SlideShare a Scribd company logo
1




                          การสะท้อนของแสง

มุมตกกระทบ = มุมสะท้อน

ภาพที่เกิดจากกระจกเงาราบ จะได้ภาพเสมือนหัวตั้งกลับ

ซ้ายขวา ขนาดภาพเท่ากับขนาดวัตถุและระยะภาพเท่ากับ

ระยะวัตถุการสะท้อนของกระจกโค้ง

1.

f = ความยาวโฟกัส

R = รัศมีความโค้งของกระจก

S = ระยะวัตถุ

     ระยะภาพ

2. กาลังขยาย

ภาพจริง - ระยะวัตถุ (s) และระยะภาพ   จะเป็นบวก (+)

ภาพเสมือน - ระยะวัตถุ และระยะภาพ จะเป็นลบ (-)

กระจกเว้า และเลนส์นน - ระยะโฟกัส (f) จะเป็นบวก (+)
                   ู

กระจกนูนและเลนส์เว้า - ระยะโฟกัส จะเป็นลบ (-)
2




ทัศนอุปกรณ์ต่าง ๆ

1. เครื่องฉายภาพนิ่ง - ให้ภาพจริงขนาดขยายบนฉากรับ

โดยใส่ slide ที่ ระยะ 2S > f แต่ < 2f

2. แว่นขยาย - ให้ภาพเสมือนขนาดขยาย โดยใช้เลนส์นูน

ที่ระยะ S < f

3. กล้องถ่ายรูป - ให้ภาพจริงหัวกลับขนาดย่อบนแผ่นฟิล์ม

โดยผู้ที่ถูกถ่ายจะยืนที่ระยะ S > 2f

4. กล้องจุลทรรศน์ - ให้ภาพสุดท้ายเป็นภาพเสมือนหัวกลับ

ขนาดขยายโดยจะต้องใช้เลนส์นูน 2 อัน อันแรกเป็นเลนส์

วัตถุ จะให้ภาพจริงหัวกลับ ขนาดขยาย ส่วนอันดับที่ 2

เป็นเลนส์ตา ให้ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดขยาย จึงได้ภาพ

สุดท้ายเป็นภาพเสมือนหัวกลับขนาดขยาย

กาลังขยาย = กาลังขยายเลนส์ตา x กาลังขยายเลนส์วัตถุ

5. กล้องโทรทัศน์ - ให้ภาพเสมือนหัวกลับ ขนาดเล็ก

กว่าวัตถุ
3




การหักเหของแสง

การหักเห เกิดจากอัตราเร็วของคลื่นแสงในตัวกลางทัง
                                               ้

สองไม่เท่ากัน




n2 = ดัชนีหักเหของตัวกลาง 2

n1 = ดัชนีหักเหของตัวกลาง 1

v = ความเร็วของแสง

 = มุมตกกระทบ

 = ความยาวคลื่น



n = ดัชนีหักเหของตัวกลางเทียบกับอากาศ

c = ความเร็วของแสงในอากาศ
4




v = ความเร็วของแสงในตัวกลางใด ๆ

ตัวกลางโปร่งอาทิ เช่น อากาศ จะมีค่าดัชนีหักเหน้อย แต่จะ

มี     มาก

มุมวิกฤต

มุมวิกฤต     คือ มุมตกกระทบที่ทาให้มุมหักเห

เป็น 90o ปรากฎการสะท้อนกลับหมด มุมตกกระทบจะมาก

กว่ามุมวิกฤต เกิดจากการที่คลื่นแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางที่

มีค่าดรรชนีหักเหมากไปสู่ตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหน้อย




ถ้ามุมตกกระทบ          จะสะท้อนกลับหมด

ระยะจริงและระยะปรากฎ

มองตรง :
5




มองเฉียง :

  = ระยะปรากฎ

S = ระยะจริง

  = ดัชนีหักเหของตา

n = ดัชนีหักเหของวัตถุ




การมองจากตัวกลางโปร่ง ตัวกลางทึบ ระยะปรากฎ

< ระยะจริง




มองจากตัวกลางทึบ ตัวกลางโปร่ง ระยะปรากฎ >

ระยะจริง

โพลาไรเซซัน

เมื่อแสงตกกระทบตัวกลางแล้วเกิดการหักเห และสะ
6




ท้อนกลับทามุม 90o ซึ่งกันและกัน มุมกระทบนี้เรียกว่า

Polarizing Angle แสงที่สะท้อนจะเป็นแสงโพลาไรซ์



nx = ดัชนีหักเหของตัวกลาง

  = มุม Polarizing Angle

การแทรกสอดของคลื่นแสง

1. เกิดจากช่องแถบคู่




แถบสว่าง :

แถบมืด :

2. เกิดจากช่องแถบเดี่ยว
7




แถบสว่าง :

แถบมืด :

ความสว่างของแสง



E = ความสว่างของแสง หน่วยเป็นลูเมนซ์ / ตรม.

