SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
ห้างหุ้นส่วนไทเลยเฟอร์นิเจอร์
จากัด
ลักษณะของห้างหุ้นส่วนจากัด
• ห้างหุ้นส่วนจากัด คือ องค์กรในการประกอบกิจการค ้ารูปแบบหนึ่ง ซึ่ง
เหมาะสมกับกิจการค ้าขนาดกลางและขนาดย่อม โดยการจัดตั้งห ้างหุ้นส่วนจากัดตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1079 บังคับไว ้ว่าต ้องจดทะเบียน ถ ้ายังมิได ้จดทะเบียน เป็น
ห ้างหุ้นส่วนสามัญ
• ห้างหุ้นส่วนจากัด จะแบ่งหุ้นส่วนออกเป็ น 2 ประเภท
• 1. หุ้นส่วนไม่จากัดความรับผิด - รับผิดชอบหนี้ ไม่จากัดจานวนครับ
• 2. หุ้นสวนจากัดความรับผิด - ความรับผิดอยู่ไม่เกินมูลค่าทุนที่ตัวเองลงไว้
การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนจากัด
• การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนจากัด จะต้องมีบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไป
ตกลงเข้ากันเพื่อกระทากิจการร่วมกัน ด้วยประสงค์จะแบ่งปันกาไร
อันจะพึงได้แต่กิจการที่ทานั้น โดยการก่อตั้งห้างหุ้นส่วนไม่มีแบบ
ไม่ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ
• แม้ว่าห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนและห้างหุ้นส่วนจากัดจะต้องมีการจด
ทะเบียนนั้น ก็เพียงแต่มีผลให้ห้างเป็นนิติบุคคล และให้มีผู้เป็น
หุ้นส่วนจาพวกจากัดความรับผิดขึ้นในห้างหุ้นส่วนจากัดเท่านั้น ห้าง
หุ้นส่วนที่ยังไม่จดทะเบียนก็คงเป็นห้างหุ้นส่วนสามัญอยู่
ถ้าหากท่านเตรียมข้อมูลดังต่อไปนี้ เพื่อเตรียมจดทะเบียนจัดตั้งนิติบุคคลประเภทห้างหุ้นส่วนจะทาให้ง่ายต่อการจด
ทะเบียนและรวดเร็วยิ่งขึ้น
ข้อมูลที่ต้องจัดเตรียม
• 1. "ชื่อห้างหุ้นส่วน ตั้งจองไว้ซัก 3 ชื่อ "
• 1.ชื่อไทย
...................................................................................................................................
• อังกฤษ................................................................................................................
• 2.ชื่อไทย
..................................................................................................................................
• อังกฤษ......................................................................................................................
• 3.ชื่อไทย
...................................................................................................................................
• อังกฤษ......................................................................................................................
• 2. วัตถุประสงค์ของกิจการห้างหุ้นส่วน
• 1........................................................................................................................................
......
• 2........................................................................................................................................
......
• 3..ชื่อหุ้นส่วนทั้งหมดและลงทุนด้วยเงินหรือทรัพย์สินหรือแรงงาน
• 1.ชื่อไทย.................................................................................................
• ชื่อภาษาอังกฤษ..................................................................................(สาคัญ)
• ลงหุ้นด้วย....................จำนวน..........................................บำท
• 2.ชื่อไทย.................................................................................................
• ชื่อภำษำอังกฤษ..................................................................................(สำคัญ)
• ลงหุ้นด้วย....................จำนวน..........................................บำท
• 3.ชื่อไทย.................................................................................................
• ชื่อภำษำอังกฤษ..................................................................................(สำคัญ)
• ลงหุ้นด้วย....................จำนวน..........................................บำท
• 4.ชื่อไทย.................................................................................................
• ชื่อภำษำอังกฤษ..................................................................................(สำคัญ)
• ลงหุ้นด้วย....................จำนวน..........................................บำท
• 4. ชื่อหุ้นส่วนผู้ส่วนผู้จัดกำร
