SlideShare a Scribd company logo
วิสัยทัศน์ไอที วิถีธุรกิจ โดย ม.ล. ลือศักดิ์ จักรพันธุ์
IT Vision - Business Mission by M.L. Luesak Chakrabandhu
luesak@chakrabandhu.com http://www.luesak.com http://slideshare.net/luesak
ม.ล. ลือศักดิ์ จักรพันธุ์
กรรมการสมาคมสมาพันธ์โอเพนซอร์สแห่งประเทศไทย นักพัฒนาองค์กร และ ผู้บริหาร
ระดับสูง ที่มีประสบการณ์กว่า 15 ปี ด้านการวางระบบ ให้คำาปรึกษา และพัฒนาบุคลกร
ด้านพัฒนาธุรกิจและการใช้เทคโนโลยีเพื่อสร้างคุณค่าและปรับปรุงกระบวนการทางธุรกิจ

ความสำาคัญของ Open Standards
ความเข้าใจและการเห็นความสำาคัญของมาตรฐานเปิดหรือ Open Standards เป็นเรื่องที่ขาดไม่ได้ในองค์กรไม่วา
่
จะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน หรือ ภาคประชาชน ทั้งนี้เพราะการถูกจำากัดอิสรภาพในการพัฒนาองค์กรจากการต้องถูก
ผูกมัดโดยผู้ขายสินค้าหรือผูให้บริการเพียงไม่กี่รายย่อมปิดกั้นการเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันให้ทดเทียมกับ
้
ั
คู่แข่งทั้งภายในและภายนอกประเทศ
Open Standards มีความสำาคัญทัวทั้งองค์กรไม่เพียงแต่ในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเท่านั้น อีกทั้งยังมีบทบาท
่
ต่อองค์กรและผู้คนมาอย่างยาวนานจนกลายเป็นความคุ้นเคยที่อาจถูกมองข้ามไป เรามีรถยนต์ที่สามารถวิ่งได้แม้ยางล้อทุ
ล้อจะมาจากผู้ผลิตที่แตกต่างกัน ไฟฉายที่เรามีเปิดติดให้แสงสว่างได้ไม่วาจะใส่ถ่านยี่ห้ออะไร กระดาษขนาด A4 ที่ใช้กัน
่
อยู่นำาไปใช้กับแฟ้ม เครื่องพิมพ์ เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องสแกนเนอร์ หรือแม้แต่เครื่องทำาลายเอกสารใดๆก็ได้ทั่วโลก และ
ในการสื่อสารกันทัวโลก รหัสประเทศ หรือ country code ได้ถูกกำาหนดให้เป็นมาตรฐาน (Country Codes - ISO
่
3166) นำามาซึ่งความถูกต้องในการแลกเปลี่ยนข้อมูลและประสิทธิภาพในการสือสารที่สูงขึ้นอย่างมาก
่
แต่เราเคยตั้งคำาถามหรือไม่ว่าสินค้าไอทีมากมายที่เราเสียงบลงทุนจัดซื้อจัดหาเข้ามาใช้ในองค์กร บ่อยครั้งกลับมี
ปัญหาในการใช้งานร่วมกัน เช่น ไฟล์จากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นกลับไม่สามารถเปิดใช้งานหรือทำางานได้อย่างไม่
สมบูรณ์แบบในเครื่องคอมพิวเตอร์ทต่างผู้ผลิตและต่างระบบปฏิบัติการกัน โทรศัพท์มือถือบางยี่ห้อบังคับผู้ซื้อให้ต้องใช้
ี่
อุปกรณ์ต่อพ่วงที่มีราคาสูงกว่า หรือการต้องเตรียมงบประมาณจำานวนมากเพื่อเชื่อมต่อซอฟต์แวร์ที่จดหามาใหม่เข้ากับ
ั
ระบบซอฟต์แวร์ที่มีอยู่เดิม เป็นต้น สิ่งต่างๆเหล่านี้แสดงให้เห็นการถูกจำากัดสิทธิที่มีอยู่ทวไปซึ่งนำาไปสู่การเสียโอกาสทาง
ั่
ธุรกิจ
ในด้านไอที การจ่ายค่าซอฟต์แวร์หรือที่เรียกว่าค่า license ของ “ซอฟต์แวร์กรรมสิทธิ์” หรือ “proprietary
software” มักจะเป็นภาระค่าใช้จายทีไม่มีความจำาเป็นหรือมีราคาที่สูงเกินไป ซึ่งผู้ซื้อซอฟต์แวร์ประเภทนี้จะถูกจำากัด
่ ่
สิทธิในการใช้งานและทำาซำ้า หรือสงวนสิทธิ์ไว้โดยเจ้าของซอฟต์แวร์หรือผู้จัดทำามิให้ผู้อื่นสามารถทำาการพัฒนาต่อยอดใดๆ
์
ได้นอกจากได้รับอนุญาตจากเจ้าของ ดังนั้นหากขาดการยึดถือ Open Standards การนำาซอฟต์แวร์ที่เป็น proprietary
มาใช้ยอมจะเพิ่มความเสี่ยงในการนำามาใช้งานและการพัฒนาซอฟต์แวร์ดังกล่าวให้เข้ากันได้ดีกับสิ่งที่มีอยู่เดิมในองค์กร
่
และอาจถึงขั้นเป็นอุปสรรคในการเชื่อมต่อกระบวนการกับลูกค้าและองค์กรภายนอก
Open Standards มีบทบาทสำาคัญทางไอทีและระบบงานในการเชื่อมโยงบูรณาการแอพพลิเคชั่น (Application
Integration) ต่างๆเข้าด้วยกันเพื่อเพิ่มขีดความสามารถและเสริมสร้างประสิทธิภาพในการทำางาน งานด้านการบูรณาการ
อันมีความซับซ้อนและละเอียดอ่อนมากเหล่านี้จะยิ่งทวีความยุ่งยากหากขาดการรักษาวินัยของการใช้ “มาตรฐานเปิด” ซึ่ง
มีต้องลงละเอียดเป็นหมวดย่อยดังต่อไปนี้
• Format Standards คือการทำาให้ไฟล์ องค์ประกอบ และผลลัพท์ตางๆของระบบไอที มีรูปแบบที่สามารถใช้งาน
่
ร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพในทุกระบบที่เกี่ยวข้อง ไม่เกิดปัญหาการกีดกันจำากัดรูปแบบในการแลกเปลี่ยน
ข้อมูล (Data) และสารสนเทศ (Information)
• Service Standards คือการที่ระบบ application มีมาตรฐานเปิดร่วมกันและสามารถเรียกใช้บริการกันได้แม้วา
่
จะเป็นผู้ผลิตซอฟต์แวร์คนละค่าย หรือเป็นการใช้งานร่วมกับ application ที่เขียนขึ้นเองในองค์กร โดยยึดถือ
หลักการที่สำาคัญว่า “ระบบงานทุกระบบจะต้องเป็นผู้ให้บริการที่ดีแก่ระบบอื่นอย่างเท่าเทียมกัน”
• Orchestration Standards คือการมีมาตรฐานที่เป็นอิสระในการออกแบบเชื่อมโยงกระบวนการและเทคโนโลยีที่
เกี่ยวข้องทั้งหมดไม่วาจะอยู่ภายในหรือภายนอกองค์กรได้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิภาพ มีความซำ้าซ้อนน้อย และมี
่
ความยืดหยุ่นเพียงพอทีจะปกป้องการลงทุนพัฒนาที่ได้ดำาเนินการไปแล้วในระยะยาว
