กาย ฆนายตณะ
ค�ำอ่าน
หน้าที่ 17-18
ขันธ์ทั้ง 5 ดุจกล่าวมานี้ ๚ ล�ำดับต่อไปว่าด้วยอายตนะ 6 นั้น
คือ จักขุวายตนะ 1 โสตายตนะ 1 ฆานายตนะ 1 ชิวหาอายตนะ 1
กายายตนะ 1 มนายตนะ 1 อันว่าจักขุวายตนะ ได้แก่จักษุทั้ง 2 ซ้าย ขวา
อันที่ปรากฏแห่งรูปารมณ์ รูปสรรพสิ่ง ทั้งปวงนั้นใหญ่แลน้อยหยาบและ
ละเอียดปรากฎนั้น ก็ย่อมปรากฏว่าจักษุ จักษุนี้มีอุปมาดุจ
เป็นบ่อแห่งรูป เหตุดังนี้จึงให้ชื่อว่าจักขุวายตนะ ๚ อันว่าโสดายตนะ
นั้น ได้แก่กรรณทั้งสองอันเป็นที่ปรากฎแห่งเสียง ฆานายตนะ ได้แก่
นาสิก ชิวหายตนะได้แก่ ลิ้น กายายตนะได้แก่กาย ฆนายตนะ
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม
หมวด เวชศาสตร์
เลขที่ ๑๑๓
ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ
๑
20 ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย
เอกสารต้นฉบับ
หน้าที่ 19-20
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
21
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม
หมวด เวชศาสตร์
เลขที่ ๑๑๓
ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ
๑
ค�ำถ่ายถอด
หน้าที่ 19-20
ได้แก่ ดวงกมลหฤไทย ๚ อนนว่า (หฤไทยนี้) (เปรียบหมือนบ่ออันเปนที่เกิดแห่งธรรม)
ทังปวงดวงกมลหฤไท+ยนี้ เปนที่ปรากฎแห่งกลิ่น แลรศแลวัตถุอันสัมผัศ
แลเหตุผล นันจพึ่งรู้ด้วยจิตรเหตุดังนี้จึงได้ชื่อว่า+อายตณ 6 ดุจดังกล่าว
มานี้ ๚ ๏ กล่าวมาในเบญจั+กขขนนธ์ 5 แลอายตณะ 6 ก็สิ้นความแต่เพียง
นี้ได้สังเขป ๚ ๏ ในยหนึ่งพึงให้สอบไล่เรียงให้รู้จักลักษณะก�ำเนิด
แห่งหมูโรค+ยทงงหลาย มีตานทรางจอรเปนต้น ตั้งแต่ปติสนธิในครร+พแห่ง
		
มารดาในวนน        วนนก็ดี แลได้เดือน 1 เดือนขึ้นไปจน 10 เดือนก็ดี
		
ก็พึงให้แพทยอภิบาลรักษาตามไข้ (อนนเกิดตามโรค) (ในพรค�ำภีร์พร+หมปุโรหิต)
ค�ำอ่าน
หน้าที่ 19-20
ได้แก่ดวงกมลหฤทัย ๚ อันว่าดวงหฤทัยนี้เปรียบเหมือนบ่ออันเป็นที่เกิดแห่งธรรมทั้ง
ปวง ดวงกมลหฤทัยนี้ เป็นที่ปรากฏแห่งกลิ่น แลรสแลวัตถุอันสัมผัส
แลเหตุผล นั้นจะพึ่งรู้ด้วยจิตเหตุดังนี้จึงได้ชื่อว่าอายตนะ 6 ดุจดังกล่าว
มานี้ ๚ ๏ กล่าวมาในเบญจขันธ์ 5 แล อายตนะ 6 ก็สิ้นความแต่เพียง
นี้ได้สังเขป ๚ ๏ นัยหนึ่งพึงให้สอบไล่เรียงให้รู้จักลักษณะก�ำเนิด
แห่งหมู่โรคทั้งหลาย มีตานซางจรเป็นต้น ตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์แห่ง
มารดาในวัน 1 วัน ในวัน 2 วัน ในวัน 3 วันก็ดี แลได้เดือน 1 เดือนขึ้นไปจน 10
เดือนก็ดีพึงให้แพทย์อภิบาลรักษาตามไข้อันเกิดตามโรคในพระคัมภีร์พรหมปุโรหิต
1
2
3
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม
หมวด เวชศาสตร์
เลขที่ ๑๑๓
ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ
๑
22 ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย
เอกสารต้นฉบับ
หน้าที่ 21-22
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
23
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม
หมวด เวชศาสตร์
เลขที่ ๑๑๓
ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ
๑
ค�ำถ่ายถอด
หน้าที่ 21-22						
แลค�ำภีร์ศิทิสาร แลพรค�ำภีร์..............พรค�ำภีร์นี้ตาม     
แลตามปีเดือนก�ำเนิดแห่งมารดา (ซึ่งอยู่) ในครรพแล                 อนนจอร
ใน          ใดแล          เพลาอนนตก (ฟาก) น้นน ๚ อนึ่งพรอาจาริเจ้าจแจง
ออกบอกกองธาตุทั้ง 4 ให้รู้จักว่า (ตานทรางมีชือน้นน) แลไข้อันนั้น
ชื่อนี้ บางคน          ยามปถวีธาตุบางคน          เปนอาโปธาตุบางคน
เปนเตโชธาตุบางคน          เปนวาโยธาตุอนนว่า         เปน          ก็มีลักษณะ
ต่างๆ กรรดังนี้ เหตุดงงน้นนมหาภูตรูป จึงเปนกระทู้ไข้มี
ตานทรางเปนต้นในเมือกุม (มารนี้) (เมื่อเจริญ) ขึ้นไปทรางก�ำเนิดซึ่งเกิด
ค�ำอ่าน
หน้าที่ 21-22
แลคัมภีร์ศิทิสารแลพระคัมภีร์..............พระคัมภีร์นี้ตามวัน ตามคืน ตามยาม
แลตามปีเดือนก�ำเนินแห่งมารดา ซึ่งอยู่ในครรภ์แลปี แลเดือน แลวันอันจร
ในปีใด ในเดือนใด ในวันใด แลปี แลเดือน แลวัน เพลาอันตกฟากนั้น ๚ อนึ่งพระ-
อาจารย์เจ้าจะแจงออกบอกกองธาตุทั้ง 4 ให้รู้ว่าตานซางมีชื่อนั้น แลไข้นั้น
ชื่อนี้ บางคนปี บางคนเดือน บางคนวัน บางคนยาม เป็นปถวีถาตุ บางคนปี
บางคนเดือนบางคนวัน บางคนยาม เป็นอาโปธาตุ บางคนปี บางคนเดือน บางคนวัน
บางคนยามเป็นเตโชธาตุ บางคนปี บางคนเดือน บางคนวัน บางคนยาม เป็นวาโยธาตุ
อันว่าปี อันว่าเดือน อันว่าวัน อันว่ายาม เป็นปถวี เป็นอาโป เป็นเตโช เป็นวาโย ก็มี
ลักษณะต่างๆ กันดังนี้ เหตุดังนั้นมหาภูตรูป จึงเป็นกระทู้ไข้มี
ตานซางเป็นต้น ในเมื่อกุมารนี้เมื่อเจริญขึ้นไปซางก�ำเนินซึ่งเกิด
วัน
คืน
ยาม
ปี
เดอืน
วนน
ปี
เดอืน
วนน
ปี
เดอืน
วนน
ยาม
ปี
เดอืน
วนน
ยาม
ปี
เดอืน
วนน
ยาม
ปี
เดอืน
วนน
ยาม
ปถวี
อาโป
เตโช
วาโย
ปี
เดอืน
วนน
ปี
เดอืน
วนน
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม
หมวด เวชศาสตร์
เลขที่ ๑๑๓
ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ
๑
24 ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย
เอกสารต้นฉบับ
หน้าที่ 23-24
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
25
กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม
หมวด เวชศาสตร์
เลขที่ ๑๑๓
ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ
๑
ค�ำถ่ายถอด
หน้าที่ 23-24
อยู่แต่        ครรพน้นน อนน (ว่าถ้าไม่หาย) ก็จกลายเปนโรค
ฤศดวงเปนอาธิ อนึ่งออก         แลตาน(ทราง) ลากสาตสรรนิบาต แลหัตหิต
เหือดฝีมเรงคชราช เรื้อนกลากเกลื้อนพยาทธิในทะวะตึงษาการ และ
ฉนนนวุฒิโรค+ย 96 กล่อน 5 ประเมหะ 32 ก็ดี เกิดแต่กองธาตุ
บัญจกแลโรค+ยอนนเกิดเนื่องมาแต่ บิดามารดาน้นน ๚ อนึ่งอนนว่า
ลักษณะพร เคราะห์เทวะดาทั้ง 8 พรองค์ก็จจอรประจ�ำ 12 ราษีน้นน
ก็เปนที่สงงเกดแห่งธาตุทงง 4 เปน (ต้น) คือพร         ทงง 2 (พร) องค์นี้
เปนเตโชธาตุ คือพร        ทั้ง 2 (พรองค์นี้) เปนปถวีธาตุ คือพร
					