• หุ้นส่วนผู้จัดกำรมีทั้งหมด..............................คน
• ชื่อหุ้นส่วนผู้จัดกำร
............................................................................................................................
• อำนำจหรือข้อจำกัดของหุ้นส่วนผู้จัดกำร
....................................................................................................................
• (เซ็นแบบไหน เช่น เซ็นร่วมกัน,ต่ำงคนต่ำงเซ็น)
• 5.สถำนประกอบกำร
• สำนักงำนใหญ่ เลขที่
..........................................................................................................
....................
• ชื่อที่ตั้งภำษำอังกฤษ
......................................................................................(สำคัญ)
• สำนักงำนสำขำ(ถ้ำ
มี).......................................................................................................
.......................
• ชื่อที่ตั้งสำขำภำษำอังกฤษ
......................................................................................(สำคัญ)
• สำเนำทะเบียนบ้ำนที่ตั้งสถำนประกอบกำร 3 ชุด.
• แผนที่ตั้งสถำนที่ประกอบกำร(วำดเอง) (ไม่เอำจำก Googlemap) 3
ชุด ถ่ำยสำเนำได้
• 6.รูปแบบตรำยำง,ดวงตรำของห้ำงหุ้นส่วน
• 1.รูปแบบตรำยำง จะมีโลโก้หรือไม่มีก็ได้
• 2.ถ้ำมีชื่อต้องแสดงสถำนะนิติบุคคลด้วย เช่น ห้ำงหุ้นส่วนจำกัด.... หรือ
.........Limited Pernership.
• 3.จะมีภำษำไทยอย่ำงเดียวหรือภำษำอังกฤษอย่ำงเดียวหรือมีทั้งสอง
อย่ำงก็ได้
• 7.สำเนำเอกสำร
• 1. สำเนำบัตรประชำชนและทะเบียนบ้ำนเฉพำะหุ้นส่วนผู้จัดกำรคนละ 5 ชุด
• 2. สำเนำบัตรประชำชนและทะเบียนบ้ำนของหุ้นส่วนคนอื่นๆ คนละ 2 ชุด
• 8.ถ้ำต้องกำรจดเข้ำระบบภำษีมูลค่ำเพิ่ม (Vat)ต้องเพิ่มเอกสำรดังนี้
• 1. หนังสือยินยอมให้ใช้สถำนที่ประกอบกำรจำกเจ้ำบ้ำน,หรือเจ้ำของกรรมสิทธิ์(ใน
กรณีที่ไม่มีเจ้ำบ้ำน) (คลิกดูตัวอย่ำงหนังสือยินยอม)
• หรือสัญญำเช่ำ(กรณีเช่ำ)ที่ตั้งสถำนประกอบกำร
• ถ้ำเป็นสัญญำเช่ำต้องเช่ำในนำม "ห้ำงหุ้นส่วนกับเจ้ำของกรรมสิทธิ์"และ ต้องติด
อำกรให้เรียบร้อย (พันละ 1 บำท/เดือน/ปี) เช่น
• เช่ำเดือนละ 3,000 บำท ระยะเวลำ 1 ปี ติดอำกร 36 บำท เป็นต้น
• 2. หลักฐำนแสดงควำมเป็นเจ้ำบ้ำนของสถำนประกอบกำร ของผู้ให้ควำมยินยอมใช้
สถำนที่ประกอบกำร
• หรือเอกสำรหลักฐำนแสดงควำมเป็นเจ้ำของ(กรณีที่ไม่มีเจ้ำบ้ำน) เช่น สัญญำซื้อขำย
,โฉนดที่ดิน
• หรือในกรณีให้เช่ำ ต้องให้เจ้ำบ้ำนหรือเจ้ำของกรรมสิทธิ์ เป็นผู้ให้เช่ำกับห้ำงหุ้นส่วนฯ
• 3. สำเนำบัตรประชำชนและทะเบียนบ้ำนของผู้ให้ควำมยินยอมหรือผู้ให้เช่ำ
• 4. ถ่ำยรูปแสดงให้เห็นป้ ำยชื่อห้ำงหุ้นส่วนและเลขที่สถำนที่ตั้งสำนักงำนและตัว
อำคำร
• และถ่ำยห้องทำงำน Office อำจจะมีโต๊ะทำงำน โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ เป็นต้น ซัก
2-3 รูป
• 5.ในกรณีที่ไม่มีเจ้ำบ้ำน ให้ถ่ำยสำเนำทะเบียนสถำนประกอบกำร (หน้ำแรก+หน้ำที่
ไม่มีผู้อำศัย) 2 ชุด
• 9.ชื่อผู้ติดต่อ
• ชื่อผู้ติดต่อ.....................................เบอร์โทรศัพท์.................................
อีเมล์:...............................................
ข้อดีและข้อเสียของห้างหุ้นส่วนจากัด
• ข้อดีของห้างหุ้นส่วนจากัด
• 1. รวบรวมเงินทุน ควำมรู้ควำมสำมำรถจำกผู้
เป็นหุ้นส่วนได้มำกขึ้น
• 2. ผู้มีเงินทุนยินดีจะลงทุนร่วมด้วย โดยเป็น
หุ้นส่วนประเภทจำกัดควำมรับผิด ทำให้พ้น
ภำระรับผิดชอบในหนี้สินแบบลูกหนี้ร่วม
• 3. สำมำรถจะระดมบุคคลที่มีควำมเชียวชำญ
ในสำขำใด ๆ มำเป็นหุ้นส่วนประเภทจำกัด
ควำมรับผิดได้
• 4. ได้รับควำมเชื่อถือจำกบุคคลภำยนอกมำก
ขึ้น
• 5. เสียภำษีเงินได้แบบนิติบุคคล
ข้อเสียของห้างหุ้นส่วนจากัด
1 กำรจัดตั้งมีควำมยุ่งยากมำกขึ้น
2.หุ้นส่วนประเภทไม่จากัดความ
รับผิดชอบ ต้องรับภาระหนี้สินไม่จากัด
จานวน
3. เมื่อมีผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดตำย ล้มละลำย
หรือลำออก ห้ำงหุ้นส่วนนั้นจะต้องเลิกกิจกำร
และชำระบัญชีให้เรียบร้อย
สิทธิของผู้เป็นหุ้นส่วนจาพวกจากัดความผิด
ผู้เป็นหุ้นส่วนจาพวกจากัดความรับผิดจะประกอบการค้าขายอย่างใดๆ เพื่อ
ประโยชน์ตนหรือเพื่อประโยชน์ของบุคคลภายนอกก็ได้แม้ว่ากิจการนั้นจะมีสภาพ
เป็นอย่างเดียวกันกับการค้าขายของห้างหุ้นส่วนก็ไม่ห้าม แต่ผู้เป็นหุ้นส่วนจาพวกไม่
จากัดความรับผิดไม่อาจทาได้
การที่ผู้เป็นหุ้นส่วนจาพวกจากัดความรับผิดตาย ล้มละลาย หรือตกเป็นคน
ไร้ความสามารถ ไม่เป็นเหตุให้ห้างหุ้นส่วนจากัดต้องเลิกกัน เว้นแต่จะได้มีข้อสัญญา
กันไว้เป็นอย่างอื่น
ถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนจาพวกจากัดความรับผิดตาย ให้ทายาทของผู้นั้นเข้าเป็น
หุ้นส่วนแทนที่ผู้ตาย เว้นแต่จะได้มีข้อสัญญากันไว้เป็นอย่างอื่น
ถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนจาพวกจากัดความรับผิดล้มละลาย ต้องเอาหุ้นในห้าง
หุ้นส่วนออกขายเป็นสินทรัพย์ในกองล้มละลาย
• ข้อจากัดสิทธิของผู้เป็นหุ้นส่วนจาพวกจากัดความรับผิด
• ถ้ำห้ำงไม่ได้กำไรผู้เป็นหุ้นส่วนจำพวกจำกัดควำมรับผิดไม่มีสิทธิได้เงินปันผลหรือ
ดอกเบี้ย และแม้ห้ำงจะได้กำไรแต่ถ้ำห้ำงขำดทุนมำก่อนและเงินทุนยังขำดอยู่ ก็ยัง
จ่ำยเงินปันผลหรือดอกเบี้ยให้แก่ผู้เป็นหุ้นส่วนจำพวกจำกัดควำมรับผิดไม่ได้ จนกว่ำ
จะได้แก้ไขให้ทุนที่ขำดไปนั้นคืนมำเต็มจำนวน
กรรมกำรผู้จัดกำรของห้ำงหุ้นส่วนจะมีได้เฉพำะผู้เป็นหุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัด
ควำมรับผิดเท่ำนั้น
ผู้เป็นหุ้นส่วนจำพวกจำกัดควำมรับผิดไม่อำจให้ชื่อของตนเป็นชื่อของห้ำง ถ้ำผู้
เป็นหุ้นส่วนจำพวกจำกัดควำมรับผิดยินยอมให้ใช้ชื่อของตนเป็นชื่อห้ำง ผู้เป็นหุ้นส่วน
คนนั้นจะต้องรับผิดต่อบุคคลภำยนอกเสมือนกับว่ำเป็นหุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดควำมผิด
ผู้เป็นหุ้นส่วนจาพวกไม่จากัดความรับผิด
แม้ห้ำงหุ้นส่วนจำกัดจะมีกำรจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลแยกต่ำงหำกจำกผู้
เป็นหุ้นส่วนก็ตำม ผู้เป็นหุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดควำมรับผิด มีควำมรับผิดต่อ
ห้ำงเสมือนเป็นบุคคลเดียวกัน
ในกรณีที่ผู้เป็นหุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดควำมรับผิดตำย ล้มละลำย หรือ
ตกเป็นผู้ไร้ควำมสำมำรถ ห้างหุ้นส่วนจากัดต้องเลิกกันตามมาตรา 1055
(5) และ 1080
ผู้เป็นหุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดควำมรับผิดจึงย่อมมีสิทธิบริหำรจัดกำรห้ำง
หุ้นส่วน และมีอำนำจกระทำกำรผูกพันห้ำงและหุ้นส่วนอื่นได้
งบทดลองก่อนปรับปรุง (ต่อ)
ค่าโบนัสกรรมการ 514 20,000
ค่าช่วย พญาติคนงาน 515 1,000
ค่ารับรอง 516 5,000
1,624,820 1,624,820
รายการเพิ่มเติม
• 1. สินค้ำคงเหลือวันที่ 31 ธ.ค. 2557 ตรวจนับและตีรำคำได้ 75,800
บำท วัสดุสำนักงำนคงเหลือ 2,000 บำท
• 2. ยังไม่ได้จ่ำยค่ำล่วงเวลำให้พนักงำน 5 คน ๆ ละ 500 บำท
• 3. ประมำณหนี้สงสัยจะสูญ 1% ของยอดขำย
• 4. ค่ำขนส่งจ่ำยล่วงหน้ำ เป็นค่ำขนส่งสำหรับ 3 เดือน เริ่มเดือน
ธันวำคม 2557
• 5. คิดค่ำเสื่อมรำคำรถยนต์ อุปกรณ์สำนักงำน 20% ต่อปี
• 6. ค่ำเช่ำอำคำรสำหรับระยะเวลำ 1 ปี เริ่มวันที่ 1 พฤศจิกำยน
2557
กระดาษทาการ(ต่อ)
งบทดลองหลังปรับปรุง(ต่อ)
ห้างหุ้นส่วน ไทเลยเฟอร์นิเจอร์ จากัด
ง กาไรขาดทุน
สาหรั ปี สิ้นสุดวันที่ 31 ันวา 2557
หน่วย: าท
รายได้:
รายได้จากการขาย 454,000
่าใ ้จ่าย:
ต้นทุนขาย (1) 140,700
ค่าใช้จ่ายในการขาย (2) 26,120
ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน (3) 345,280
รวมค่าใช้จ่าย 512,100
ขาดทุน (58,100)
ห้างหุ้นส่วน ไทเลยเฟอร์นิเจอร์ จากัด
ง แสดง าน การเงิน
วันที่ 31 ันวา 2557
หน่วย : าท
สินทรั ย์
สินทรั ย์ห ุนเวียน
เงินสด 26,000
ลูกหนี้การค้า (4) 180,120
สินค้าคงเหลือ 75,800
วัสดุสานักงาน 2,000
ค่าขนส่งจ่ายล่วงหน้า 24,000
ค่าเช่าอาคารจ่ายล่วงหน้า 30,000
รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 337,920
ที่ดิน อา าร แล อุปกร ์
อุปกร ์สานักงาน (5) 75,600
รถยนต์ (6) 260,000
รวมที่ดิน อาคาร และอุปกร ์ 335,600
รวมสินทรัพย์ 673,520
หนี้สินแล ส่วนของผู้ อหุ้น
หนี้สินห ุนเวียน
เจ้าหนี้การค้า 27,200
ค่าล่วงเวลาค้างจ่าย 2,500
รวมหนี้สินหมุนเวียน 29,700
ส่วนของผู้ อหุ้น
ทุน-พรร ทิภา 315,860
ทุน-อัญธิกา 210,580
ทุน-เสาวลักษ ์ 175,480
ขาดทุน (58,100)
รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 673,520
ห ายเหตุปร กอ ง การเงิน
(1) ต้นทุนขาย
สินค้าคงเหลือต้นงวด 90,500
ซื้อ 126,000
หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด 75,800
รวมต้นทุนขาย 140,700
(2) ่าใ ้จ่ายในการขาย
ค่าขนส่ง 14,300
ค่าล่วงเวลา 3,700
ค่าใช้จ่ายยานพาหนะ 3,120
ค่ารับรอง 5,000
26,120
(3) ่าใ ้จ่ายในการดาเนินงาน
เงินเดือน 35,000
ค่าเช่าอาคาร 6,000
ค่าสาธาร ูปโภค 13,200
วัสดุสานักงานใช้ไป 2,500
หนี้สงสัยจะสูญ 3,580
ค่าเสื่อมอุปกร ์สานักงาน 24,000
ค่าเสื่อมราคา-รถยนต์ 170,000
(3) ลูกหนี้การ ้า
ลูกหนี้การค้า 185,000
หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 4,880 180,120
(4) อุปกร ์สานักงาน
อุปกร ์สานักงาน 120,000
หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม-อุปกร ์ 44,400 75,600