่
คุณค่าของ Open Standards นั้นเปิดที่ยอมรับในระดับสากลจากการที่เป็นคุณสมบัติสำาคัญในการนำาพาธุรกิจให้
ก้าวหน้าและเติบโตอย่างยั่งยืนอย่างเป็นรูปธรรม ดังทีจะแสดงต่อไปนี้
่
Improve Vendor Independence
ความเป็นอิสระจากผู้ขายและยี่ห้อของเทคโนโลยีทจำากัดเป็นสิ่งที่มีความสำาคัญอย่างยิ่งต่ออนาคตของธุรกิจ
ี่
องค์กรที่มีประสบการณ์และมองการไกลย่อมรู้ซึ้งถึงความร้ายแรงของสถานการณ์ถูกล็อคตัว “Vendor Lock In” (หรือที่
รู้จกกันในอีกชื่อว่า Proprietary Lock In) ซึ่งเป็นตัวปิดกั้นการพัฒนาและทำาให้สูญเสียขีดความสามารถในการแข่งขัน
ั
โอกาสทางธุรกิจที่ควรจะก่อเกิดประโยชน์ได้กลับถูกบดบังด้วยความไม่คุ้มค่าในการลงทุนด้านระบบ ทั้งนี้เพราะเมื่อถูก
ผูกมัดแล้วองค์กรมักจะถูกบีบให้ตัดสินใจในการ “ลงทุนปลดล็อค” ซึ่งบ่อยครั้งก็จะเกิดกระบวนการ “rip-and-replace”
เพื่อปรับปรุงยกเครื่องขนานใหญ่อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
สิ่งที่เป็นอันตรายที่สุดเมื่อเกิด Vendor Lock In อย่างยาวนานคือบุคลากรภายในองค์กรเริ่มเกิดความเคยชินกับ
เทคโนโลยีและการบริการจากผู้ขายเพียงไม่กราย และพวกเขาจะขาดความเอาใจใส่ในการหาความรู้ที่แท้จริงแต่จะอาศัย
ี่
การพึ่งพาข้อมูลด้านเดียวจากผู้ขายเป็นตัวตั้งซึ่งถือเป็นความเสี่ยงอย่างมากทางธุรกิจและเป็นการกัดกร่อนทำาลาย
วัฒนธรรมองค์กรแห่งการเรียนรู้ บุคลากรที่ผกตัวเองติดกับผู้ขายและปฏิเสธมาตรฐานเปิดจะมีความรู้ความชำานาญทีจำากัด
ู
่
และไม่รอบด้าน ดังนั้นพวกเขาจึงรับความเสี่ยงในอาชีพจากการมีขีดจำากัดในการปรับตัวให้ทันความเปลี่ยนแปลงทาง
เทคโนโลยีไว้โดยไม่รตัว
ู้
Increase Vendor Choice & Decrease Vendor Cost
Open Standards เพิ่มทั้งจำานวนและความหลากหลายของผู้ขาย การจากที่ตลาดมีมาตรฐานที่ดีจะช่วยเกื้อหนุน
ให้เกิดผู้ขายและผู้ให้บริการรายใหม่ได้อย่างต่อเนื่องซึ่งถือเป็นปัจจัยสำาคัญในการให้กำาเนิดบริการและ solution ใหม่ๆ
ด้านไอที อันอาจจะเป็นตัวเลือกในการตอบโจทย์ทางธุรกิจใหม่ๆที่ต้องการนวัตกรรมในการสร้าง business capability ที่
แตกต่างไป ทั้งนี้เพราะ Open Standards ขับเคลื่อนการพัฒนาต่อย่อยอดของ vendor และ developer อย่างเป็นรูป
ธรรม ส่งผลให้นวัตกรรมเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ในฝั่งผู้ให้บริการเองก็จะมีการพัฒนาประสิทธิภาพและลดต้นทุนด้านบริการ
และ ด้าน R&D อย่างต่อเนื่อง
Optimize Options & Improve Return on Investment (ROI)
การมีทางเลือกที่มากกว่าในการสร้างประโยชน์ให้สูงสุดเป็นคุณค่าสำาคัญของ Open Standards เพราะการถูกปิด
กั้นหรือผูกมัดไม่ให้มีตัวเลือกย่อมทั้งบั่นทอนขีดความสามารถในการแข่งขันและทำาให้เงินลงทุนเพิ่มขึ้นจากอำานาจต่อรอง
ในการซื้อที่ลดลง บ่อยครั้งการ “ถูกบังคับให้เลือกผิด” จากการมีตัวเลือกที่น้อยกว่าคู่แข่งขันทำาให้เกิดความเสียเปรียบถึง
ขั้นที่ “รู้ผลแพ้ชนะตั้งแต่ยังไม่ได้เริ่มแข่ง”
การเพิ่มขึ้นของ ROI นอกจากจะเกิดจากการลงทุนเกี่ยวกับระบบและการบริการที่ลดลงแล้วยังสามารถเกิดจาก
การได้ผลลัพท์หรือคุณค่าทางธุรกิจทีรวดเร็วขึ้นจากการพัฒนาระบบที่อ้างอิง Open Standards ซึ่งจะเปิดโอกาสให้
่
องค์กรสามารถวางแผนและหยิบฉวย IT solution ที่มีความสมบูรณ์หรือสำาเร็จรูปมาใช้ได้โดยง่าย
Reduced Risk
Open Standards เพิ่มโอกาสในการลดความเสี่ยงอย่างมีนัยสำาคัญ เพราะการที่ตองถูกผูกติดกับสินค้าหรือ
้
บริการอย่างใดอย่างหนึ่งหรือเพียงไม่กี่ยี่ห้อย่อมทำาให้มีความเสี่ยงอย่างมาก ในระยะยาวเมื่อเวลาผ่านไปหลายปีผู้ขายและ
ผู้ให้บริการที่เคยประสบความสำาเร็จอาจอ่อนแอและด้อยขีดความสามารถลงหรือถึงขั้นต้องเลิกกิจการไป การโดนผูกมัด
ทางเทคนิคย่อมทำาให้องค์กรแบกรับความเสี่ยงไว้อยากหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้นการยึดถือมาตรฐานเปิดจึงเป็นวินัยอันสำาคัญ
ในการประกันความมั่นคงในระยะยาวแก่องค์กร ทั้งในแง่การจัดการภายในอันได้แก่การใช้งานเทคโนโลยีและดูแลระบบให้
มีประสิทธิภาพและความยืดหยุ่น และในแง่ของการบริการทีดีอย่างต่อเนื่องต่อลูกค้าโดยสร้างภูมิคุ้มกันไม่ให้เกิดผลกระทบ
่
ในทางลบต่อความพึงพอใจของลูกค้าจากการพัฒนาระบบที่ยุ่งยากและเต็มไปด้วยข้อผูกมัด
นอกจากนี้การลดความเสี่ยงขององค์กรจากการยึดถือ Open Standards ยังสามารถเกิดขึ้นจากการมี
repeatability ที่สูงขึ้นอย่างมาก ทั้งนี้เพราะบนมาตรฐานเปิดในการพัฒนาระบบ องค์กรสามารถดำาเนินแนวทางการ
พัฒนาที่ประสบความสำาเร็จเดิมที่เคยมี และนำาส่วนประกอบของระบบงานต่างๆที่ใช้งานได้ดีอยู่แล้วมาใช้ซำ้าได้โดยไม่ต้อง
สิ้นเปลืองและเสี่ยงถูกบังคับให้ต้องใช้งานสิ่งที่พัฒนาขึ้นใหม่ที่ยังไม่ผ่านการทดสอบมากพอ
Durability
ความทนทานต่อการแสวงประโยชน์ทางธุรกิจของผู้ผลิตและผู้ให้บริการด้านไอทีเป็นคุณประโยชน์สำาคัญของ