ค�ำอ่าน
หน้าที่ 23-24
อยู่แต่ในครรภ์นั้นอยู่แต่นอกครรภ์นั้น อันว่าไม่หายก็กลายเป็นโรค
ริดสีดวงเป็นอาทิ อนึ่งออกด�ำ ออกแดง แลตานซาง รากสาด สันนิบาต แลหัดหิด
เหือด ฝีมะเร็งคชราช เรื้อน กลากเกลื้อน พยาธิในทวติงสาการ และ
ฉะนั้นวุฒิโรค 96 กล่อน 5 ประเมหะ 32 ก็ดี เกิดแต่กองธาตุ
บัญจกแลโรคอันเกิดเนื่องมาแต่บิดามารดานั้น ๚ อนึ่งอันว่า
ลักษณะพระเคราะห์เทวดาทั้ง 8 พระองค์ก็จะจรประจ�ำ 12 ราศีนั้น
ก็เป็นที่สังเกตแห่งธาตุทั้ง 4 เป็นต้น คือ พระอาทิตย์ พระเสาร์ ทั้ง 2 พระองค์นี้เป็น
เตโชธาตุ คือพระจันทร์ พระพฤหัส ทั้ง 2 พระองค์นี้เป็นปถวีธาตุ คือพระพุธ พระศุกร์
ในย
นอก
อาทิต
เสาร
จันท
หัศ
พุทธ
สุกระ
ดำ�
แดง
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม
หมวด เวชศาสตร์
เลขที่ ๑๑๓
ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ
๑
26 ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย
เอกสารต้นฉบับ
หน้าที่ 25-26
ก
อ
ง
ค
ุ
้
ม
ค
ร
อ
ง
แ
ล
ะ
ส
่
ง
เ
ส
ร
ิ
ม
ภ
ู
ม
ิ
ปั
ญ
ญ
า
ก
า
ร
แ
พ
ท
ย
์
แ
ผ
น
ไ
ท
ย
แ
ล
ะ
แ
พ
ท
ย
์
พ
ื
้
น
บ
้
า
น
ไ
ท
ย
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf
ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf

More Related Content

What's hot

สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัว
Thanyalak Chanmai
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยาพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
Nickson Butsriwong
 
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
Kan Pan
 
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมสมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมguestefb2bbf
 
ยาชุด
ยาชุดยาชุด
ยาชุด
Thamonwan Theerabunchorn
 
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...
Vorawut Wongumpornpinit
 
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมแผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
Kamolthip Boonpo
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
ศุภกรณ์ วัฒนศรี
 
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยรายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
Freesia Gardenia
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
Nattha-aoy Unchai
 
ใบงาน วัฎจักรหิน
ใบงาน วัฎจักรหินใบงาน วัฎจักรหิน
ใบงาน วัฎจักรหินOrawan Sripho
 
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
Vorawut Wongumpornpinit
 
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
 ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น  ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการผลิต]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการผลิต]คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการผลิต]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการผลิต]
siep
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNetAnana Anana
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ พ.ศ.2556
ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ พ.ศ.2556ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ พ.ศ.2556
ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ พ.ศ.2556
Vorawut Wongumpornpinit
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษาเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
Chinnapat Noosong
 

What's hot (20)

Microsoft word คำนำ
Microsoft word   คำนำMicrosoft word   คำนำ
Microsoft word คำนำ
 
สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัว
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยาพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
 
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
 
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมสมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
 
ยาชุด
ยาชุดยาชุด
ยาชุด
 
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...
 
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมแผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยรายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
 
ใบงาน วัฎจักรหิน
ใบงาน วัฎจักรหินใบงาน วัฎจักรหิน
ใบงาน วัฎจักรหิน
 
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
 
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
 ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น  ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการผลิต]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการผลิต]คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการผลิต]
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ [ภาคการผลิต]
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
 
บท2
บท2บท2
บท2
 
ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ พ.ศ.2556
ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ พ.ศ.2556ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ พ.ศ.2556
ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ พ.ศ.2556
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษาเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
 

Similar to ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf

ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdfตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdf
Vorawut Wongumpornpinit
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
taem
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdfตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
Vorawut Wongumpornpinit
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
praphan khunti
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
Tuanthon Boonlue
 
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Wila Khongcheema
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
Vorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือแนวทางเวชปฏิบัติ(Clinical Practice Guideline).pdf
คู่มือแนวทางเวชปฏิบัติ(Clinical Practice Guideline).pdfคู่มือแนวทางเวชปฏิบัติ(Clinical Practice Guideline).pdf
คู่มือแนวทางเวชปฏิบัติ(Clinical Practice Guideline).pdf
Vorawut Wongumpornpinit
 
คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน
คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลานคัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน
คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน
Vorawut Wongumpornpinit
 
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560
Vorawut Wongumpornpinit
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5taem
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy
Utai Sukviwatsirikul
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised Nithimar Or
 
Anesthetics and pain medication
Anesthetics and pain medicationAnesthetics and pain medication
Anesthetics and pain medication
Utai Sukviwatsirikul
 
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
Utai Sukviwatsirikul
 
Evolution of pulic health in thailand
Evolution of pulic health in thailandEvolution of pulic health in thailand
Evolution of pulic health in thailand
kamolwantnok
 
Ortho osteoarthritis
Ortho osteoarthritisOrtho osteoarthritis
Ortho osteoarthritis
Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf (20)

ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdfตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdf
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdfตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
 
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
 
คู่มือแนวทางเวชปฏิบัติ(Clinical Practice Guideline).pdf
คู่มือแนวทางเวชปฏิบัติ(Clinical Practice Guideline).pdfคู่มือแนวทางเวชปฏิบัติ(Clinical Practice Guideline).pdf
คู่มือแนวทางเวชปฏิบัติ(Clinical Practice Guideline).pdf
 
คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน
คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลานคัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน
คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน
 
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560
ราชกิจจานุเบกษา พรบ.ควบคุมการส่งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ.2560
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
 
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
 
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
พรบ.วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528
 
Anesthetics and pain medication
Anesthetics and pain medicationAnesthetics and pain medication
Anesthetics and pain medication
 
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
สรุปสาระสำคัญใน (ร่าง) GPP 2556
 
2011 drug system_report
2011 drug system_report2011 drug system_report
2011 drug system_report
 
Evolution of pulic health in thailand
Evolution of pulic health in thailandEvolution of pulic health in thailand
Evolution of pulic health in thailand
 
Ortho osteoarthritis
Ortho osteoarthritisOrtho osteoarthritis
Ortho osteoarthritis
 