(6) ร ยนต์
รถยนต์ 850,000
หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม-รถยนต์ 590,000 260,000
เง่อนไข ีดังนี้
-วิธีการคานว ภาษีต้องเป็นไปตามมาตรา 65 ทวิ และมาตรา65 ตรี แห่งประมวลรัษ ากร
ใช้เก ์สิทธิในการรับรู้รายได้และค่าใช้จ่าย
-ขาดทุนหรือไม่มีรายได้ก็ต้องยื่นแบบ
-หลักการบันทึกบัญชี ใช้วิธีการบันทึกบัญชีสินค้าแบบสิ้นงวด (Periodical Inventory Method )
โดยทุน พรร ทิภา เป็นหุ้นส่วนประเภทไม่จากัดความรับผิดชอบ มีลักษ ะดังนี้
1. ต้องรับผิดชอบในหนี้สินทั้งหมด โดยไม่จากัดความรับผิดด้วยกัน
2. ต้องรับผิดร่วมกันในระหว่างหุ้นส่วนประเภทไม่จากัดความรับผิดด้วยกัน
3. คุ สมบัติของหุ้นส่วนเป็นสาระสาคัญ
4. สามารถเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการได้
ส่วนทุน อัญธิกา และ เสาวลักษ ์ เป็นหุ้นส่วนประเภทจากัดความรับผิด มีลักษ ะดังนี้
1. รับผิดในหนี้สินของห้าง เพียงไม่เกินจานวนเงินที่รับจะลงทุน
2. ไม่รับผิดในหนี้สินของห้างร่วมกัน
3. คุ สมบัติของห้างหุ้นส่วนไม่เป็นสาระสาคัญ
4. ไม่สามารถเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการได้
ส่วนแ ่งกาไร(ขาดทุน)
• ส่วนแบ่งกาไร (ขาดทุน )
• จะแบ่งกาไร (ขาดทุน) ตามอัตราการลงทุนซึ่งการดาเนินกิจการในปีนี้มีผลขาดทุนสุทธิเท่ากับ
58,100 บาท จึงแบ่งผลขาดทุนได้ดังนี้
ทุน-พรร ทิภา 45% (58,100 x 45%) = (26,145)
ทุน-อัญธิกา 30% (58,100 x 30%) = (17,430)
ทุน-เสาวลักษ ์ 25% (58,100 x 25%) = (14,525)
ข้อ ูลเ ิ่ เติ
จากการตรวจสอบงบกาไรขาดทุนปราก ว่ามีรายละเอียดเพิ่มเติมดังต่อไปนี้
1. ค่าใช้จ่ายยานพาหนะจานวน 3,120 บาท
2. ค่าซ่อมแซมอาคารจานวน 10,000 บาท
3. ค่าการกุ ลจานวน 60,000 บาท
4. โบนัสกรรมการจานวน 20,000 บาท
5. ค่าช่วยงาน พญาติคนงาน 1,000 บาท
6. ค่ารับรองที่บันทึกไว้มีรายการที่ไม่เป็นไปตามหลักเก ์ และวิธีการที่กาหนดในกระทรวง
จานวน 5,000 บาท
7. หนี้สงสัยจะสูญ 3,580 บาท
8. ค่าเสื่อมราคาอุปกร ์สานักงาน 24,000 บาท
9. ค่าเสื่อมราคารถยนต์ 170,000 บาท
าอ ิ ายรายการ
1.ค่าใช้จ่ายสาหรับยานพาหนะ จานวน 3,120 บาท เป็นค่าปรับตาม พรบ. จราจร ตามมาตรา 65 ตรี (6)
ค่าปรับทางอาญา เป็นรายจ่ายต้องห้าม จึงต้องบวกกลับ กาไรสุทธิ 3,120 บาท
2.ค่าซ่อมแซมอาคาร จานวน 10,000 บาท เป็นค่าต่อเติม ตามมาตรา 65 ตรี (5) ค่าใช้จ่ายเพื่อการลงทุน ค่า
ต่อเติม เป็นรายจ่ายต้องห้าม จึงต้องบวกกลับ กาไรสุทธิ 10,000 บาทและนาไปหักค่าเสื่อมราคาได้
(10,000x5%) คือ 500 บาท
3.ค่าการกุ ล เงินบริจาค รวม 60,000 บาท ตามมาตรา 65 ตรี (3) รายจ่ายส่วนตัว เงินค่าการกุ ล เป็น
รายจ่ายต้องห้าม จึงต้องบวกกลับ กาไรสุทธิ 60,000 บาท และหักได้ร้อยละ 2ของกาไรสุทธิทางภาษีอากร
4. โบนัสกรรมการ มาตรา 65 ตรี(19) เงินโบนัสเป็นรายจ่ายที่กาหนดจากผลกาไรที่ได้เมื่อสิ้นรอบ
ระยะเวลาบัญชี ถือเป็นรายจ่ายต้องห้าม ไม่นามาคานว รวมกาไรทางภาษี จึงต้องบวกกลับทั้งจานวนคือ
20,000บาท
5.ค่าช่วยงาน พญาติคนงาน มาตรา65 ตรี (3) ค่าช่วยงาน พญาติคนงาน เป็นรายจ่ายอันลักษ ะเป็นกา
ส่วนตัว ถือว่าเป็นรายจ่ายต้องห้าม จึงต้องนามาบวกกลับทั้งจานวน คือ 1,000 บาท
6.ค่ารับรอง จานวน5,000 บาท ตามมาตรา 65 ตรี (4) ค่ารับรองที่ไม่เป็นไปตามหลักเก ์ที่กาหนดโดย
ก กระทรวงเป็นรายจ่ายต้องห้าม จึงต้องนามาบวกกลับกาไรสุทธิ 5,000 บาท
7. หนี้สงสัยจะสูญ ที่ปราก 3,580บาท ตามมาตรา 65 ตรี (1) เงินสารอง เป็นรายจ่ายต้องห้าม จึงต้องบวก
กลับกาไรสุทธิ3,580 บาท
8. ค่าเสื่อมราคา ที่แสดงไว้ตามมาตรา 65 ทวิ(2) ได้คานว ไว้ในอัตราที่ก หมายกาหนด ยกเว้นรถยนต์นั่ง
และยังไม่ได้บันทึกบัญชี จึงเป็นหักรายจ่ายได้ดังนี้
8.1 อุปกร ์สานักงาน มีค่าเสื่อมราคาที่หักได้ 24,000 บาท
8.2 รถยนต์นั่งส่วนบุคคล ก หมายให้คิดค่าเสื่อมราคาที่หักได้ 590,000
การ านว กาไรสุท ิทาง า ีเงินได้นิติ ุ ล
ขาดทุนสุทธิ (58,100)
วก รายจ่ายที่ต้องห้ามหรือไม่เป็ นไปตามเงื่อนไข
ค่าใช้จ่ายยานพาหนะ 3,120
ค่าซ่อมแซมอาคาร 10,000
โบนัสกรรมการ 20,000
ค่าช่วยงาน พญาติคนงาน 1,000
ค่ารับรอง 5,000
ค่าการกุ ล 60,000
หนี้สงสัยจะสูญ 3,580 102,700
รวม 44,600
หัก รายได้ที่ได้รับยกเว้นและรายจ่ายหักได้มากกว่าปกติ
ค่าเสื่อมราคาอุปกร ์สานักงาน 24,000
ค่าเสื่อมราคารถยนต์ 170,000
ค่าเสื่อมราคาอาคาร 500 194,500
ขาดทุนสุทธิทางภาษีอากร (149,900)
เมื่อมีผลขาดทุน จึงไม่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล
การย่นแ แสดงรายการแล าร า ีจาก านกาไรสุท ิ
1. 2
6
. . . 51
1. 150 . . . 50
. 62/2539
( . . . 50 . . . 51)
10 30
Thank You