Open Standards ทั้งนี้เพราะนอกจากผู้ขายที่นิยม proprietary จะพยายามผูกมัดลูกค้าด้วยข้อจำากัดทางเทคนิคต่างๆ
แล้ว พวกเขายังมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนแปลงระบบและการใช้งานต่างๆเพือให้ลูกค้าเสียความสะดวกในการใช้งานสินค้าและ
่
บริการของคู่แข่ง องค์กรและบุคคลที่เป็นลูกค้าจึงถูกกดดันให้ต้องพบกับ “ความเปลี่ยนแปลงที่ไม่จำาเป็น” อยู่เสมอ การ
ยึดถือมาตรฐานเปิดโดยทัวไปจะไม่เป็นอุปสรรคต่อการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับนวัตกรรมใหม่ๆทั้งนี้เพราะ Open
่
Standards ใหม่ๆจะเกิดขึ้นมาทดแทนมาตรฐานเดิมและช่วยลดแรงกดดันด้านการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสม
โดยยึดถือผลประโยชน์ของผู้ขายบางราย
Flexibility
ความยืดหยุ่นในการใช้เทคโนโลยีที่หลากหลายทีรองรับบนมาตรฐานเปิดส่งผลให้องค์กรสามารถผสมผสานตัว
่
เลือกที่ดีที่สดหลายๆตัวเข้าด้วยกันได้โดยไม่มีความเสี่ยงในเชิง integration ความยืดหยุ่นในลักษณะดังกล่าวนำาไปสู่โอกาส
ุ
ที่ดีทองค์กรจะได้สร้างคุณค่าเพิ่มและลดต้นทุนจากการเพิ่มสัดส่วนการใช้ Open Source Software ซึ่งให้ Return on
ี่
Investment ที่สูงกว่า
นอกจากนั้นการออกแบบระบบให้รองรับมาตรฐานเปิดยังเป็นการเพิ่มความยืดหยุ่นในการพัฒนาระบบอย่างมาก
เนื่องจากเป็นการเปิดโอกาสให้องค์กรสามารถเลือกใช้ผู้ให้บริการได้หลายรายในโครงการพัฒนาระบบขนาดใหญ่ อีกทั้งยัง
เป็นการเปิดกว้างให้องค์กรสามารถเลือกใช้งานผู้ให้บริการทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ที่มีความน่าเชื่อถือและมีมาตรฐาน
การให้บริการทีดีจากทั่วโลก และที่สำาคัญ การยึดถือมาตรฐานเปิดอย่างต่อเนื่องจะส่งเสริมการสะสมองค์ความรู้ของ
่
บุคลากรภายในองค์กรในไปสู่ความยืดหยุ่นในการบริหารจัดการเทคโนโลยี การบริหารโครงการ และการดูแลระบบงานที่
ได้สร้างขึ้นได้ในระยะยาว
Quality
คุณภาพในเชิงไอทีหมายความถึงระดับการส่งมอบสินค้าบริการได้ตรงตามความต้องการหรือ requirements ทาง
ธุรกิจ Open Standards จะเป็นตัวเร่งให้เกิดคุณภาพในการส่งมอบงานด้านไอทีเนื่องจากผู้ซื้อจะมีมาตรฐานให้ยึดถือเป็น
แนวทาง ทำาให้การวางแผนมีประสิทธิภาพและมีความผิดพลาดน้อยลงอย่างมีนัยสำาคัญ อีกทั้งการเปรียบเทียบกันและ
แข่งขันกันอย่างมีมาตรฐานระหว่างผู้ขายและผู้ให้บริการจะสร้างวัฒนธรรมที่ดีในการส่งมอบงานที่มีคุณภาพสูง การแข่งขัน
เพื่อการให้บริการทีดีจะทำาให้คุณภาพโดยรวมดีขึ้นจากการที่ switching costs ในการเปลี่ยนผู้ขายลดลง พวกเขาจะมี
่
ความมุ่งมั่นในการพัฒนาคุณภาพงานอย่างเป็นรูปธรรมทั้งในด้านคุณสมบัติการใช้งาน ด้านขีดความสามารถของระบบ
ด้านความปลอดภัย และด้านอื่นๆ
Improve Interoperability and Integration
การใช้งานร่วมกันได้เป็นอย่างดีระหว่างองค์ประกอบหรือ components ต่างๆในระบบงานมีความสำาคัญต่อ
องค์กรในการให้บริการทีดีแก่ลูกค้าทั้งภายในและภายนอกรวมถึงการเชื่อมต่อระบบกับคู่ค้า การไม่ยึดถือ Open
่
Standards อาจส่งผลกระทบให้องค์กรไม่สามารถสร้างระบบงานที่มีประสิทธิภาพ เช่น กระบวนการอัตโนมัติ
(automated processes) ต่างๆได้
Open Standards ช่วยให้การบูรณาการเชื่อมต่อระบบเกิดขึ้นได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว ทั้งนี้เพราะมีตวเลือกที่
ั
มีผู้ใช้งานประสบความสำาเร็จเป็น success case จำานวนมาก อีกทั้งมีระบบซอฟต์แวร์มากมายที่สามารถนำามาติดตั้งใช้งาน
ได้ทันทีในสไตล์ “Plug-and-Play” ดังนั้นหากองค์กรมีความจริงจังในการหาข้อมูลให้เพียงพอและรู้จักใช้บริการของผู้ให้
บริการและที่ปรึกษาที่มีความเชี่ยวชาญ องค์กรสามารถวางแผนการพัฒนาและเชื่อมโยงระบบงานขนาดใหญ่ทั่วทั้งองค์กร
ในระยะยาวได้อย่างรอบคอบมีประสิทธิภาพ
โดยสรุปอาจกล่าวได้วาองค์กรที่ไม่ยึดถือ Open Standards เป็นนโยบายสำาคัญจะมีความเสียเปรียบในการ
่
พัฒนาองค์กรและการตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าอย่างมากทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ดังนั้นผู้บริหารและ
เจ้าของกิจการจึงควรเร่งขับเคลื่อนนโยบายดังกล่าวอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง ก่อนที่จะถลำาลึกเข้าสู่การถูกผูกมัดโดยผู้ขาย
และการทำาลายวัฒนธรรมองค์กรแห่งการเรียนรู้และพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน
อ้างอิง
Erik Sliman: Business Case for Open Standards, [cited 16-SEP-2012] Available from:
http://www.openstandards.net/viewOSnet1C.jsp?showModuleName=businessCaseForOpenStandards
บทความนี้อนุญาตให้เผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการ
ค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน (Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 1.0
Generic (CC BY-NC-SA 1.0))