ตำราธาตุวินิจฉัย (ฉบับอนุรักษ์).pdf

  • 2. ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ISBN : 978-616-11-4053-3 ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 3. ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย ISBN : 978-616-11-4053-3 ที่ปรึกษา : นายแพทย์มรุต จิรเศรษฐสิริ อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก นายแพทย์ปราโมทย์ เสถียรรัตน์ รองอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก นายแพทย์สรรพงศ์ ฤทธิรักษา รองอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก คณะอนุกรรมการคุ้มครองตำ�รับยาและตำ�ราการแพทย์แผนไทย ผู้ถ่ายถอด : นายกัมพล มะลาพิมพ์ ผู้รวบรวมและเรียบเรียง​​ : ดร.นันทศักดิ์ โชติชนะเดชาวงศ์ และคณะฯ กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย พิมพ์ครั้งที่ ๑ กันยายน ๒๕๖๒ จำ�นวน ๑,๐๐๐ เล่ม จัดพิมพ์โดย : กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สนับสนุนการพิมพ์โดย : กองทุนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พิมพ์ที่ บริษัท สามเจริญพาณิชย์ (กรุงเทพ) จำ�กัด ห้ามจำ�หน่าย (2) ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 4. กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๑๕ กำ�หนดให้กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกมีหน้าที่ รวบรวมข้อมูลภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยเกี่ยวกับตำ�รับยาแผนไทยและตำ�ราการแพทย์แผนไทย ทั่วราชอาณาจักร เพื่อจัดทำ�ทะเบียนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยเกี่ยวกับตำ�รับยาแผนไทยและ ตำ�ราการแพทย์แผนไทยใช้ประโยชน์ในการอ้างอิง ทางวิชาการ ศึกษา วิจัย พัฒนา และมาตรา ๑๗ กำ�หนดให้รัฐมนตรีมีอำ�นาจประกาศกำ�หนดตำ�รับยาแผนไทยหรือตำ�ราการแพทย์แผนไทยที่มีประโยชน์ หรือมีคุณค่าในทางการแพทย์หรือการสาธารณสุขเป็นพิเศษ ให้เป็นตำ�รับยาแผนไทยของชาติหรือ ตำ�ราการแพทย์แผนไทยของชาติแล้วแต่กรณี ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ได้ประกาศกำ�หนดตำ�รับยาแผนไทยของชาติ และตำ�รายาแผนไทยของชาติ ๒๓ ฉบับ ตำ�ราการแพทย์แผนไทย ๔๑๒ รายการ แผ่นศิลา ๔๖๓ แผ่น ตำ�รับยาแผนไทย ๓๒,๗๕๘ ตำ�รับ คัมภีร์ธาตุวินิจฉัย ประกาศกําหนดให้เป็นตำ�รับยาแผนไทยของชาติหรือตำ�ราการแพทย์ แผนไทยของชาติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การประกาศกำ�หนดตํารับยาแผนไทย ของชาติและตําราการแพทย์ของชาติ (ฉบับที่ ๒๐) พ.ศ. ๒๕๖๑ ลงประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๒๐ ง วันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๖๒ ปัจจุบันอยู่ในความครอบครองของ สำ�นักหอสมุดแห่งชาติที่เป็นแหล่งกลางในการเก็บรวบรวมเอกสารชั้นต้น ซึ่งบันทึกเป็นรูปแบบ ไฟล์ดิจิทัลอยู่ในหมวดเวชศาสตร์ มี ๓ เรื่อง ได้แก่ คัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม ๑ เลขที่ ๑๑๓ ว่าด้วย ธาตุวินิจฉัย คัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม ๒ เลขที่ ๙๕ มีตำ�รับยา ๗๙ ตำ�รับ กล่าวถึงลักษณะกองโรค และคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม ๓ เลขที่ ๙๙ กรมหมื่นไชยนาทรฯ ประทานเมื่อวันที่ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๔๕๗ กล่าวถึงลักษณะกองโรคว่าด้วยธาตุทั้ง๔มีตำ�รับยา๑๐๓ตำ�รับการจัดพิมพ์ครั้งนี้เพื่อเป็นการอนุรักษ์ ต้นฉบับอีกทางหนึ่ง รวมทั้งมีการจัดระบบใหม่ให้อ่านเข้าใจง่าย สามารถนำ�มาเป็นตำ�รับยาสำ�หรับ ศึกษาค้นคว้าอีกทั้งเป็นฐานข้อมูลอ้างอิงในการคุ้มครองตำ�รับยาแผนไทยและตำ�ราการแพทย์แผนไทย โดยประกาศกำ�หนดให้เป็นตำ�รับยาแผนไทยของชาติหรือตำ�ราการแพทย์แผนไทยของชาติ คำ�นำ� พ (3) ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 5. ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จึงได้จัดพิมพ์เป็นภูมิปัญญาการแพทย์ แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ นำ�ไปสู่การใช้ประโยชน์ทางการแพทย์และวิชาการ คัมภีร์ธาตุวินิจฉัยนี้ จึงเป็นส่วนหนึ่งของการอนุรักษ์ คุ้มครองและสืบทอดมรดกภูมิปัญญาด้านการแพทย์แผนไทย ให้คงอยู่คู่ประเทศชาติ ตราบนานเท่านาน (นายแพทย์มรุต จิรเศรษฐสิริ) อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข (4) ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 6. กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข คำ�นำ� (๓) สารบาญ (5) บทนำ� (7) คัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม ๑ เลขที่ ๑๑๓ ๑ คัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม ๒ เลขที่ ๙๕ ๑๐๑ คัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม ๓ เลขที่ ๙๙ ๒๑๓ อภิธานศัพท์ ๓๒๒ บรรณานุกรม ๓๓๔ สารบาญ (5) ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 8. กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข มภีร์ธาตุวินิจฉัย เป็นตำ�ราการแพทย์แผนไทยที่อยู่ในความครอบครองของ สำ�นักหอสมุดแห่งชาติ ที่เป็นแหล่งกลางในการเก็บรวบรวมเอกสารชั้นต้น ที่เป็นตำ�รายาต่าง ๆ ซึ่งบันทึกเป็นไมโครฟิล์มอยู่ในหมวดเวชศาสตร์ ปัจจุบันบันทึกเป็นรูปแบบ ไฟล์ดิจิทัลอยู่ในหมวดเวชศาสตร์ มี 3 เรื่อง ได้แก่ คัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม ๑ เลขที่ 113 ว่าด้วย ธาตุวินิจฉัย คัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม 2 เลขที่ 95 มีตำ�รับยา 79 ตำ�รับ กล่าวถึงลักษณะกองโรค และคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม 3 เลขที่ 99 กรมหมื่นไชยนาทรฯ ประทานเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2458กล่าวถึงลักษณะกองโรคว่าด้วยธาตุทั้ง 4 มีตำ�รับยา 103 ตำ�รับ โดยมี นักศึกษาปริญญาโท นายกัมพล มะลาพิมพ์ ทำ�การถ่ายถอดปริวรรต เป็นวิทยานิพนธ์หลักสูตร ปริญญาศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปกร ตำ�ราดังกล่าวประกาศกำ�หนดให้เป็น ตำ�รับยาแผนไทยของชาติหรือตำ�ราการแพทย์แผนไทยของชาติ ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องการประกาศกําหนดตําราการแพทย์แผนไทยของชาติและตํารับยาแผนไทยของชาติ (ฉบับที่๒๐) พ.