More Related Content

Similar to Partnership

หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2thnaporn999
 
หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2thnaporn999
 
การประกอบการ
การประกอบการการประกอบการ
การประกอบการPa'rig Prig
 
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจการเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจsmile-girl
 
ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนthnaporn999
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2 Pa'rig Prig
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการDrDanai Thienphut
 
มือใหม่หัดลงทุนในหุ้น
มือใหม่หัดลงทุนในหุ้นมือใหม่หัดลงทุนในหุ้น
มือใหม่หัดลงทุนในหุ้นPrasong Supawannaporn
 

Similar to Partnership (11)

หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2
 
หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2
 
งานธุรกิจ
งานธุรกิจงานธุรกิจ
งานธุรกิจ
 
การประกอบการ
การประกอบการการประกอบการ
การประกอบการ
 
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจการเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
 
ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วน
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
ดร.ดนัย เทียนพุฒ :กรณี บจก.นครพิงค์เทียนหอม ของ นศ. MBA ผู้ประกอบการ
 
01 businessfinance v1
01 businessfinance v101 businessfinance v1
01 businessfinance v1
 
Mini estate
Mini estateMini estate
Mini estate
 
มือใหม่หัดลงทุนในหุ้น
มือใหม่หัดลงทุนในหุ้นมือใหม่หัดลงทุนในหุ้น
มือใหม่หัดลงทุนในหุ้น
 