More Related Content

Similar to วิสัยทัศน์ไอที วิถีธุรกิจ - ความสําคัญของ Open Standards

Present ส.ล.โฮลเซลล์
Present ส.ล.โฮลเซลล์Present ส.ล.โฮลเซลล์
Present ส.ล.โฮลเซลล์
Ratchapong Horchairat
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
DrDanai Thienphut
 
Strategic Human Resource Management
Strategic Human Resource Management Strategic Human Resource Management
Strategic Human Resource Management
Punyapon Tepprasit
 
Network management การบริหารเครือข่ายการค้าสู่ความสำเร็จ
Network management การบริหารเครือข่ายการค้าสู่ความสำเร็จNetwork management การบริหารเครือข่ายการค้าสู่ความสำเร็จ
Network management การบริหารเครือข่ายการค้าสู่ความสำเร็จ
Weera Chearanaipanit
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Plan
innoobecgoth
 
(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur
(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur
(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur
torprae
 
Chapter1 kc
Chapter1 kcChapter1 kc
Chapter1 kc
Wanwisate Promwong
 
Punyawee Pos Internship 2015 (Software Engineering JAVA DEV at parliament-de...
Punyawee Pos Internship 2015 (Software Engineering JAVA DEV at  parliament-de...Punyawee Pos Internship 2015 (Software Engineering JAVA DEV at  parliament-de...
Punyawee Pos Internship 2015 (Software Engineering JAVA DEV at parliament-de...
PunyaweePosri1
 
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) 1
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) 1โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) 1
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) 1
Sasichay Sritep
 
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ Km
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ Kmโมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ Km
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ Km
Sasichay Sritep
 
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
sasichay
 
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Napin Yeamprayunsawasd
 
Presentation Km1
Presentation Km1Presentation Km1
Presentation Km1guest91dee6
 
กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder
กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder
กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder
maruay songtanin
 
Ch2-M1-Introduction to Information Technology
Ch2-M1-Introduction to Information TechnologyCh2-M1-Introduction to Information Technology
Ch2-M1-Introduction to Information Technology
ธนาพัฒน์ ลิ้มสายพรหม
 
การจัดการความรู้ KMUTNB #3
การจัดการความรู้ KMUTNB #3การจัดการความรู้ KMUTNB #3
การจัดการความรู้ KMUTNB #3
Prachyanun Nilsook
 

Similar to วิสัยทัศน์ไอที วิถีธุรกิจ - ความสําคัญของ Open Standards (20)