ศ. ๒๕61 ลงประกาศราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๓6 ตอนพิเศษ 20 ง วันที่ 2๒ มกราคม ๒๕62 ด้วยเหตุผลดังกล่าว กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จึงได้จัดพิมพ์ชุดตำ�รา ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ คัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เนื่องจากเป็นตำ�ราแพทย์แผนไทย ที่มีความสำ�คัญอย่างยิ่ง ด้วยพิจารณาเห็นว่าตำ�รายาของไทยที่ได้รวบรวมไว้ตั้งแต่สมัยโบราณ จนมาถึงปัจจุบัน แต่ยังไม่มีการเผยแพร่เท่าที่ควรทั้งที่ภูมิปัญญาไทยด้านการแพทย์แผนไทยได้อยู่ คู่กันกับคนไทยตลอดมา คัมภีร์ธาตุวินิจฉัยเป็นตำ�ราที่ถอดความจากต้นฉบับหนังสือสมุดไทยดำ� คัดและเขียน ด้วยลายมือ สมัยเก่า เนื้อหาในเล่มมีอายุ ๑๐๐ ปีขึ้นไป อักขรวิธี ภาษาที่ใช้ สัญลักษณ์ที่ปรากฏ แตกต่างจากปัจจุบันพอสมควร ดังนั้นเพื่อเป็นความรู้พื้นฐานด้านภาษาและอักษรศาสตร์ในตำ�รายา จึงขอกล่าวถึงสิ่งที่เกี่ยวข้องกับการถอดความตำ�รายานี้คือลักษณะสมุดไทยเอกสารใบลานการบันทึก ภาษาและอักขรวิธีที่ใช้ ซึ่งรายละเอียดมีดังนี้ บทนำ� คั (7) ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 9. ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย ลักษณะสมุดไทย การบันทึก ภาษา และอักขรวิธีที่ใช้ เนื่องจากการเขียนหนังสือของคนไทยสมัยก่อนที่มิได้รับราชการในกรมอาลักษณ์ มักมี ลักษณะเฉพาะเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละบุคคล และเป็นยุคสมัยที่คนไทยยังไม่มีการประกาศใช้ พจนานุกรมเพื่อกำ�หนดหลักเกณฑ์เป็นมาตรฐานให้สะกดคำ�ที่มีความหมายเดียวกันเหมือนกัน ทั่วประเทศ ดังนั้นการผสมคำ�เพื่อการอ่านจึงเป็นไปอย่างอิสระ มีรูปแบบแตกต่างกันตามแต่สำ�นัก ที่เรียนแต่ละแห่งนิยม หากสำ�นักเรียนนั้น อยู่ใกล้ความเจริญ เช่น พระราชวัง หรือวัดในกรุง การเขียนหนังสือก็จะมีแบบแผนที่ชัดเจนและถูกต้อง มากกว่า๑ ด้วยเหตุดังกล่าว การใช้รูปอักษร เขียนคำ� เพื่อสื่อความหมายให้อ่านออกเสียงได้เข้าใจตามภาษาพูดที่ใช้กันในท้องถิ่นจึงมี ความสำ�คัญมาก ทำ�ให้เกิดผลกระทบต่อการใช้รูปพยัญชนะ รูปสระสำ�หรับสะกดคำ�ได้หลากหลาย รูปแบบ แม้จะมีความหมายเช่นเดียวกันก็ตาม เช่น คำ�ว่า บรเพช บอรเพช บระเพช เป็นต้น เห็นได้ชัดเจนว่าการเขียนหนังสือของคนไทยสมัยก่อนเขียนตามเสียงพูดเพื่อให้สามารถอ่านออกเสียง และเข้าใจความหมายได้โดยไม่ให้ความสำ�คัญกับวิธีการเขียน นอกจากนั้นสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำ�รงราชานุภาพ ยังได้อธิบายถึงลักษณะ การเขียนข้อความลงในหนังสือสมุดไทยว่ามี ๓ ลักษณะ๒ คือ ๑. ลักษณะการเขียนหนังสืออย่างอาลักษณ์ ได้แก่ หนังสือที่ผู้เขียนเป็นผู้มีความรู้ ฝึกหัด งานเขียนจากข้าราชการในกรมอาลักษณ์หรือจากผู้รู้หลัก ผู้รู้เหล่านี้จะมีความรู้ความสามารถ ในทางอักษรศาสตร์ จึงเขียนหนังสือได้ถูกต้อง สวยงาม เป็นระเบียบตามแบบฉบับ ๒. ลักษณะการเขียนอย่างหนังสือเสมียน ได้แก่ หนังสือที่ผู้เขียนหัดเขียนแต่หนังสือหวัด เพื่อการเขียนให้เร็วและข้อความไม่ตกหล่นเป็นหลัก ส่วนอักขรวิธีนั้นไม่ถือเป็นเรื่องสำ�คัญ เน้นเฉพาะเพื่อการอ่านเข้าใจในความหมายของข้อความที่ต้องการสื่อสารเท่านั้น ๓. ลักษณะการเขียนอย่างหนังสือหวัด ได้แก่ หนังสือที่เขียนให้มีลักษณะคล้าย ตัวบรรจง แต่ไม่กวดขันในทางอักษรศาสตร์ ไม่มีรูปแบบแห่งการเขียนอันเป็นแบบฉบับที่แน่นอน มีความประสงค์เพียงเพื่อให้สามารถอ่านได้รู้เรื่องเท่านั้น การเขียนเช่นนี้ จึงมีทั้งการเขียนตกหล่น และเพิ่มเติมข้อความตามความประสงค์ของผู้เขียนเป็นสำ�คัญ ๑ ก่องแก้ว วีระประจักษ์,“ลักษณะอักขรวิธีต้นฉบับหนังสือกฎหมายตราสามดวง”,กฎหมายตราสามดวงฉบับราชบัณฑิตยสถาน, กรุงเทพ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2550, หน้า 27. ๒ “สาส์นสมเด็จเล่ม 26”, กรุงเทพ : คุรุสภา, 2525, หน้า 158 - 162 (8) ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 10. กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ตัวอย่างลายมือเขียนแบบอาลักษณ์ อักขรวิธีที่ปรากฏในตำ�รายา มีบางส่วนที่แปลกไปจากอักขรวิธีปัจจุบัน บางส่วนเป็นอักขรวิธี แบบโบราณค่อนข้างมาก บางส่วนเป็นอักขรวิธีที่พัฒนามาตามยุคสมัย ซึ่งสังเกตได้ดังนี้ ๑. การสะกดคำ� มีลักษณะดังนี้ ๑.๑ ในตำ�รายาแต่ละฉบับ การเขียนสะกดคำ�จะแตกต่างกันบ้างคือ คำ�ๆ เดียวกันใน ฉบับเดียวกันเขียนต่างกันหลายแบบ และแต่ละฉบับเขียนไม่เหมือนกัน พยัญชนะต้นไม่เหมือนกัน เช่น ขืน เขียนเป็น ฃืน แข้ง เขียนเป็น แฃ้ง ธาตุ เขียนเป็น ทาตุ ข้าวสาร เขียนเป็น เฃ้าสาร หญ้า เขียนเป็น ญ่า ใหญ่ เขียนเป็น ไญ่ สารภี เขียนเป็น ษารภี ฯลฯ (9) ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 11. ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย คำ�เดียวกันเขียนไม่เหมือนกัน เช่น บุคคล เขียนเป็น บุทคล บุคล ริดสีดวง เขียนเป็น ฤศดวง ศีรษะ เขียนเป็น ศีศะ สะอึก เขียนเป็น สอึก ราศรี เขียนเป็น ราษีร พิษ เขียนเป็น พิศม สรรพยา เขียนเป็น สัพยา จำ�เพาะ เขียนเป็น จำ�เภาะ พยาธิ เขียนเป็น พยาทิ อายุ เขียนเป็น อายุศม ยาดำ� เขียนเป็น อยาดำ� ขัณฑศกร เขียนเป็น ขันทษกอร มะขามป้อม เขียนเป็น มฃามปอม สมุฏฐาน ขียนเป็น สมุถาน กระดูก เขียนเป็น กดูก พิษนาศน์ เขียนเป็น เพชนาด พิมเสน เขียนเป็น ภิมเสน ขี้เหล็ก เขียนเป็น ขี้เหลก ขี้เลก บด เขียนเป็น บท แข็ง เขียนเป็น แขง ยา เขียนเป็น อยา คลั่ง เขียนเป็น คลั้ง เน่า เขียนเป็น เน้า ชะโลม เขียนเป็น โฉลม เล็บ เขียนเป็น เลบ เทศ เขียนเป็น เทษ กัน เขียนเป็น กรร หน้าผาก เขียนเป็น น่าผาก (10) ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 12. กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ใช้ตัวสะกดไม่ตรงตามรูปปัจจุบัน เช่น ปวด เขียนเป็น ปวต ใบ เขียนเป็น ไบ ปัสสาวะ เขียนเป็น ปสาวะ ท่าน เขียนเป็น ท่าร สุนัข เขียนเป็น สุนักข์ สมอ เขียนเป็น ษหมอ สะค้าน เขียนเป็น สฆ้าน ฯลฯ โทษ เขียนเป็น โทศ โกรธ เขียนเป็น โกรฏ พิษ เขียนเป็น พิศม์ วันพฤหัสบดี เขียนเป็น วันพระหัศ เม็ด เขียนเป็น เมต กำ�หนด เขียนเป็น กำ�นฏ ประเภท เขียนเป็น ประเพท สรรพคุณ เขียนเป็น สรัพคุน พิจารณา เขียนเป็น พิจรนา พิจรรนา ใบหนาด เขียนเป็น ไบนาศ ฯลฯ (11) ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 13. ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย นิยมเขียนตามเสียงพูดและสะกดตามแนวนิยมในสมัยนั้น เช่น อายุ เขียนเป็น อายุศม์ ข้าวสาร เขียนเป็น เข้าสาน มิ เขียนเป็น หมิ ขัดมอน เขียนเป็น คัดม้อน หยอด เขียนเป็น ยอด อัญชัน เขียนเป็น อังชัน ตานหม่อน เขียนเป็น ตานมอน หิ่งห้อย เขียนเป็น หิงหอย ฯลฯ ไส้ เขียนเป็น ไสย เน่า เขียนเป็น เหน้า เหม็น เขียนเป็น เหมน เกล็ด เขียนเป็น เกลด กระดอง เขียนเป็น กดอง ก้าง เขียนเป็น กาง ฯลฯ ฝักเข้า เขียนเป็น ฟักข้าว คัดเค้า เขียนเป็น ขัดค้าว บดละลาย เขียนเป็น บดลาย คุลีการ เขียนเป็น คูลีกาน ฯลฯ ๑.