Partnership

  • 2. ลักษณะของห้างหุ้นส่วนจากัด • ห้างหุ้นส่วนจากัด คือ องค์กรในการประกอบกิจการค ้ารูปแบบหนึ่ง ซึ่ง เหมาะสมกับกิจการค ้าขนาดกลางและขนาดย่อม โดยการจัดตั้งห ้างหุ้นส่วนจากัดตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1079 บังคับไว ้ว่าต ้องจดทะเบียน ถ ้ายังมิได ้จดทะเบียน เป็น ห ้างหุ้นส่วนสามัญ • ห้างหุ้นส่วนจากัด จะแบ่งหุ้นส่วนออกเป็ น 2 ประเภท • 1. หุ้นส่วนไม่จากัดความรับผิด - รับผิดชอบหนี้ ไม่จากัดจานวนครับ • 2. หุ้นสวนจากัดความรับผิด - ความรับผิดอยู่ไม่เกินมูลค่าทุนที่ตัวเองลงไว้
  • 3. การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนจากัด • การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนจากัด จะต้องมีบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไป ตกลงเข้ากันเพื่อกระทากิจการร่วมกัน ด้วยประสงค์จะแบ่งปันกาไร อันจะพึงได้แต่กิจการที่ทานั้น โดยการก่อตั้งห้างหุ้นส่วนไม่มีแบบ ไม่ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ • แม้ว่าห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนและห้างหุ้นส่วนจากัดจะต้องมีการจด ทะเบียนนั้น ก็เพียงแต่มีผลให้ห้างเป็นนิติบุคคล และให้มีผู้เป็น หุ้นส่วนจาพวกจากัดความรับผิดขึ้นในห้างหุ้นส่วนจากัดเท่านั้น ห้าง หุ้นส่วนที่ยังไม่จดทะเบียนก็คงเป็นห้างหุ้นส่วนสามัญอยู่
  • 4. ถ้าหากท่านเตรียมข้อมูลดังต่อไปนี้ เพื่อเตรียมจดทะเบียนจัดตั้งนิติบุคคลประเภทห้างหุ้นส่วนจะทาให้ง่ายต่อการจด ทะเบียนและรวดเร็วยิ่งขึ้น ข้อมูลที่ต้องจัดเตรียม • 1. "ชื่อห้างหุ้นส่วน ตั้งจองไว้ซัก 3 ชื่อ " • 1.ชื่อไทย ................................................................................................................................... • อังกฤษ................................................................................................................ • 2.ชื่อไทย .................................................................................................................................. • อังกฤษ...................................................................................................................... • 3.ชื่อไทย ................................................................................................................................... • อังกฤษ...................................................................................................................... • 2. วัตถุประสงค์ของกิจการห้างหุ้นส่วน • 1........................................................................................................................................ ...... • 2........................................................................................................................................ ...... • 3..ชื่อหุ้นส่วนทั้งหมดและลงทุนด้วยเงินหรือทรัพย์สินหรือแรงงาน • 1.ชื่อไทย................................................................................................. • ชื่อภาษาอังกฤษ..................................................................................(สาคัญ) • ลงหุ้นด้วย....................จำนวน..........................................บำท • 2.ชื่อไทย................................................................................................. • ชื่อภำษำอังกฤษ..................................................................................(สำคัญ) • ลงหุ้นด้วย....................จำนวน..........................................บำท • 3.ชื่อไทย................................................................................................. • ชื่อภำษำอังกฤษ..................................................................................(สำคัญ) • ลงหุ้นด้วย....................จำนวน..........................................บำท • 4.ชื่อไทย................................................................................................. • ชื่อภำษำอังกฤษ..................................................................................(สำคัญ) • ลงหุ้นด้วย....................จำนวน..........................................บำท • 4. ชื่อหุ้นส่วนผู้ส่วนผู้จัดกำร • หุ้นส่วนผู้จัดกำรมีทั้งหมด..............................คน • ชื่อหุ้นส่วนผู้จัดกำร ............................................................................................................................ • อำนำจหรือข้อจำกัดของหุ้นส่วนผู้จัดกำร .................................................................................................................... • (เซ็นแบบไหน เช่น เซ็นร่วมกัน,ต่ำงคนต่ำงเซ็น)
  • 5. • 5.สถำนประกอบกำร • สำนักงำนใหญ่ เลขที่ .......................................................................................................... .................... • ชื่อที่ตั้งภำษำอังกฤษ ......................................................................................(สำคัญ) • สำนักงำนสำขำ(ถ้ำ มี)....................................................................................................... ....................... • ชื่อที่ตั้งสำขำภำษำอังกฤษ ......................................................................................(สำคัญ) • สำเนำทะเบียนบ้ำนที่ตั้งสถำนประกอบกำร 3 ชุด. • แผนที่ตั้งสถำนที่ประกอบกำร(วำดเอง) (ไม่เอำจำก Googlemap) 3 ชุด ถ่ำยสำเนำได้ • 6.รูปแบบตรำยำง,ดวงตรำของห้ำงหุ้นส่วน • 1.รูปแบบตรำยำง จะมีโลโก้หรือไม่มีก็ได้ • 2.ถ้ำมีชื่อต้องแสดงสถำนะนิติบุคคลด้วย เช่น ห้ำงหุ้นส่วนจำกัด.... หรือ .........Limited Pernership. • 3.จะมีภำษำไทยอย่ำงเดียวหรือภำษำอังกฤษอย่ำงเดียวหรือมีทั้งสอง อย่ำงก็ได้ • 7.