หรือ ลักซ์

F = ฟลักซ์ของการส่องสว่าง หน่วยเป็นลูเมนซ์

A = พื้นที่ฉาก

แม่สีของแสงสีปฐมภูมิ คือ แดง เขียว น้าเงิน

แม่สีของสารสีปฐมภูมิ คือ แดงม่วง เหลือง น้าเงินเขียว

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
Yaovaree Nornakhum
 
แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11
Wilailak Luck
 
กล้องสองตา2
กล้องสองตา2กล้องสองตา2
กล้องสองตา2
karuehanon
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phography
edtech29
 
9789740330196
97897403301969789740330196
9789740330196
CUPress
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
พัน พัน
 
แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์
Chakkrawut Mueangkhon
 

What's hot (7)

บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
บทที่ 2 เซลล์และการทำงานของเซลล์ I (กล้องจุลทรรศน์)
 
แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11
 
กล้องสองตา2
กล้องสองตา2กล้องสองตา2
กล้องสองตา2
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phography
 
9789740330196
97897403301969789740330196
9789740330196
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์
 

Similar to Lesson13

ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
kasidid20309
 
นำเสนอแสงปี56
นำเสนอแสงปี56นำเสนอแสงปี56
นำเสนอแสงปี56
จุฑาทิพย์ รักษ์ศรี
 
เรื่องที่ 14 ทัศนอุปกรณ์
เรื่องที่ 14  ทัศนอุปกรณ์เรื่องที่ 14  ทัศนอุปกรณ์
เรื่องที่ 14 ทัศนอุปกรณ์thanakit553
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์Apinya Phuadsing
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์dnavaroj
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
wirayuth jaksuwan
 
ปรากฎการณ์คลื่น
ปรากฎการณ์คลื่นปรากฎการณ์คลื่น
ปรากฎการณ์คลื่นthanakit553
 
แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11Wilailak Luck
 
แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11Wilailak Luck
 

Similar to Lesson13 (12)

ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
 
นำเสนอแสงปี56
นำเสนอแสงปี56นำเสนอแสงปี56
นำเสนอแสงปี56
 
เรื่องที่ 14 ทัศนอุปกรณ์
เรื่องที่ 14  ทัศนอุปกรณ์เรื่องที่ 14  ทัศนอุปกรณ์
เรื่องที่ 14 ทัศนอุปกรณ์
 
P14
P14P14
P14
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
 
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
กล้องจุลทรรศน์ เซลล์และการค้นพบเซลล์
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
ปรากฎการณ์คลื่น
ปรากฎการณ์คลื่นปรากฎการณ์คลื่น
ปรากฎการณ์คลื่น
 
แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11
 
แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11
 
148
148148
148
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 

More from saiyok07 (20)