๒ รูปวรรณยุกต์ในตำ�รายา มีทั้งการใช้รูปวรรณยุกต์และไม่ใช้ รูปวรรณยุกต์ ผู้อ่าน ต้องเติมเอาเองเวลาอ่านเป็นขนบการเขียนแบบโบราณ เช่น ๒. การใช้คำ�ในตำ�รายา จะนำ�คำ�ที่เป็นภาษาพูดในท้องถิ่นด้านคำ�และการออกเสียงคำ�มา เป็นภาษาเขียนในตำ�รายา เช่น (12) ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 14. กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓. การใช้เครื่องหมายและสัญลักษณ์ต่างๆ มีการใช้สัญลักษณ์ประกอบการเขียน อยู่หลายประเภทดังนี้ ๓.๑ เครื่องหมายเริ่มต้นข้อความระหว่างข้อความและเครื่องหมายจบ ข้อความ เครื่องหมายเหล่านี้ ถือว่าเป็นเครื่องหมายที่พบอย่างสม�่ำเสมอในการเขียนในต�ำรายา และเอกสารโบราณ ได้แก่ ๏ เครื่องหมายฟองมัน หรือตาไก่ หรือก้นหอย เพราะบางคนเขียนเหมือนก้นหอย เป็นเครื่องหมายที่ใช้ในการเริ่มต้น หรือเริ่มต�ำรับยา จะเขียนไว้ข้างหน้า เช่น ๏ อาจาริเยน ฯ ๏ จกล่าวคุณแห่งมะขามป้อมนั้น… ฯ, ๚, ๚ะ เครื่องหมายเปยยาล เป็นเครื่องหมายที่มักพบต่อจากเครื่องหมายฟองมัน นั่นคือ เมื่อเริ่มเนื้อความ เช่น บอกชื่อโรค ชื่อยา ต�ำรับยาจบแล้วจะใช้เครื่องหมาย ฯ ในกรณีที่ยังมียา อีกขนานหนึ่งที่ใช้รักษาโรคนั้นได้ จะมีข้อความต่ออีกและจบด้วยเครื่องหมาย๚ เครื่องหมายเปยยาล จึงเป็นเครื่องหมายที่เริ่มข้อความ และจบข้อความ ดังตัวอย่าง (13) ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 15. ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย ๛ เครื่องหมายโคมูตร เป็นเครื่องหมายที่ใช้ตอนจบข้อความหรือเรื่องใหญ่ๆ ที่เนื้อความ ต่อจากนั้นเป็นเรื่องใหม่ เครื่องหมายโคมูตรมีหลายลักษณะคือ ใช้เขียนเดี่ยวๆ หรือเขียนร่วมกับเครื่องหมายเปยยาล ดังตัวอย่าง ๛ ๚๛ ๚ ะ๛ ๛ (14) ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 16. กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข เครื่องหมายปีกกาหรือเครื่องหมายควง เป็นเครื่องหมายที่พบค่อนข้างมาก อีกเครื่องหมายหนึ่งในต�ำรายา ใช้วางหลังข้อความหรือค�ำ ซึ่งเขียนไว้หลายบรรทัด เพื่อให้อ่านข้อความนั้นต่อเนื่องกัน ดังตัวอย่าง (15) ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 17. พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม ๑ ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 18. 1 กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม หมวด เวชศาสตร์ เลขที่ ๑๑๓ ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ ๑ ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 19. ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม หมวด เวชศาสตร์ เลขที่ ๑๑๓ ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ ๑ 2 ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย เอกสารต้นฉบับ หน้าที่ 1-2 ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 20. 3 กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม หมวด เวชศาสตร์ เลขที่ ๑๑๓ ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ ๑ คำ�ถ่ายถอด หน้าที่ 1-2 ๏ พรคัมภีร์ธาตุวินิ+จไฉยผูก 1 กล่าวมาในลักษณกองโรคยว่าด้วย (ขันธบัญจกทั้ง 5 แลอายตณะ 6) (คติดำ�เนินแห่งพระจันทร) พระ (อาทิ) ตย (ธาตุอภิญญาณ) จ(ตุรธาตุสมา)สรรพ ธ(าตุแตก) ให้โทศ (ธาตุกำ�เริบให้โทศ) (ธาตุลดถอย) (ธาตุวิ) นิจฺฉ (ย) สตฺถํ (โจ) ราเณหิบ (ก) …………….... (กฺ) ขามิสุขิปุลฺลํ วนฺทิตฺวา รตตนตฺต (ยํ) ๚ อหํ ๚ อันว่าข้า วนฺทิตฺวา ไหว้ (กราบ รตนตฺต) ยํ ซึ่งพรรัตณไตรย ปวกฺขามิ จักกล่าวบัดนี้ สตฺถํ ซึ่งพรคัมภีร์ (ธาตุวินิจฺฉัย) นั้น ชื่อว่าธาตุวินิจไฉย สุวิปลฺลํ อันไพร+ย+บูร(ย์) เปนอัน……………..แพทยทังหลาย คำ�อ่าน หน้าที่ 1-2 ๏ พระคำ�ภีร์ธาตุวินิจฉัยผูก 1 กล่าวมาในลักษณะกองโรคด้วย ขันธ์บัญจกทั้ง 5 แลอายตน 6 คติดำ�เนินแห่งพระจันทร์พระอาทิตย์ ธาตุอภิญญาณ จตุธาตุสมาสรรพ ธาตุแตกให้โทษ ธาตุกำ�เริบให้โทษ ธาตุลดถอย ธาตุวินิจฺฉย......สตฺถํ โจราเณหิบก..........กฺขามิสุขิปุลฺลํ วนฺทิตฺวา รตตนตฺตยํ ๚ อหํ ๚ อันว่าข้า วนฺทิตฺวา ไหว้กราบ รัตนตตยัง ซึ่งพระรัตนตรัย ปวกฺขามิ จักกล่าวบัดนี้ สตฺถํ ซึ่งพระคัมภีร์ ธาตุวินิจฉัยนั้น ชื่อว่าธาตุวินิจฉัย สุวิปลลํ อันไพบูลย์ เป็นอัน............. แพทย์ทั้งหลาย ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 21. ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม หมวด เวชศาสตร์ เลขที่ ๑๑๓ ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ ๑ 4 ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย เอกสารต้นฉบับ หน้าที่ 3-4 ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 22. 5 กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม หมวด เวชศาสตร์ เลขที่ ๑๑๓ ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ ๑ คำ�ถ่ายถอด หน้าที่ 3-4 ผู้เปนอาจาริยในก่อน (ตฺต)………………………อายตนํ อุตุ วิถึสุริยสฺส เวลํโรคนกา...............วชฺชกมฺมิกา วชฺชกมฺมิกา อนนว่าบุคลท้งงหลายอนนปราถ.......ม สิกฺเบยฺยํ พึงสึกษาให้ รู้จัก ขนฺธธาตุอายตนํ ซึ่งขันธ์ (บัญจก) แลธาตุท้งง 4 แลอาตณะ 6 ก็ดี อุตํ ซึ่ง ระดู ก็ดี วิถึ ซึ่ง วิถี ก็ดี สุริ (ยํ) ของพรอาทิตย (ก็ดี) เวลํ ซึ่งเวลา ก็ดี+กุปฺปติ อนน เปนเพลากำ�เริบ โร(คานิ) (ซึ่งโร) คยท้งงหลาย ๚ อธิบายว่า ถ้าบุกคลผู้ใดจะเรยีนเปนแพทย (พึงสึกษา) ให้รู้จักในลักษณเบญ+จ+ขนนธ์ (แลเบญจขันธ์) ทั้ง 5 นั้น คือ รูป + กขนนธ์ 1 คือ (เวทนาขันธ์ 1) คือสยา+กขนนธ์ 1 คำ�อ่าน หน้าที่ 3-4 ผู้เป็นอาจารย์ในก่อนตฺต……................อายตนํ อุตํ วิถึสุริยสฺส เวลํโรคนกา...............วชฺชกมฺมิกา วชฺชกมฺมิกา อันว่าบุคคลทั้งหลายอันปรารถนา............ม สิกฺเบยฺยํ พึงศึกษาให้ รู้จัก ขนฺธธาตุอายตนํ ซึ่งขันธ์บัญจกแลธาตุทั้ง 4 แลอาตนะ 6 ก็ดี อุตํ ซึ่ง ฤดูก็ดี ซึ่งวิถีก็ดี สุริยํ ของพระอาทิตย์ ก็ดี เวลํซึ่ง เวลา ก็ดี กุปฺปติ อันเป็นเพลากำ�เริบ โรคย ซึ่งโรคทั้งหลาย ๚ อธิบายว่า ถ้าบุคคลผู้ใดจะเรียนเป็นแพทย์พึงศึกษาให้รู้จักในลักษณะเบญจขันธ์ แลเบญจขันธ์ทั้ง 5 นั้น รูปกขันธ์ 1 คือ เวทนาขันธ์ 1 คือสัญญากขันธ์ 1 ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 23. ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม หมวด เวชศาสตร์ เลขที่ ๑๑๓ ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ ๑ 6 ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย เอกสารต้นฉบับ หน้าที่ 5-6 ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 24. 7 กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม หมวด เวชศาสตร์ เลขที่ ๑๑๓ ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ ๑ คำ�ถ่ายถอด หน้าที่ 5-6 คือสงงขารักขนนธ์ 1 คือวิญ (ญาณขันธ์ 1) รูปขนนธ์นั้น ได้แก่ นิบผันนะรูป 18 ประการ คือ มหาภู (รูป 4) ปสาทรูป 5 วิใสยรูป 4 ภาวะรูป 2 หทัยรูป 1 ชีวิตรูป 1 (อาหาร) รูป 1 เปนรูป 18 ประการ ด้วนกัน ดงงนี้ จะแจกออกให้เข้า (ใจพอ) สังเขปก็ครันจะว่าให้วิถาร ก็จนเนิ่นความในพรคำ�ภีร์แพทยา (นี้ส่วนหนึ่ง) อยู่ในพรคัมภีร์ปรมัตถ์ โนนแล้ว อนนว่ามหาภูตรูป 4 (นั้นได้) แก่ธาตุทงง 4 คือ ธาตุนี้ ได้ชื่อว่ามหาภูตรูป เพราะเหตุว่า (เปน) ใหญ่แลเปนที่อาไส+ยแห่ง รูปทงงปวง มีอุปมาดังถ�้ำอัน (มีอยู่ในภูเขาเป็นที่) (อาใสย) แห่งสัตวท้งงปวง ๚ คำ�อ่าน หน้าที่ 5-6 คือสังขารักขันธ์ 1 คือวิญญาณขันธ์ 1 รูปขันธ์นั้น ได้แก่ นิปผันนะรูป 18 ประการ คือมหาภูตรูป 4 ประสาทรูป 5 วิสัยรูป 4 ภาวรูป 2 หทัยรูป 1 ชีวิตรูป 1 อาหารรูป 1 เป็นรูป 18 ประการ ด้วนกัน ดังนี้ จะแจกออกให้เข้าใจพอสังเขปก็ครันจะว่าให้วิตถาร ก็จนเนิ่นความ ในพระคัมภีร์แพทยานี้ ส่วนหนึ่งอยู่ในพระคัมภีร์ปรมัตถ์ โน้นแล้ว อันว่ามหาภูตรูป 4 นั้นได้ แก่ธาตุทั้ง 4 ปถวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุนี้ ได้ชื่อว่ามหาภูตรูปเพราะเหตุว่าเป็นใหญ่แลเป็นที่อาศัยแห่ง รูปทั้งปวง มีอุปมาดังถ�้ำอันมีอยู่ในภูเขาเป็นที่อาศัยแห่งสัตว์ทั้งปวง ๚ ปัถวี อาโป เตโช ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 25. ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม หมวด เวชศาสตร์ เลขที่ ๑๑๓ ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ ๑ 8 ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย เอกสารต้นฉบับ หน้าที่ 7-8 ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 26. 9 กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม หมวด เวชศาสตร์ เลขที่ ๑๑๓ ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ ๑ คำ�ถ่ายถอด หน้าที่ 7-8 ๚ อนนว่าประสาทรูป 5 นั้น คือ (จักษุประสาท 1) คือโสตประสาท 1 คือ ฆานประสาท 1 คือชิวหาประ (สาท 1 คือกาย) ประสาท 1 จักษุประสาท นนน มีสัณฐานอนนน้อยเท่าศีศะเหา (ตั้งอยู่) ในถ�้ำกลางแห่งวงตาด�ำ เปนใหญ่ในที่จะให้เหนรูปสรรพสิ่ง (ทงง) ปวง ถ้าแลจักษุประสาท (ฃาด) สูญก็มิ+เห็นสิ่งใดเลย ๚ แลโสตประสาทนั้นมีสันฐานน้อยเท่าขน ทรายจามจุรีเป็นวงกลมดุจวง (แว่นตั้ง) อยู่ในช่องหูทัง 2 เปน ใ+หญ่ที่จะให้ได้ยิน ซึ่งสรรส�ำ (เนียงทั้ง) ปวง ถ้าแลโสตประสาท ฃาดสูญก็มิได้ยินซึ่ง (สิ่งใดเลย) แลฆานประสาท ค�ำอ่าน หน้าที่ 7-8 ๚ อันว่าประสาทรูป 5 นั้น คือจักษุประสาท 1 คือโสตประสาท 1 คือ ฆานประสาท 1 คือชิวหาประสาท 1 คือกายประสาท 1 จักษุประสาท นั้น มีสัณฐานอันน้อยเท่าศีรษะเหาตั้งอยู่ในท่ามกลางแห่งวงตาด�ำ เป็นใหญ่ในที่จะให้เห็นรูปสรรพสิ่งทั้งปวง ถ้าแลจักษุประสาทขาด สูญก็มิเห็นสิ่งใดเลย ๚ แลโสตประสาทนั้นมีสัณฐานน้อยเท่าขน ทรายจามจุรีเป็นวงกลมดุจแว่นตั้งอยู่ในช่องหูทั้ง 2 เป็น ใหญ่ที่จะให้ได้ยินซึ่งสรรพส�ำเนียงทั้งปวง ถ้าแลโสตประสาท ขาดสูญก็มิได้ยินซึ่งสิ่งใดเลยแลฆานประสาท ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 27. ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม หมวด เวชศาสตร์ เลขที่ ๑๑๓ ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ ๑ 10 ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย เอกสารต้นฉบับ หน้าที่ 9-10 ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 28. 11 กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม หมวด เวชศาสตร์ เลขที่ ๑๑๓ ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ ๑ ค�ำถ่ายถอด หน้าที่ 9-10 นั้นมีสันฐานดงงเขาแพะ ตังง (อยู่ถ�้ำกลางจมูก) เปนให+ญ่อยู่ในที่จะให้รู้จักกลิ่น ทงงปวง ถ้าแลฆาณะประสาทฃาดสูญ (แล้วก็มิได้รู้) จักกกลิ่นหอมแลเหมนท้ง ปวง ๚ แลชิวหาประสาทน้นน (มีสัณฐาน) (ดังง) กลีบอุบล ตั้งอยู่ในถ�้ำกลาง ลิ้น เปนให+ญ่ในที่จะให้รู้จักรษทงงปวง (ถ้าแล) ชิวหาประสาทฃาดสูญแล้ว ก็+มิได้รู้จักรศอาหารทังงหลาย ๚ (แลกายประสาท) นั้นซึมทราบอยู่ทัวกรชกาย เปนไ+หญ่ในที+จะให้รู้จัก+สิ่งอันเปนทีเนื้ออ่อนแลกระดูก (อันหยาบอัน) ละเอยีดน้นน ก็อาใส+ยแก่กายประสาทน้นน ถ้าแลกายประสาท (พิรุธฃาดสูญไป) ให้กายเปนเหนบ ชาไปยมิได้รู้ซึ่งสิ่งทงงปวง อนนเปน...................นั้นเฃ้ากรรจึ่งเปน ค�ำอ่าน หน้าที่ 9-10 นั้นมีสัญฐานดังเขาแพะ ตั้งอยู่ท่ามกลางจมูกเป็นใหญ่อยู่ในที่จะให้รู้จักกลิ่น ทั้งปวง ถ้าแลฆานประสาทขาดสูญแล้วก็มิได้รู้จักกลิ่นหอมแลเหม็นทั้ง ปวง ๚ แลชิวหาประสาทนั้นมีสัญฐานดังกลีบอุบลตั้งอยู่ในท่ามกลาง ลิ้น เป็นใหญ่ในที่จะให้รู้จักรสทั้งปวง ถ้าแลชิวหาประสาทขาดสูญแล้ว ก็มิได้รู้จักรสอาหารทั้งหลาย ๚ แลกายประสาทนั้นซึมซาบทั่วสรรพกาย เป็นใหญ่ในที่จะให้รู้จักสิ่งจับเป็นที่เนื้ออ่อนแลกระดูกอันหยาบอันละเอียดนั้น ก็อาศัยแก่ กาย-ประสาทนั้น ถ้าแลกายประสาทพิรุธขาดสูญไปให้กายเป็นเหน็บชาไป มิได้รู้ซึ่งสิ่งทั้งปวง อันเป็น.................นั้นเข้ากันจึงเป็น ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 29. ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม หมวด เวชศาสตร์ เลขที่ ๑๑๓ ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ ๑ 12 ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย เอกสารต้นฉบับ หน้าที่ 11-12 ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 30. 