สำเนำเอกสำร • 1. สำเนำบัตรประชำชนและทะเบียนบ้ำนเฉพำะหุ้นส่วนผู้จัดกำรคนละ 5 ชุด • 2. สำเนำบัตรประชำชนและทะเบียนบ้ำนของหุ้นส่วนคนอื่นๆ คนละ 2 ชุด • 8.ถ้ำต้องกำรจดเข้ำระบบภำษีมูลค่ำเพิ่ม (Vat)ต้องเพิ่มเอกสำรดังนี้ • 1. หนังสือยินยอมให้ใช้สถำนที่ประกอบกำรจำกเจ้ำบ้ำน,หรือเจ้ำของกรรมสิทธิ์(ใน กรณีที่ไม่มีเจ้ำบ้ำน) (คลิกดูตัวอย่ำงหนังสือยินยอม) • หรือสัญญำเช่ำ(กรณีเช่ำ)ที่ตั้งสถำนประกอบกำร • ถ้ำเป็นสัญญำเช่ำต้องเช่ำในนำม "ห้ำงหุ้นส่วนกับเจ้ำของกรรมสิทธิ์"และ ต้องติด อำกรให้เรียบร้อย (พันละ 1 บำท/เดือน/ปี) เช่น • เช่ำเดือนละ 3,000 บำท ระยะเวลำ 1 ปี ติดอำกร 36 บำท เป็นต้น • 2. หลักฐำนแสดงควำมเป็นเจ้ำบ้ำนของสถำนประกอบกำร ของผู้ให้ควำมยินยอมใช้ สถำนที่ประกอบกำร • หรือเอกสำรหลักฐำนแสดงควำมเป็นเจ้ำของ(กรณีที่ไม่มีเจ้ำบ้ำน) เช่น สัญญำซื้อขำย ,โฉนดที่ดิน • หรือในกรณีให้เช่ำ ต้องให้เจ้ำบ้ำนหรือเจ้ำของกรรมสิทธิ์ เป็นผู้ให้เช่ำกับห้ำงหุ้นส่วนฯ • 3. สำเนำบัตรประชำชนและทะเบียนบ้ำนของผู้ให้ควำมยินยอมหรือผู้ให้เช่ำ • 4. ถ่ำยรูปแสดงให้เห็นป้ ำยชื่อห้ำงหุ้นส่วนและเลขที่สถำนที่ตั้งสำนักงำนและตัว อำคำร • และถ่ำยห้องทำงำน Office อำจจะมีโต๊ะทำงำน โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ เป็นต้น ซัก 2-3 รูป • 5.ในกรณีที่ไม่มีเจ้ำบ้ำน ให้ถ่ำยสำเนำทะเบียนสถำนประกอบกำร (หน้ำแรก+หน้ำที่ ไม่มีผู้อำศัย) 2 ชุด • 9.ชื่อผู้ติดต่อ • ชื่อผู้ติดต่อ.....................................เบอร์โทรศัพท์................................. อีเมล์:...............................................
  • 6. ข้อดีและข้อเสียของห้างหุ้นส่วนจากัด • ข้อดีของห้างหุ้นส่วนจากัด • 1. รวบรวมเงินทุน ควำมรู้ควำมสำมำรถจำกผู้ เป็นหุ้นส่วนได้มำกขึ้น • 2. ผู้มีเงินทุนยินดีจะลงทุนร่วมด้วย โดยเป็น หุ้นส่วนประเภทจำกัดควำมรับผิด ทำให้พ้น ภำระรับผิดชอบในหนี้สินแบบลูกหนี้ร่วม • 3. สำมำรถจะระดมบุคคลที่มีควำมเชียวชำญ ในสำขำใด ๆ มำเป็นหุ้นส่วนประเภทจำกัด ควำมรับผิดได้ • 4. ได้รับควำมเชื่อถือจำกบุคคลภำยนอกมำก ขึ้น • 5. เสียภำษีเงินได้แบบนิติบุคคล ข้อเสียของห้างหุ้นส่วนจากัด 1 กำรจัดตั้งมีควำมยุ่งยากมำกขึ้น 2.หุ้นส่วนประเภทไม่จากัดความ รับผิดชอบ ต้องรับภาระหนี้สินไม่จากัด จานวน 3. เมื่อมีผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดตำย ล้มละลำย หรือลำออก ห้ำงหุ้นส่วนนั้นจะต้องเลิกกิจกำร และชำระบัญชีให้เรียบร้อย
  • 7. สิทธิของผู้เป็นหุ้นส่วนจาพวกจากัดความผิด ผู้เป็นหุ้นส่วนจาพวกจากัดความรับผิดจะประกอบการค้าขายอย่างใดๆ เพื่อ ประโยชน์ตนหรือเพื่อประโยชน์ของบุคคลภายนอกก็ได้แม้ว่ากิจการนั้นจะมีสภาพ เป็นอย่างเดียวกันกับการค้าขายของห้างหุ้นส่วนก็ไม่ห้าม แต่ผู้เป็นหุ้นส่วนจาพวกไม่ จากัดความรับผิดไม่อาจทาได้ การที่ผู้เป็นหุ้นส่วนจาพวกจากัดความรับผิดตาย ล้มละลาย หรือตกเป็นคน ไร้ความสามารถ ไม่เป็นเหตุให้ห้างหุ้นส่วนจากัดต้องเลิกกัน เว้นแต่จะได้มีข้อสัญญา กันไว้เป็นอย่างอื่น ถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนจาพวกจากัดความรับผิดตาย ให้ทายาทของผู้นั้นเข้าเป็น หุ้นส่วนแทนที่ผู้ตาย เว้นแต่จะได้มีข้อสัญญากันไว้เป็นอย่างอื่น ถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนจาพวกจากัดความรับผิดล้มละลาย ต้องเอาหุ้นในห้าง หุ้นส่วนออกขายเป็นสินทรัพย์ในกองล้มละลาย
  • 8. • ข้อจากัดสิทธิของผู้เป็นหุ้นส่วนจาพวกจากัดความรับผิด • ถ้ำห้ำงไม่ได้กำไรผู้เป็นหุ้นส่วนจำพวกจำกัดควำมรับผิดไม่มีสิทธิได้เงินปันผลหรือ ดอกเบี้ย และแม้ห้ำงจะได้กำไรแต่ถ้ำห้ำงขำดทุนมำก่อนและเงินทุนยังขำดอยู่ ก็ยัง จ่ำยเงินปันผลหรือดอกเบี้ยให้แก่ผู้เป็นหุ้นส่วนจำพวกจำกัดควำมรับผิดไม่ได้ จนกว่ำ จะได้แก้ไขให้ทุนที่ขำดไปนั้นคืนมำเต็มจำนวน กรรมกำรผู้จัดกำรของห้ำงหุ้นส่วนจะมีได้เฉพำะผู้เป็นหุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัด ควำมรับผิดเท่ำนั้น ผู้เป็นหุ้นส่วนจำพวกจำกัดควำมรับผิดไม่อำจให้ชื่อของตนเป็นชื่อของห้ำง ถ้ำผู้ เป็นหุ้นส่วนจำพวกจำกัดควำมรับผิดยินยอมให้ใช้ชื่อของตนเป็นชื่อห้ำง ผู้เป็นหุ้นส่วน คนนั้นจะต้องรับผิดต่อบุคคลภำยนอกเสมือนกับว่ำเป็นหุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดควำมผิด
  • 9. ผู้เป็นหุ้นส่วนจาพวกไม่จากัดความรับผิด แม้ห้ำงหุ้นส่วนจำกัดจะมีกำรจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลแยกต่ำงหำกจำกผู้ เป็นหุ้นส่วนก็ตำม ผู้เป็นหุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดควำมรับผิด มีควำมรับผิดต่อ ห้ำงเสมือนเป็นบุคคลเดียวกัน ในกรณีที่ผู้เป็นหุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดควำมรับผิดตำย ล้มละลำย หรือ ตกเป็นผู้ไร้ควำมสำมำรถ ห้างหุ้นส่วนจากัดต้องเลิกกันตามมาตรา 1055 (5) และ 1080 ผู้เป็นหุ้นส่วนจำพวกไม่จำกัดควำมรับผิดจึงย่อมมีสิทธิบริหำรจัดกำรห้ำง หุ้นส่วน และมีอำนำจกระทำกำรผูกพันห้ำงและหุ้นส่วนอื่นได้
  • 10.
  • 11. งบทดลองก่อนปรับปรุง (ต่อ) ค่าโบนัสกรรมการ 514 20,000 ค่าช่วย พญาติคนงาน 515 1,000 ค่ารับรอง 516 5,000 1,624,820 1,624,820
  • 12. รายการเพิ่มเติม • 1. สินค้ำคงเหลือวันที่ 31 ธ.ค. 2557 ตรวจนับและตีรำคำได้ 75,800 บำท วัสดุสำนักงำนคงเหลือ 2,000 บำท • 2. ยังไม่ได้จ่ำยค่ำล่วงเวลำให้พนักงำน 5 คน ๆ ละ 500 บำท • 3. ประมำณหนี้สงสัยจะสูญ 1% ของยอดขำย • 4. ค่ำขนส่งจ่ำยล่วงหน้ำ เป็นค่ำขนส่งสำหรับ 3 เดือน เริ่มเดือน ธันวำคม 2557 • 5. คิดค่ำเสื่อมรำคำรถยนต์ อุปกรณ์สำนักงำน 20% ต่อปี • 6. ค่ำเช่ำอำคำรสำหรับระยะเวลำ 1 ปี เริ่มวันที่ 1 พฤศจิกำยน 2557
  • 13.
  • 15.
  • 17. ห้างหุ้นส่วน ไทเลยเฟอร์นิเจอร์ จากัด ง กาไรขาดทุน สาหรั ปี สิ้นสุดวันที่ 31 ันวา 2557 หน่วย: าท รายได้: รายได้จากการขาย 454,000 ่าใ ้จ่าย: ต้นทุนขาย (1) 140,700 ค่าใช้จ่ายในการขาย (2) 26,120 ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน (3) 345,280 รวมค่าใช้จ่าย 512,100 ขาดทุน (58,100)