0 o net-2549
0 o net-25490 o net-2549
0 o net-2549
 
9.2
9.29.2
9.2
 
20
2020
20
 
19
1919
19
 
18
1818
18
 
17.4
17.417.4
17.4
 
17.3
17.317.3
17.3
 
17.2
17.217.2
17.2
 
17.1
17.117.1
17.1
 
16.4
16.416.4
16.4
 
16.3
16.316.3
16.3
 
16.2
16.216.2
16.2
 
16.1
16.116.1
16.1
 
14.4
14.414.4
14.4
 
15.4
15.415.4
15.4
 
15.3
15.315.3
15.3
 
15.2
15.215.2
15.2
 
15.1
15.115.1
15.1
 
14.3
14.314.3
14.3
 
14.2
14.214.2
14.2
 

Lesson13

  • 1. 1 การสะท้อนของแสง มุมตกกระทบ = มุมสะท้อน ภาพที่เกิดจากกระจกเงาราบ จะได้ภาพเสมือนหัวตั้งกลับ ซ้ายขวา ขนาดภาพเท่ากับขนาดวัตถุและระยะภาพเท่ากับ ระยะวัตถุการสะท้อนของกระจกโค้ง 1. f = ความยาวโฟกัส R = รัศมีความโค้งของกระจก S = ระยะวัตถุ ระยะภาพ 2. กาลังขยาย ภาพจริง - ระยะวัตถุ (s) และระยะภาพ จะเป็นบวก (+) ภาพเสมือน - ระยะวัตถุ และระยะภาพ จะเป็นลบ (-) กระจกเว้า และเลนส์นน - ระยะโฟกัส (f) จะเป็นบวก (+) ู กระจกนูนและเลนส์เว้า - ระยะโฟกัส จะเป็นลบ (-)
  • 2. 2 ทัศนอุปกรณ์ต่าง ๆ 1. เครื่องฉายภาพนิ่ง - ให้ภาพจริงขนาดขยายบนฉากรับ โดยใส่ slide ที่ ระยะ 2S > f แต่ < 2f 2. แว่นขยาย - ให้ภาพเสมือนขนาดขยาย โดยใช้เลนส์นูน ที่ระยะ S < f 3. กล้องถ่ายรูป - ให้ภาพจริงหัวกลับขนาดย่อบนแผ่นฟิล์ม โดยผู้ที่ถูกถ่ายจะยืนที่ระยะ S > 2f 4. กล้องจุลทรรศน์ - ให้ภาพสุดท้ายเป็นภาพเสมือนหัวกลับ ขนาดขยายโดยจะต้องใช้เลนส์นูน 2 อัน อันแรกเป็นเลนส์ วัตถุ จะให้ภาพจริงหัวกลับ ขนาดขยาย ส่วนอันดับที่ 2 เป็นเลนส์ตา ให้ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดขยาย จึงได้ภาพ สุดท้ายเป็นภาพเสมือนหัวกลับขนาดขยาย กาลังขยาย = กาลังขยายเลนส์ตา x กาลังขยายเลนส์วัตถุ 5. กล้องโทรทัศน์ - ให้ภาพเสมือนหัวกลับ ขนาดเล็ก กว่าวัตถุ
  • 3. 3 การหักเหของแสง การหักเห เกิดจากอัตราเร็วของคลื่นแสงในตัวกลางทัง ้ สองไม่เท่ากัน n2 = ดัชนีหักเหของตัวกลาง 2 n1 = ดัชนีหักเหของตัวกลาง 1 v = ความเร็วของแสง = มุมตกกระทบ = ความยาวคลื่น n = ดัชนีหักเหของตัวกลางเทียบกับอากาศ c = ความเร็วของแสงในอากาศ
  • 4. 4 v = ความเร็วของแสงในตัวกลางใด ๆ ตัวกลางโปร่งอาทิ เช่น อากาศ จะมีค่าดัชนีหักเหน้อย แต่จะ มี มาก มุมวิกฤต มุมวิกฤต คือ มุมตกกระทบที่ทาให้มุมหักเห เป็น 90o ปรากฎการสะท้อนกลับหมด มุมตกกระทบจะมาก กว่ามุมวิกฤต เกิดจากการที่คลื่นแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางที่ มีค่าดรรชนีหักเหมากไปสู่ตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหน้อย ถ้ามุมตกกระทบ จะสะท้อนกลับหมด ระยะจริงและระยะปรากฎ มองตรง :
  • 5. 5 มองเฉียง : = ระยะปรากฎ S = ระยะจริง = ดัชนีหักเหของตา n = ดัชนีหักเหของวัตถุ การมองจากตัวกลางโปร่ง ตัวกลางทึบ ระยะปรากฎ < ระยะจริง มองจากตัวกลางทึบ ตัวกลางโปร่ง ระยะปรากฎ > ระยะจริง โพลาไรเซซัน เมื่อแสงตกกระทบตัวกลางแล้วเกิดการหักเห และสะ
  • 6. 6 ท้อนกลับทามุม 90o ซึ่งกันและกัน มุมกระทบนี้เรียกว่า Polarizing Angle แสงที่สะท้อนจะเป็นแสงโพลาไรซ์ nx = ดัชนีหักเหของตัวกลาง = มุม Polarizing Angle การแทรกสอดของคลื่นแสง 1. เกิดจากช่องแถบคู่ แถบสว่าง : แถบมืด : 2. เกิดจากช่องแถบเดี่ยว
  • 7. 7 แถบสว่าง : แถบมืด : ความสว่างของแสง E = ความสว่างของแสง หน่วยเป็นลูเมนซ์ / ตรม. หรือ ลักซ์ F = ฟลักซ์ของการส่องสว่าง หน่วยเป็นลูเมนซ์ A = พื้นที่ฉาก แม่สีของแสงสีปฐมภูมิ คือ แดง เขียว น้าเงิน แม่สีของสารสีปฐมภูมิ คือ แดงม่วง เหลือง น้าเงินเขียว