13 กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม หมวด เวชศาสตร์ เลขที่ ๑๑๓ ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ ๑ ค�ำถ่ายถอด หน้าที่ 11-12 ประสาทรูป 5 ดุจกล่าวมาดงงนี้แล (วิสัยรูป 4) ได้แก่อารมณ์ทัง 4 คือรูปารมณ์ คือสัททารมณ์ 1 คือ (คันธารมธ์ 1) คือระสารมณ์ 1 แลภาวรูป 2 น้นน คืออิตถีภาวรูป (1 คือปุริส) ภาวรูป 1 แล้วหทยรูป 1 น้นน ได้แก่ดวงกมลหฤไท+ยแลชีวิต (รูป 1) น้นน ได้แก่ชีวิตรอันกระท�ำ ให้รูปท้งงปวงสดชื่น ผิอุปะมาดุจ (น�้ำเลี้ยง) ซึ่งชาติอุบล แลอาหาร รูป 1 น้นน ได้แก่ฃองบริโภค (เปนต้นว่า) เฃ้าแลน�้ำ ของบริโภคนี้ ย่อมบ�ำรุงไว้ซึ่งก�ำลัง แลฉวีวรรณ (เนื้อหนังมังษ) แลโลหิต ในรูป กายในปจุบันนั้น เหตุฉนี้ (รูปกายทั้งหลายที่พรรณนา) เฃ้ากรรซึ่ง ค�ำอ่าน หน้าที่ 11-12 ประสาทรูป 5 ดุจกล่าวมาดังนี้แลวิสัยรูป 4 ได้แก่อารมณ์ทั้ง 4 คือรูปารมณ์ คือสัททารมณ์ 1 คือคันธารมณ์ 1 คือรสารมณ์ 1 แลภาวรูป 2 นั้น คืออิตถีภาวรูป 1 คือปุริสภาวรูป 1 แล้วหทัยรูป 1 นั้น ได้แก่ดวงกมลหฤทัยแลชีวิตรูป 1 นั้น ได้แก่ชีวิตอันกระท�ำ ให้รูปทั้งปวงสดชื่น ผิอุปมาดุจน�้ำเลี้ยงซึ่งชาติอุบล แลอาหาร รูป 1 นั้น ได้แก่ของบริโภคเป็นต้นว่าข้าวแลน�้ำ ของบริโภคนี้ ย่อมบ�ำรุงไว้ซึ่งก�ำลัง แลฉวีวรรณ เนื้อหนังมังสะ แลโลหิต ในรูป กายในปัจจุบันนั้น เหตุฉะนี้รูปกายทั้งหลายที่พรรณนาเข้ากันซึ่ง ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 31. ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม หมวด เวชศาสตร์ เลขที่ ๑๑๓ ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ ๑ 14 ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย เอกสารต้นฉบับ หน้าที่ 13-14 ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 32. 15 กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม หมวด เวชศาสตร์ เลขที่ ๑๑๓ ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ ๑ ค�ำถ่ายถอด หน้าที่ 13-14 เปนนิ+บผันรูป 18 จัตเปน (รูปธรรม) ๚ อนนว่าเวทนา + กขันธ์นั้น ได้แก่เวทนาเจตสิก เวทนา (เจตสิกเปน) ใหญ่ในที่ให้เสวยอารมณ์ อนนสุกขแลทุกขแลอุเบกขา (เวทนาอนนบัง) เกิดทั่วไปในจิตทังปวง เหตุดังนั้นจึงจัดเปนเวทนาขันธ์ (อนน) ว่าสัญญา+กขนนธ์น้นน ได้แก่สัญญาเจตสิกๆ นี้มีลักษณะเปนต้นว่าสิ่งนี้ ให้รู้เปน แต่เอกเทศดังนี้ สญญานี้เกิด (ทั่งทงง) จิตทงงปวง เหตุดัง น้นนจึงจัตได้ชื่อว่าสญญา+กขนนธ์ อนนว่าสังขารรักขนนธ์นั้น ได้แก่ เจตสิกทรร 50 ดวงอนน (เศษจากสัญญาเวทนา) เดิมทีนั้นจัตเปน ค�ำอ่าน หน้าที่ 13-14 เป็นนิปผันรูป 18 จัดเป็นรูปธรรม ๚ อันว่าเวทนากขันธ์นั้น ได้แก่เวทนาเจตสิก เวทนาเจตสิกเป็นใหญ่ในที่ให้เสวยอารมณ์ อันสุขแลทุกข์แลอุเบกขา เวทนาอันบังเกิดทั่วไปในจิตทั้งปวง เหตุดังนั้นจึงจัดเป็นเวทนาขันธ์อันว่าสัญญากขันธ์นั้น ได้แก่สัญญาเจตสิก สัญญาเจตสิกนี้มีลักษณะเป็นต้นว่าสิ่งนี้ขาว เหลือง แดง ด�ำให้รู้เป็น แต่เอกเทศดังนี้ สัญญานี้เกิดทั่วทั้งจิตทั้งปวง เหตุดัง นั้นจึงจัดได้ชื่อว่าสัญญากขันธ์ อันว่าสังขารักขันธ์นั้น ได้แก่ เจตสิกทั้ง 50 ดวงอันเศษจากสัญญาเวทนาเดิมทีนั้นจัดเป็น ฃาว เหลือง แดง ดำ� ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 33. ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม หมวด เวชศาสตร์ เลขที่ ๑๑๓ ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ ๑ 16 ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย เอกสารต้นฉบับ หน้าที่ 15-16 ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 34. 17 กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม หมวด เวชศาสตร์ เลขที่ ๑๑๓ ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ ๑ ค�ำถ่ายถอด หน้าที่ 15-16 เจตสิก 25 ยกเวทนาเจตสิก (ไปเปนเวทนา) (ขนนธ์) ยกเจตสิกไปย เปนสัญญากขนนธ์แล้วยัง 50 ดงงนั้นจัตเปนขนนธ์อันนห+นึ่ง ชื่อว่า สงงขารักขนนธ์ แลขนนธ์ทงง 3 นั้นคือ ขนนธ์นี้ จัตเฃ้ากันเปนนามธรรม ๚ อนนว่าเวทนากขนนธ์ ได้แก่วิชากจิต นั้นเปนเจ้าพนักงานลงสู่ปิติสนธิ (แล) วิชากจิตอนนเปนเจ้า พนักงาน ให้ผลในปจุบันนี้แลได้ (ชื่อ) ว่าวิญญาณ วิญญา+ณนี้แปลว่ารู้ แต่บันดาจิตรทงงปวงน้นน ย่อม (มีลักษณะ) รู้ซึ่งอารมณ์เหมือนกัน สิ้นเหตุดงงนี้จึงจัต (ออกเปน)……………..เฃ้ากรรเปนเบญจ ค�ำอ่าน หน้าที่ 15-16 เจตสิก 25 ยกเวทนาเจตสิกไปเป็นเวทนาขันธ์ เสียยกสัญญาเจตสิกไป เป็นสัญญากขันธ์แล้วยัง 50 ดังนั้นจัดเป็นขันธ์อันหนึ่ง ชื่อว่า สังขารักขันธ์ แลขันธ์ทั้ง 3 นั้น คือเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารักขันธ์ นี้ จัดเข้ากันเป็นนามธรรม ๚ อันว่าเวทนากขันธ์ ได้แก่วิชากจิต นั้นเป็นเจ้าพนักงานลงสู่ปฏิสนธิ แลวิชากจิตอันเป็นเจ้า พนักงาน ให้ผลในปัจจุบันนี้แลได้ชื่อว่าวิญญาณ วิญญาณนี้แปลว่ารู้ แต่บรรดาจิตทั้งปวงนั้น ย่อมมีลักษณะรู้ซึ่งอารมณ์เหมือนกัน สิ้นเหตุดังนี้จึงจัดออกเป็น...............เข้ากันเป็นเบญจ- เวทนา สัญญา สงงขารัก ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 35. ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม หมวด เวชศาสตร์ เลขที่ ๑๑๓ ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ ๑ 18 ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย เอกสารต้นฉบับ หน้าที่ 17-18 ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 36. 19 กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม หมวด เวชศาสตร์ เลขที่ ๑๑๓ ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ ๑ ค�ำถ่ายถอด หน้าที่ 17-18 ขนนธ์ท้งง 5 ดุจกล่าวมานี้ ๚ (ล�ำดับต่อไปว่าด้วย) อายตณะ 6 น้นน คือ จักขุวายตณะ 1 โสตายตณะ 1 (ฆานายตณะ 1) ชิวหาอายตณะ 1 กา+ยายตณะ 1 + มะนายตณะ 1 อนนว่าจักขุวายตณะ ได้แก่จักษุทงง 2 ซ้าย ขวา อันที่ปรากฎแห่งรูปารมณ์ รูป(สร+รพสิ่ง) ทั้งปวงนั้นไห+ญ่แลน้อยยาบและ (ละเอียด) ปรากฏน้นน ก็ย่อมปรากฏว่าจักษุ จักษุนี้มีอุปมาดุจ เปนบ่อแห่งรูป เหตุดังนี้จึ่งให้ ชื่อว่าจักขุวายตณะ ๚ อนนว่าโสดายตณะ น้นน ได้แก่กรร+ณทงงสองอันเปนที่ (ปรากฏแห่ง) เสียง ฆานายตณะ ได้แก่ นาสิก ชิวหาตณะ ได้แก่ลิ้น (กายายตณะ) ได้แก่กาย ฆนายตณะ ค�ำอ่าน หน้าที่ 17-18 ขันธ์ทั้ง 5 ดุจกล่าวมานี้ ๚ ล�ำดับต่อไปว่าด้วยอายตนะ 6 นั้น คือ จักขุวายตนะ 1 โสตายตนะ 1 ฆานายตนะ 1 ชิวหาอายตนะ 1 กายายตนะ 1 มนายตนะ 1 อันว่าจักขุวายตนะ ได้แก่จักษุทั้ง 2 ซ้าย ขวา อันที่ปรากฏแห่งรูปารมณ์ รูปสรรพสิ่ง ทั้งปวงนั้นใหญ่แลน้อยหยาบและ ละเอียดปรากฎนั้น ก็ย่อมปรากฏว่าจักษุ จักษุนี้มีอุปมาดุจ เป็นบ่อแห่งรูป เหตุดังนี้จึงให้ชื่อว่าจักขุวายตนะ ๚ อันว่าโสดายตนะ นั้น ได้แก่กรรณทั้งสองอันเป็นที่ปรากฎแห่งเสียง ฆานายตนะ ได้แก่ นาสิก ชิวหายตนะได้แก่ ลิ้น กายายตนะได้แก่กาย ฆนายตนะ ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 37. ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม หมวด เวชศาสตร์ เลขที่ ๑๑๓ ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ ๑ 20 ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย เอกสารต้นฉบับ หน้าที่ 19-20 ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 38. 21 กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม หมวด เวชศาสตร์ เลขที่ ๑๑๓ ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ ๑ ค�ำถ่ายถอด หน้าที่ 19-20 ได้แก่ ดวงกมลหฤไทย ๚ อนนว่า (หฤไทยนี้) (เปรียบหมือนบ่ออันเปนที่เกิดแห่งธรรม) ทังปวงดวงกมลหฤไท+ยนี้ เปนที่ปรากฎแห่งกลิ่น แลรศแลวัตถุอันสัมผัศ แลเหตุผล นันจพึ่งรู้ด้วยจิตรเหตุดังนี้จึงได้ชื่อว่า+อายตณ 6 ดุจดังกล่าว มานี้ ๚ ๏ กล่าวมาในเบญจั+กขขนนธ์ 5 แลอายตณะ 6 ก็สิ้นความแต่เพียง นี้ได้สังเขป ๚ ๏ ในยหนึ่งพึงให้สอบไล่เรียงให้รู้จักลักษณะก�ำเนิด แห่งหมูโรค+ยทงงหลาย มีตานทรางจอรเปนต้น ตั้งแต่ปติสนธิในครร+พแห่ง มารดาในวนน วนนก็ดี แลได้เดือน 1 เดือนขึ้นไปจน 10 เดือนก็ดี ก็พึงให้แพทยอภิบาลรักษาตามไข้ (อนนเกิดตามโรค) (ในพรค�ำภีร์พร+หมปุโรหิต) ค�ำอ่าน หน้าที่ 19-20 ได้แก่ดวงกมลหฤทัย ๚ อันว่าดวงหฤทัยนี้เปรียบเหมือนบ่ออันเป็นที่เกิดแห่งธรรมทั้ง ปวง ดวงกมลหฤทัยนี้ เป็นที่ปรากฏแห่งกลิ่น แลรสแลวัตถุอันสัมผัส แลเหตุผล นั้นจะพึ่งรู้ด้วยจิตเหตุดังนี้จึงได้ชื่อว่าอายตนะ 6 ดุจดังกล่าว มานี้ ๚ ๏ กล่าวมาในเบญจขันธ์ 5 แล อายตนะ 6 ก็สิ้นความแต่เพียง นี้ได้สังเขป ๚ ๏ นัยหนึ่งพึงให้สอบไล่เรียงให้รู้จักลักษณะก�ำเนิด แห่งหมู่โรคทั้งหลาย มีตานซางจรเป็นต้น ตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์แห่ง มารดาในวัน 1 วัน ในวัน 2 วัน ในวัน 3 วันก็ดี แลได้เดือน 1 เดือนขึ้นไปจน 10 เดือนก็ดีพึงให้แพทย์อภิบาลรักษาตามไข้อันเกิดตามโรคในพระคัมภีร์พรหมปุโรหิต 1 2 3 ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 39. ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม หมวด เวชศาสตร์ เลขที่ ๑๑๓ ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ ๑ 22 ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย เอกสารต้นฉบับ หน้าที่ 21-22 ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 40. 23 กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม หมวด เวชศาสตร์ เลขที่ ๑๑๓ ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ ๑ ค�ำถ่ายถอด หน้าที่ 21-22 แลค�ำภีร์ศิทิสาร แลพรค�ำภีร์..............พรค�ำภีร์นี้ตาม แลตามปีเดือนก�ำเนิดแห่งมารดา (ซึ่งอยู่) ในครรพแล อนนจอร ใน ใดแล เพลาอนนตก (ฟาก) น้นน ๚ อนึ่งพรอาจาริเจ้าจแจง ออกบอกกองธาตุทั้ง 4 ให้รู้จักว่า (ตานทรางมีชือน้นน) แลไข้อันนั้น ชื่อนี้ บางคน ยามปถวีธาตุบางคน เปนอาโปธาตุบางคน เปนเตโชธาตุบางคน เปนวาโยธาตุอนนว่า เปน ก็มีลักษณะ ต่างๆ กรรดังนี้ เหตุดงงน้นนมหาภูตรูป จึงเปนกระทู้ไข้มี ตานทรางเปนต้นในเมือกุม (มารนี้) (เมื่อเจริญ) ขึ้นไปทรางก�ำเนิดซึ่งเกิด ค�ำอ่าน หน้าที่ 21-22 แลคัมภีร์ศิทิสารแลพระคัมภีร์..............พระคัมภีร์นี้ตามวัน ตามคืน ตามยาม แลตามปีเดือนก�ำเนินแห่งมารดา ซึ่งอยู่ในครรภ์แลปี แลเดือน แลวันอันจร ในปีใด ในเดือนใด ในวันใด แลปี แลเดือน แลวัน เพลาอันตกฟากนั้น ๚ อนึ่งพระ- อาจารย์เจ้าจะแจงออกบอกกองธาตุทั้ง 4 ให้รู้ว่าตานซางมีชื่อนั้น แลไข้นั้น ชื่อนี้ บางคนปี บางคนเดือน บางคนวัน บางคนยาม เป็นปถวีถาตุ บางคนปี บางคนเดือนบางคนวัน บางคนยาม เป็นอาโปธาตุ บางคนปี บางคนเดือน บางคนวัน บางคนยามเป็นเตโชธาตุ บางคนปี บางคนเดือน บางคนวัน บางคนยาม เป็นวาโยธาตุ อันว่าปี อันว่าเดือน อันว่าวัน อันว่ายาม เป็นปถวี เป็นอาโป เป็นเตโช เป็นวาโย ก็มี ลักษณะต่างๆ กันดังนี้ เหตุดังนั้นมหาภูตรูป จึงเป็นกระทู้ไข้มี ตานซางเป็นต้น ในเมื่อกุมารนี้เมื่อเจริญขึ้นไปซางก�ำเนินซึ่งเกิด วัน คืน ยาม ปี เดอืน วนน ปี เดอืน วนน ปี เดอืน วนน ยาม ปี เดอืน วนน ยาม ปี เดอืน วนน ยาม ปี เดอืน วนน ยาม ปถวี อาโป เตโช วาโย ปี เดอืน วนน ปี เดอืน วนน ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 41. ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม หมวด เวชศาสตร์ เลขที่ ๑๑๓ ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ ๑ 24 ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย เอกสารต้นฉบับ หน้าที่ 23-24 ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 42. 25 กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย • กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม หมวด เวชศาสตร์ เลขที่ ๑๑๓ ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ ๑ ค�ำถ่ายถอด หน้าที่ 23-24 อยู่แต่ ครรพน้นน อนน (ว่าถ้าไม่หาย) ก็จกลายเปนโรค ฤศดวงเปนอาธิ อนึ่งออก แลตาน(ทราง) ลากสาตสรรนิบาต แลหัตหิต เหือดฝีมเรงคชราช เรื้อนกลากเกลื้อนพยาทธิในทะวะตึงษาการ และ ฉนนนวุฒิโรค+ย 96 กล่อน 5 ประเมหะ 32 ก็ดี เกิดแต่กองธาตุ บัญจกแลโรค+ยอนนเกิดเนื่องมาแต่ บิดามารดาน้นน ๚ อนึ่งอนนว่า ลักษณะพร เคราะห์เทวะดาทั้ง 8 พรองค์ก็จจอรประจ�ำ 12 ราษีน้นน ก็เปนที่สงงเกดแห่งธาตุทงง 4 เปน (ต้น) คือพร ทงง 2 (พร) องค์นี้ เปนเตโชธาตุ คือพร ทั้ง 2 (พรองค์นี้) เปนปถวีธาตุ คือพร ค�ำอ่าน หน้าที่ 23-24 อยู่แต่ในครรภ์นั้นอยู่แต่นอกครรภ์นั้น อันว่าไม่หายก็กลายเป็นโรค ริดสีดวงเป็นอาทิ อนึ่งออกด�ำ ออกแดง แลตานซาง รากสาด สันนิบาต แลหัดหิด เหือด ฝีมะเร็งคชราช เรื้อน กลากเกลื้อน พยาธิในทวติงสาการ และ ฉะนั้นวุฒิโรค 96 กล่อน 5 ประเมหะ 32 ก็ดี เกิดแต่กองธาตุ บัญจกแลโรคอันเกิดเนื่องมาแต่บิดามารดานั้น ๚ อนึ่งอันว่า ลักษณะพระเคราะห์เทวดาทั้ง 8 พระองค์ก็จะจรประจ�ำ 12 ราศีนั้น ก็เป็นที่สังเกตแห่งธาตุทั้ง 4 เป็นต้น คือ พระอาทิตย์ พระเสาร์ ทั้ง 2 พระองค์นี้เป็น เตโชธาตุ คือพระจันทร์ พระพฤหัส ทั้ง 2 พระองค์นี้เป็นปถวีธาตุ คือพระพุธ พระศุกร์ ในย นอก อาทิต เสาร จันท หัศ พุทธ สุกระ ดำ� แดง ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย
  • 43. ชื่อ พระคัมภีร์ธาตุวินิจฉัย เล่ม หมวด เวชศาสตร์ เลขที่ ๑๑๓ ประวัติ สมบัติเดิมของหอสมุดแห่งชาติ ๑ 26 ชุดตำ�ราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย (ฉบับอนุรักษ์) ตำ�ราธาตุวินิจฉัย เอกสารต้นฉบับ หน้าที่ 25-26 ก อ ง ค ุ ้ ม ค ร อ ง แ ล ะ ส ่ ง เ ส ร ิ ม ภ ู ม ิ ปั ญ ญ า ก า ร แ พ ท ย ์ แ ผ น ไ ท ย แ ล ะ แ พ ท ย ์ พ ื ้ น บ ้ า น ไ ท ย