Present ส.ล.โฮลเซลล์
Present ส.ล.โฮลเซลล์Present ส.ล.โฮลเซลล์
Present ส.ล.โฮลเซลล์
 
Planning with PDCA
Planning with PDCAPlanning with PDCA
Planning with PDCA
 
Strategic Human Resource Management
Strategic Human Resource Management Strategic Human Resource Management
Strategic Human Resource Management
 
Network management การบริหารเครือข่ายการค้าสู่ความสำเร็จ
Network management การบริหารเครือข่ายการค้าสู่ความสำเร็จNetwork management การบริหารเครือข่ายการค้าสู่ความสำเร็จ
Network management การบริหารเครือข่ายการค้าสู่ความสำเร็จ
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Plan
 
(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur
(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur
(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur
 
2.budgeting&project management by kanniga
2.budgeting&project management by kanniga2.budgeting&project management by kanniga
2.budgeting&project management by kanniga
 
Chapter1 kc
Chapter1 kcChapter1 kc
Chapter1 kc
 
Punyawee Pos Internship 2015 (Software Engineering JAVA DEV at parliament-de...
Punyawee Pos Internship 2015 (Software Engineering JAVA DEV at  parliament-de...Punyawee Pos Internship 2015 (Software Engineering JAVA DEV at  parliament-de...
Punyawee Pos Internship 2015 (Software Engineering JAVA DEV at parliament-de...
 
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) 1
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) 1โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) 1
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) 1
 
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ Km
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ Kmโมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ Km
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ Km
 
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km) โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
โมเดลและทฤษฎีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้ (Km)
 
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
 
Presentation Km1
Presentation Km1Presentation Km1
Presentation Km1
 
2554 puket sopapun
2554 puket sopapun2554 puket sopapun
2554 puket sopapun
 
B2B_Brochure_240316_15.51
B2B_Brochure_240316_15.51B2B_Brochure_240316_15.51
B2B_Brochure_240316_15.51
 
กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder
กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder
กรอบความเป็นเลิศ 2015-2016 Baldrige excellence builder
 
Ch2-M1-Introduction to Information Technology
Ch2-M1-Introduction to Information TechnologyCh2-M1-Introduction to Information Technology
Ch2-M1-Introduction to Information Technology
 
การจัดการความรู้ KMUTNB #3
การจัดการความรู้ KMUTNB #3การจัดการความรู้ KMUTNB #3
การจัดการความรู้ KMUTNB #3
 