  • 18. ห้างหุ้นส่วน ไทเลยเฟอร์นิเจอร์ จากัด ง แสดง าน การเงิน วันที่ 31 ันวา 2557 หน่วย : าท สินทรั ย์ สินทรั ย์ห ุนเวียน เงินสด 26,000 ลูกหนี้การค้า (4) 180,120 สินค้าคงเหลือ 75,800 วัสดุสานักงาน 2,000 ค่าขนส่งจ่ายล่วงหน้า 24,000 ค่าเช่าอาคารจ่ายล่วงหน้า 30,000 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 337,920 ที่ดิน อา าร แล อุปกร ์ อุปกร ์สานักงาน (5) 75,600 รถยนต์ (6) 260,000 รวมที่ดิน อาคาร และอุปกร ์ 335,600 รวมสินทรัพย์ 673,520
  • 19. หนี้สินแล ส่วนของผู้ อหุ้น หนี้สินห ุนเวียน เจ้าหนี้การค้า 27,200 ค่าล่วงเวลาค้างจ่าย 2,500 รวมหนี้สินหมุนเวียน 29,700 ส่วนของผู้ อหุ้น ทุน-พรร ทิภา 315,860 ทุน-อัญธิกา 210,580 ทุน-เสาวลักษ ์ 175,480 ขาดทุน (58,100) รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 673,520
  • 20. ห ายเหตุปร กอ ง การเงิน (1) ต้นทุนขาย สินค้าคงเหลือต้นงวด 90,500 ซื้อ 126,000 หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด 75,800 รวมต้นทุนขาย 140,700 (2) ่าใ ้จ่ายในการขาย ค่าขนส่ง 14,300 ค่าล่วงเวลา 3,700 ค่าใช้จ่ายยานพาหนะ 3,120 ค่ารับรอง 5,000 26,120 (3) ่าใ ้จ่ายในการดาเนินงาน เงินเดือน 35,000 ค่าเช่าอาคาร 6,000 ค่าสาธาร ูปโภค 13,200 วัสดุสานักงานใช้ไป 2,500 หนี้สงสัยจะสูญ 3,580 ค่าเสื่อมอุปกร ์สานักงาน 24,000 ค่าเสื่อมราคา-รถยนต์ 170,000
  • 21.
  • 22. (3) ลูกหนี้การ ้า ลูกหนี้การค้า 185,000 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 4,880 180,120 (4) อุปกร ์สานักงาน อุปกร ์สานักงาน 120,000 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม-อุปกร ์ 44,400 75,600 (6) ร ยนต์ รถยนต์ 850,000 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม-รถยนต์ 590,000 260,000
  • 23. เง่อนไข ีดังนี้ -วิธีการคานว ภาษีต้องเป็นไปตามมาตรา 65 ทวิ และมาตรา65 ตรี แห่งประมวลรัษ ากร ใช้เก ์สิทธิในการรับรู้รายได้และค่าใช้จ่าย -ขาดทุนหรือไม่มีรายได้ก็ต้องยื่นแบบ -หลักการบันทึกบัญชี ใช้วิธีการบันทึกบัญชีสินค้าแบบสิ้นงวด (Periodical Inventory Method ) โดยทุน พรร ทิภา เป็นหุ้นส่วนประเภทไม่จากัดความรับผิดชอบ มีลักษ ะดังนี้ 1. ต้องรับผิดชอบในหนี้สินทั้งหมด โดยไม่จากัดความรับผิดด้วยกัน 2. ต้องรับผิดร่วมกันในระหว่างหุ้นส่วนประเภทไม่จากัดความรับผิดด้วยกัน 3. คุ สมบัติของหุ้นส่วนเป็นสาระสาคัญ 4. สามารถเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการได้ ส่วนทุน อัญธิกา และ เสาวลักษ ์ เป็นหุ้นส่วนประเภทจากัดความรับผิด มีลักษ ะดังนี้ 1. รับผิดในหนี้สินของห้าง เพียงไม่เกินจานวนเงินที่รับจะลงทุน 2. ไม่รับผิดในหนี้สินของห้างร่วมกัน 3. คุ สมบัติของห้างหุ้นส่วนไม่เป็นสาระสาคัญ 4. ไม่สามารถเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการได้
  • 24. ส่วนแ ่งกาไร(ขาดทุน) • ส่วนแบ่งกาไร (ขาดทุน ) • จะแบ่งกาไร (ขาดทุน) ตามอัตราการลงทุนซึ่งการดาเนินกิจการในปีนี้มีผลขาดทุนสุทธิเท่ากับ 58,100 บาท จึงแบ่งผลขาดทุนได้ดังนี้ ทุน-พรร ทิภา 45% (58,100 x 45%) = (26,145) ทุน-อัญธิกา 30% (58,100 x 30%) = (17,430) ทุน-เสาวลักษ ์ 25% (58,100 x 25%) = (14,525)
  • 25. ข้อ ูลเ ิ่ เติ จากการตรวจสอบงบกาไรขาดทุนปราก ว่ามีรายละเอียดเพิ่มเติมดังต่อไปนี้ 1. ค่าใช้จ่ายยานพาหนะจานวน 3,120 บาท 2. ค่าซ่อมแซมอาคารจานวน 10,000 บาท 3. ค่าการกุ ลจานวน 60,000 บาท 4. โบนัสกรรมการจานวน 20,000 บาท 5. ค่าช่วยงาน พญาติคนงาน 1,000 บาท 6. ค่ารับรองที่บันทึกไว้มีรายการที่ไม่เป็นไปตามหลักเก ์ และวิธีการที่กาหนดในกระทรวง จานวน 5,000 บาท 7. หนี้สงสัยจะสูญ 3,580 บาท 8. ค่าเสื่อมราคาอุปกร ์สานักงาน 24,000 บาท 9. ค่าเสื่อมราคารถยนต์ 170,000 บาท
  • 26. าอ ิ ายรายการ 1.ค่าใช้จ่ายสาหรับยานพาหนะ จานวน 3,120 บาท เป็นค่าปรับตาม พรบ. จราจร ตามมาตรา 65 ตรี (6) ค่าปรับทางอาญา เป็นรายจ่ายต้องห้าม จึงต้องบวกกลับ กาไรสุทธิ 3,120 บาท 2.ค่าซ่อมแซมอาคาร จานวน 10,000 บาท เป็นค่าต่อเติม ตามมาตรา 65 ตรี (5) ค่าใช้จ่ายเพื่อการลงทุน ค่า ต่อเติม เป็นรายจ่ายต้องห้าม จึงต้องบวกกลับ กาไรสุทธิ 10,000 บาทและนาไปหักค่าเสื่อมราคาได้ (10,000x5%) คือ 500 บาท 3.ค่าการกุ ล เงินบริจาค รวม 60,000 บาท ตามมาตรา 65 ตรี (3) รายจ่ายส่วนตัว เงินค่าการกุ ล เป็น รายจ่ายต้องห้าม จึงต้องบวกกลับ กาไรสุทธิ 60,000 บาท และหักได้ร้อยละ 2ของกาไรสุทธิทางภาษีอากร 4. โบนัสกรรมการ มาตรา 65 ตรี(19) เงินโบนัสเป็นรายจ่ายที่กาหนดจากผลกาไรที่ได้เมื่อสิ้นรอบ ระยะเวลาบัญชี ถือเป็นรายจ่ายต้องห้าม ไม่นามาคานว รวมกาไรทางภาษี จึงต้องบวกกลับทั้งจานวนคือ 20,000บาท
  • 27. 5.ค่าช่วยงาน พญาติคนงาน มาตรา65 ตรี (3) ค่าช่วยงาน พญาติคนงาน เป็นรายจ่ายอันลักษ ะเป็นกา ส่วนตัว ถือว่าเป็นรายจ่ายต้องห้าม จึงต้องนามาบวกกลับทั้งจานวน คือ 1,000 บาท 6.ค่ารับรอง จานวน5,000 บาท ตามมาตรา 65 ตรี (4) ค่ารับรองที่ไม่เป็นไปตามหลักเก ์ที่กาหนดโดย ก กระทรวงเป็นรายจ่ายต้องห้าม จึงต้องนามาบวกกลับกาไรสุทธิ 5,000 บาท 7. หนี้สงสัยจะสูญ ที่ปราก 3,580บาท ตามมาตรา 65 ตรี (1) เงินสารอง เป็นรายจ่ายต้องห้าม จึงต้องบวก กลับกาไรสุทธิ3,580 บาท 8. ค่าเสื่อมราคา ที่แสดงไว้ตามมาตรา 65 ทวิ(2) ได้คานว ไว้ในอัตราที่ก หมายกาหนด ยกเว้นรถยนต์นั่ง และยังไม่ได้บันทึกบัญชี จึงเป็นหักรายจ่ายได้ดังนี้ 8.1 อุปกร ์สานักงาน มีค่าเสื่อมราคาที่หักได้ 24,000 บาท 8.2 รถยนต์นั่งส่วนบุคคล ก หมายให้คิดค่าเสื่อมราคาที่หักได้ 590,000
  • 28. การ านว กาไรสุท ิทาง า ีเงินได้นิติ ุ ล ขาดทุนสุทธิ (58,100) วก รายจ่ายที่ต้องห้ามหรือไม่เป็ นไปตามเงื่อนไข ค่าใช้จ่ายยานพาหนะ 3,120 ค่าซ่อมแซมอาคาร 10,000 โบนัสกรรมการ 20,000 ค่าช่วยงาน พญาติคนงาน 1,000 ค่ารับรอง 5,000 ค่าการกุ ล 60,000 หนี้สงสัยจะสูญ 3,580 102,700 รวม 44,600 หัก รายได้ที่ได้รับยกเว้นและรายจ่ายหักได้มากกว่าปกติ ค่าเสื่อมราคาอุปกร ์สานักงาน 24,000 ค่าเสื่อมราคารถยนต์ 170,000 ค่าเสื่อมราคาอาคาร 500 194,500 ขาดทุนสุทธิทางภาษีอากร (149,900) เมื่อมีผลขาดทุน จึงไม่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล
  • 29. การย่นแ แสดงรายการแล าร า ีจาก านกาไรสุท ิ 1. 2 6 . . . 51 1. 150 . . . 50 . 62/2539 ( . . . 50 . . . 51) 10 30