Km16-17
Km16-17Km16-17
Km16-17
 

วิสัยทัศน์ไอที วิถีธุรกิจ - ความสําคัญของ Open Standards

  • 1. วิสัยทัศน์ไอที วิถีธุรกิจ โดย ม.ล. ลือศักดิ์ จักรพันธุ์ IT Vision - Business Mission by M.L. Luesak Chakrabandhu luesak@chakrabandhu.com http://www.luesak.com http://slideshare.net/luesak ม.ล. ลือศักดิ์ จักรพันธุ์ กรรมการสมาคมสมาพันธ์โอเพนซอร์สแห่งประเทศไทย นักพัฒนาองค์กร และ ผู้บริหาร ระดับสูง ที่มีประสบการณ์กว่า 15 ปี ด้านการวางระบบ ให้คำาปรึกษา และพัฒนาบุคลกร ด้านพัฒนาธุรกิจและการใช้เทคโนโลยีเพื่อสร้างคุณค่าและปรับปรุงกระบวนการทางธุรกิจ ความสำาคัญของ Open Standards ความเข้าใจและการเห็นความสำาคัญของมาตรฐานเปิดหรือ Open Standards เป็นเรื่องที่ขาดไม่ได้ในองค์กรไม่วา ่ จะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน หรือ ภาคประชาชน ทั้งนี้เพราะการถูกจำากัดอิสรภาพในการพัฒนาองค์กรจากการต้องถูก ผูกมัดโดยผู้ขายสินค้าหรือผูให้บริการเพียงไม่กี่รายย่อมปิดกั้นการเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันให้ทดเทียมกับ ้ ั คู่แข่งทั้งภายในและภายนอกประเทศ Open Standards มีความสำาคัญทัวทั้งองค์กรไม่เพียงแต่ในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเท่านั้น อีกทั้งยังมีบทบาท ่ ต่อองค์กรและผู้คนมาอย่างยาวนานจนกลายเป็นความคุ้นเคยที่อาจถูกมองข้ามไป เรามีรถยนต์ที่สามารถวิ่งได้แม้ยางล้อทุ ล้อจะมาจากผู้ผลิตที่แตกต่างกัน ไฟฉายที่เรามีเปิดติดให้แสงสว่างได้ไม่วาจะใส่ถ่านยี่ห้ออะไร กระดาษขนาด A4 ที่ใช้กัน ่ อยู่นำาไปใช้กับแฟ้ม เครื่องพิมพ์ เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องสแกนเนอร์ หรือแม้แต่เครื่องทำาลายเอกสารใดๆก็ได้ทั่วโลก และ ในการสื่อสารกันทัวโลก รหัสประเทศ หรือ country code ได้ถูกกำาหนดให้เป็นมาตรฐาน (Country Codes - ISO ่ 3166) นำามาซึ่งความถูกต้องในการแลกเปลี่ยนข้อมูลและประสิทธิภาพในการสือสารที่สูงขึ้นอย่างมาก ่ แต่เราเคยตั้งคำาถามหรือไม่ว่าสินค้าไอทีมากมายที่เราเสียงบลงทุนจัดซื้อจัดหาเข้ามาใช้ในองค์กร บ่อยครั้งกลับมี ปัญหาในการใช้งานร่วมกัน เช่น ไฟล์จากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นกลับไม่สามารถเปิดใช้งานหรือทำางานได้อย่างไม่ สมบูรณ์แบบในเครื่องคอมพิวเตอร์ทต่างผู้ผลิตและต่างระบบปฏิบัติการกัน โทรศัพท์มือถือบางยี่ห้อบังคับผู้ซื้อให้ต้องใช้ ี่ อุปกรณ์ต่อพ่วงที่มีราคาสูงกว่า หรือการต้องเตรียมงบประมาณจำานวนมากเพื่อเชื่อมต่อซอฟต์แวร์ที่จดหามาใหม่เข้ากับ ั ระบบซอฟต์แวร์ที่มีอยู่เดิม เป็นต้น สิ่งต่างๆเหล่านี้แสดงให้เห็นการถูกจำากัดสิทธิที่มีอยู่ทวไปซึ่งนำาไปสู่การเสียโอกาสทาง ั่ ธุรกิจ ในด้านไอที การจ่ายค่าซอฟต์แวร์หรือที่เรียกว่าค่า license ของ “ซอฟต์แวร์กรรมสิทธิ์” หรือ “proprietary software” มักจะเป็นภาระค่าใช้จายทีไม่มีความจำาเป็นหรือมีราคาที่สูงเกินไป ซึ่งผู้ซื้อซอฟต์แวร์ประเภทนี้จะถูกจำากัด ่ ่
  • 2. สิทธิในการใช้งานและทำาซำ้า หรือสงวนสิทธิ์ไว้โดยเจ้าของซอฟต์แวร์หรือผู้จัดทำามิให้ผู้อื่นสามารถทำาการพัฒนาต่อยอดใดๆ ์ ได้นอกจากได้รับอนุญาตจากเจ้าของ ดังนั้นหากขาดการยึดถือ Open Standards การนำาซอฟต์แวร์ที่เป็น proprietary มาใช้ยอมจะเพิ่มความเสี่ยงในการนำามาใช้งานและการพัฒนาซอฟต์แวร์ดังกล่าวให้เข้ากันได้ดีกับสิ่งที่มีอยู่เดิมในองค์กร ่ และอาจถึงขั้นเป็นอุปสรรคในการเชื่อมต่อกระบวนการกับลูกค้าและองค์กรภายนอก Open Standards มีบทบาทสำาคัญทางไอทีและระบบงานในการเชื่อมโยงบูรณาการแอพพลิเคชั่น (Application Integration) ต่างๆเข้าด้วยกันเพื่อเพิ่มขีดความสามารถและเสริมสร้างประสิทธิภาพในการทำางาน งานด้านการบูรณาการ อันมีความซับซ้อนและละเอียดอ่อนมากเหล่านี้จะยิ่งทวีความยุ่งยากหากขาดการรักษาวินัยของการใช้ “มาตรฐานเปิด” ซึ่ง มีต้องลงละเอียดเป็นหมวดย่อยดังต่อไปนี้ • Format Standards คือการทำาให้ไฟล์ องค์ประกอบ และผลลัพท์ตางๆของระบบไอที มีรูปแบบที่สามารถใช้งาน ่ ร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพในทุกระบบที่เกี่ยวข้อง ไม่เกิดปัญหาการกีดกันจำากัดรูปแบบในการแลกเปลี่ยน ข้อมูล (Data) และสารสนเทศ (Information) • Service Standards คือการที่ระบบ application มีมาตรฐานเปิดร่วมกันและสามารถเรียกใช้บริการกันได้แม้วา ่ จะเป็นผู้ผลิตซอฟต์แวร์คนละค่าย หรือเป็นการใช้งานร่วมกับ application ที่เขียนขึ้นเองในองค์กร โดยยึดถือ หลักการที่สำาคัญว่า “ระบบงานทุกระบบจะต้องเป็นผู้ให้บริการที่ดีแก่ระบบอื่นอย่างเท่าเทียมกัน” • Orchestration Standards คือการมีมาตรฐานที่เป็นอิสระในการออกแบบเชื่อมโยงกระบวนการและเทคโนโลยีที่ เกี่ยวข้องทั้งหมดไม่วาจะอยู่ภายในหรือภายนอกองค์กรได้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิภาพ มีความซำ้าซ้อนน้อย และมี ่ ความยืดหยุ่นเพียงพอทีจะปกป้องการลงทุนพัฒนาที่ได้ดำาเนินการไปแล้วในระยะยาว ่ คุณค่าของ Open Standards นั้นเปิดที่ยอมรับในระดับสากลจากการที่เป็นคุณสมบัติสำาคัญในการนำาพาธุรกิจให้ ก้าวหน้าและเติบโตอย่างยั่งยืนอย่างเป็นรูปธรรม ดังทีจะแสดงต่อไปนี้ ่ Improve Vendor Independence ความเป็นอิสระจากผู้ขายและยี่ห้อของเทคโนโลยีทจำากัดเป็นสิ่งที่มีความสำาคัญอย่างยิ่งต่ออนาคตของธุรกิจ ี่ องค์กรที่มีประสบการณ์และมองการไกลย่อมรู้ซึ้งถึงความร้ายแรงของสถานการณ์ถูกล็อคตัว “Vendor Lock In” (หรือที่ รู้จกกันในอีกชื่อว่า Proprietary Lock In) ซึ่งเป็นตัวปิดกั้นการพัฒนาและทำาให้สูญเสียขีดความสามารถในการแข่งขัน ั โอกาสทางธุรกิจที่ควรจะก่อเกิดประโยชน์ได้กลับถูกบดบังด้วยความไม่คุ้มค่าในการลงทุนด้านระบบ ทั้งนี้เพราะเมื่อถูก ผูกมัดแล้วองค์กรมักจะถูกบีบให้ตัดสินใจในการ “ลงทุนปลดล็อค” ซึ่งบ่อยครั้งก็จะเกิดกระบวนการ “rip-and-replace” เพื่อปรับปรุงยกเครื่องขนานใหญ่อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ สิ่งที่เป็นอันตรายที่สุดเมื่อเกิด Vendor Lock In อย่างยาวนานคือบุคลากรภายในองค์กรเริ่มเกิดความเคยชินกับ เทคโนโลยีและการบริการจากผู้ขายเพียงไม่กราย และพวกเขาจะขาดความเอาใจใส่ในการหาความรู้ที่แท้จริงแต่จะอาศัย ี่ การพึ่งพาข้อมูลด้านเดียวจากผู้ขายเป็นตัวตั้งซึ่งถือเป็นความเสี่ยงอย่างมากทางธุรกิจและเป็นการกัดกร่อนทำาลาย
  • 3. วัฒนธรรมองค์กรแห่งการเรียนรู้ บุคลากรที่ผกตัวเองติดกับผู้ขายและปฏิเสธมาตรฐานเปิดจะมีความรู้ความชำานาญทีจำากัด ู ่ และไม่รอบด้าน ดังนั้นพวกเขาจึงรับความเสี่ยงในอาชีพจากการมีขีดจำากัดในการปรับตัวให้ทันความเปลี่ยนแปลงทาง เทคโนโลยีไว้โดยไม่รตัว ู้ Increase Vendor Choice & Decrease Vendor Cost Open Standards เพิ่มทั้งจำานวนและความหลากหลายของผู้ขาย การจากที่ตลาดมีมาตรฐานที่ดีจะช่วยเกื้อหนุน ให้เกิดผู้ขายและผู้ให้บริการรายใหม่ได้อย่างต่อเนื่องซึ่งถือเป็นปัจจัยสำาคัญในการให้กำาเนิดบริการและ solution ใหม่ๆ ด้านไอที อันอาจจะเป็นตัวเลือกในการตอบโจทย์ทางธุรกิจใหม่ๆที่ต้องการนวัตกรรมในการสร้าง business capability ที่ แตกต่างไป ทั้งนี้เพราะ Open Standards ขับเคลื่อนการพัฒนาต่อย่อยอดของ vendor และ developer อย่างเป็นรูป ธรรม ส่งผลให้นวัตกรรมเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ในฝั่งผู้ให้บริการเองก็จะมีการพัฒนาประสิทธิภาพและลดต้นทุนด้านบริการ และ ด้าน R&D อย่างต่อเนื่อง Optimize Options & Improve Return on Investment (ROI) การมีทางเลือกที่มากกว่าในการสร้างประโยชน์ให้สูงสุดเป็นคุณค่าสำาคัญของ Open Standards เพราะการถูกปิด กั้นหรือผูกมัดไม่ให้มีตัวเลือกย่อมทั้งบั่นทอนขีดความสามารถในการแข่งขันและทำาให้เงินลงทุนเพิ่มขึ้นจากอำานาจต่อรอง ในการซื้อที่ลดลง บ่อยครั้งการ “ถูกบังคับให้เลือกผิด” จากการมีตัวเลือกที่น้อยกว่าคู่แข่งขันทำาให้เกิดความเสียเปรียบถึง ขั้นที่ “รู้ผลแพ้ชนะตั้งแต่ยังไม่ได้เริ่มแข่ง” การเพิ่มขึ้นของ ROI นอกจากจะเกิดจากการลงทุนเกี่ยวกับระบบและการบริการที่ลดลงแล้วยังสามารถเกิดจาก การได้ผลลัพท์หรือคุณค่าทางธุรกิจทีรวดเร็วขึ้นจากการพัฒนาระบบที่อ้างอิง Open Standards ซึ่งจะเปิดโอกาสให้ ่ องค์กรสามารถวางแผนและหยิบฉวย IT solution ที่มีความสมบูรณ์หรือสำาเร็จรูปมาใช้ได้โดยง่าย Reduced Risk Open Standards เพิ่มโอกาสในการลดความเสี่ยงอย่างมีนัยสำาคัญ เพราะการที่ตองถูกผูกติดกับสินค้าหรือ ้ บริการอย่างใดอย่างหนึ่งหรือเพียงไม่กี่ยี่ห้อย่อมทำาให้มีความเสี่ยงอย่างมาก ในระยะยาวเมื่อเวลาผ่านไปหลายปีผู้ขายและ ผู้ให้บริการที่เคยประสบความสำาเร็จอาจอ่อนแอและด้อยขีดความสามารถลงหรือถึงขั้นต้องเลิกกิจการไป การโดนผูกมัด ทางเทคนิคย่อมทำาให้องค์กรแบกรับความเสี่ยงไว้อยากหลีกเลี่ยงไม่ได้ ดังนั้นการยึดถือมาตรฐานเปิดจึงเป็นวินัยอันสำาคัญ ในการประกันความมั่นคงในระยะยาวแก่องค์กร ทั้งในแง่การจัดการภายในอันได้แก่การใช้งานเทคโนโลยีและดูแลระบบให้ มีประสิทธิภาพและความยืดหยุ่น และในแง่ของการบริการทีดีอย่างต่อเนื่องต่อลูกค้าโดยสร้างภูมิคุ้มกันไม่ให้เกิดผลกระทบ ่ ในทางลบต่อความพึงพอใจของลูกค้าจากการพัฒนาระบบที่ยุ่งยากและเต็มไปด้วยข้อผูกมัด นอกจากนี้การลดความเสี่ยงขององค์กรจากการยึดถือ Open Standards ยังสามารถเกิดขึ้นจากการมี repeatability ที่สูงขึ้นอย่างมาก ทั้งนี้เพราะบนมาตรฐานเปิดในการพัฒนาระบบ องค์กรสามารถดำาเนินแนวทางการ พัฒนาที่ประสบความสำาเร็จเดิมที่เคยมี และนำาส่วนประกอบของระบบงานต่างๆที่ใช้งานได้ดีอยู่แล้วมาใช้ซำ้าได้โดยไม่ต้อง
  • 4. สิ้นเปลืองและเสี่ยงถูกบังคับให้ต้องใช้งานสิ่งที่พัฒนาขึ้นใหม่ที่ยังไม่ผ่านการทดสอบมากพอ Durability ความทนทานต่อการแสวงประโยชน์ทางธุรกิจของผู้ผลิตและผู้ให้บริการด้านไอทีเป็นคุณประโยชน์สำาคัญของ Open Standards ทั้งนี้เพราะนอกจากผู้ขายที่นิยม proprietary จะพยายามผูกมัดลูกค้าด้วยข้อจำากัดทางเทคนิคต่างๆ แล้ว พวกเขายังมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนแปลงระบบและการใช้งานต่างๆเพือให้ลูกค้าเสียความสะดวกในการใช้งานสินค้าและ ่ บริการของคู่แข่ง องค์กรและบุคคลที่เป็นลูกค้าจึงถูกกดดันให้ต้องพบกับ “ความเปลี่ยนแปลงที่ไม่จำาเป็น” อยู่เสมอ การ ยึดถือมาตรฐานเปิดโดยทัวไปจะไม่เป็นอุปสรรคต่อการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับนวัตกรรมใหม่ๆทั้งนี้เพราะ Open ่ Standards ใหม่ๆจะเกิดขึ้นมาทดแทนมาตรฐานเดิมและช่วยลดแรงกดดันด้านการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสม โดยยึดถือผลประโยชน์ของผู้ขายบางราย Flexibility ความยืดหยุ่นในการใช้เทคโนโลยีที่หลากหลายทีรองรับบนมาตรฐานเปิดส่งผลให้องค์กรสามารถผสมผสานตัว ่ เลือกที่ดีที่สดหลายๆตัวเข้าด้วยกันได้โดยไม่มีความเสี่ยงในเชิง integration ความยืดหยุ่นในลักษณะดังกล่าวนำาไปสู่โอกาส ุ ที่ดีทองค์กรจะได้สร้างคุณค่าเพิ่มและลดต้นทุนจากการเพิ่มสัดส่วนการใช้ Open Source Software ซึ่งให้ Return on ี่ Investment ที่สูงกว่า นอกจากนั้นการออกแบบระบบให้รองรับมาตรฐานเปิดยังเป็นการเพิ่มความยืดหยุ่นในการพัฒนาระบบอย่างมาก เนื่องจากเป็นการเปิดโอกาสให้องค์กรสามารถเลือกใช้ผู้ให้บริการได้หลายรายในโครงการพัฒนาระบบขนาดใหญ่ อีกทั้งยัง เป็นการเปิดกว้างให้องค์กรสามารถเลือกใช้งานผู้ให้บริการทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ที่มีความน่าเชื่อถือและมีมาตรฐาน การให้บริการทีดีจากทั่วโลก และที่สำาคัญ การยึดถือมาตรฐานเปิดอย่างต่อเนื่องจะส่งเสริมการสะสมองค์ความรู้ของ ่ บุคลากรภายในองค์กรในไปสู่ความยืดหยุ่นในการบริหารจัดการเทคโนโลยี การบริหารโครงการ และการดูแลระบบงานที่ ได้สร้างขึ้นได้ในระยะยาว Quality คุณภาพในเชิงไอทีหมายความถึงระดับการส่งมอบสินค้าบริการได้ตรงตามความต้องการหรือ requirements ทาง ธุรกิจ Open Standards จะเป็นตัวเร่งให้เกิดคุณภาพในการส่งมอบงานด้านไอทีเนื่องจากผู้ซื้อจะมีมาตรฐานให้ยึดถือเป็น แนวทาง ทำาให้การวางแผนมีประสิทธิภาพและมีความผิดพลาดน้อยลงอย่างมีนัยสำาคัญ อีกทั้งการเปรียบเทียบกันและ แข่งขันกันอย่างมีมาตรฐานระหว่างผู้ขายและผู้ให้บริการจะสร้างวัฒนธรรมที่ดีในการส่งมอบงานที่มีคุณภาพสูง การแข่งขัน เพื่อการให้บริการทีดีจะทำาให้คุณภาพโดยรวมดีขึ้นจากการที่ switching costs ในการเปลี่ยนผู้ขายลดลง พวกเขาจะมี ่ ความมุ่งมั่นในการพัฒนาคุณภาพงานอย่างเป็นรูปธรรมทั้งในด้านคุณสมบัติการใช้งาน ด้านขีดความสามารถของระบบ ด้านความปลอดภัย และด้านอื่นๆ
  • 5. Improve Interoperability and Integration การใช้งานร่วมกันได้เป็นอย่างดีระหว่างองค์ประกอบหรือ components ต่างๆในระบบงานมีความสำาคัญต่อ องค์กรในการให้บริการทีดีแก่ลูกค้าทั้งภายในและภายนอกรวมถึงการเชื่อมต่อระบบกับคู่ค้า การไม่ยึดถือ Open ่ Standards อาจส่งผลกระทบให้องค์กรไม่สามารถสร้างระบบงานที่มีประสิทธิภาพ เช่น กระบวนการอัตโนมัติ (automated processes) ต่างๆได้ Open Standards ช่วยให้การบูรณาการเชื่อมต่อระบบเกิดขึ้นได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว ทั้งนี้เพราะมีตวเลือกที่ ั มีผู้ใช้งานประสบความสำาเร็จเป็น success case จำานวนมาก อีกทั้งมีระบบซอฟต์แวร์มากมายที่สามารถนำามาติดตั้งใช้งาน ได้ทันทีในสไตล์ “Plug-and-Play” ดังนั้นหากองค์กรมีความจริงจังในการหาข้อมูลให้เพียงพอและรู้จักใช้บริการของผู้ให้ บริการและที่ปรึกษาที่มีความเชี่ยวชาญ องค์กรสามารถวางแผนการพัฒนาและเชื่อมโยงระบบงานขนาดใหญ่ทั่วทั้งองค์กร ในระยะยาวได้อย่างรอบคอบมีประสิทธิภาพ โดยสรุปอาจกล่าวได้วาองค์กรที่ไม่ยึดถือ Open Standards เป็นนโยบายสำาคัญจะมีความเสียเปรียบในการ ่ พัฒนาองค์กรและการตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าอย่างมากทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ดังนั้นผู้บริหารและ เจ้าของกิจการจึงควรเร่งขับเคลื่อนนโยบายดังกล่าวอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง ก่อนที่จะถลำาลึกเข้าสู่การถูกผูกมัดโดยผู้ขาย และการทำาลายวัฒนธรรมองค์กรแห่งการเรียนรู้และพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน อ้างอิง Erik Sliman: Business Case for Open Standards, [cited 16-SEP-2012] Available from: http://www.openstandards.net/viewOSnet1C.jsp?showModuleName=businessCaseForOpenStandards บทความนี้อนุญาตให้เผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ แบบแสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการ ค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน (Creative Commons Attribution-NonCommercial-ShareAlike 1.0 Generic (CC BY-NC-SA 1.0))