SlideShare a Scribd company logo
นิยามอาชีพ




วิศวกรรมอาหาร
        วิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร อันได้แก่ อาหารและเครื่องดื่มต่างๆ เพื่อ
ปรับปรุงกระบวนการผลิตทางเคมี รวมถึงวิจัยและพัฒนา ค้นหาผลิตภัณฑ์อาหารและ
กระบวนการผลิตชนิดใหม่ คานวณและออกแบบกรรมวิธีการผลิต เครื่องจักร และอุปกรณ์
สาหรับใช้ในการผลิตเชิงอุตสาหกรรมเคมี เพื่อใช้ผลิตผลิตภัณฑ์อาหารนั้นๆ ตลอดจนคานวณ
และออกแบบระบบและมาตรการความปลอดภัย และการกาจัดของเสีย ทั้งในการผลิต การใช้
การเก็บ การขนส่ง/เคลื่อนย้าย และการป้องกันสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์อาหาร
ดังกล่าว : ปฏิบัติงานหลักมูลฐานเช่นเดียวกันกับวิศวกรเคมีทั่วไป แต่มีความเชี่ยวชาญ
เฉพาะงานออกแบบ ดูแลและควบคุมกระบวนการผลิตอาหารและเครื่องดื่มทางเคมี และงานใน
โรงงานอุตสาหกรรมอาหาร

ลักษณะของงานที่ทา
         ประเทศไทยเริ่มมีการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารเมื่อปี พ.ศ.
2505 และในปี พ.ศ.2535 เริ่มมีหลักสูตรวิชาวิศวกรรมอาหารขึ้นในภาควิชา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะอุตสาหกรรม การเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขึ้นครั้งแรก
ผู้ประกอบอาชีพนี้จะมีหน้าที่หลักที่ต่อเนื่องและสอดคล้องกับการปฏิบัติงานของ
นักวิทยาศาสตร์การอาหาร ดังนี้
1. จัดหาเครื่องจักรและออกแบบสายการผลิตเพื่อผลิตผลิตภัณฑ์อาหารในราคาประหยัด และ
มีประสิทธิภาพสูง
2. ออกแบบระบบการผลิต และเครื่องจักรใหม่ๆ ให้มีราคาเหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจ
3. ควบคุมดูแลบุคลากรในสายการผลิตให้ปฏิบัติงานอย่างถูกต้องเต็มศักยภาพ
4. ดูแลควบคุมสายงานการผลิตและการบรรจุอาหาร และหรือเครื่องดื่มให้เป็นไปตาม
แผนการผลิตที่วางไว้
5. ให้คาแนะนาและแก้ไขปัญหาระหว่างการผลิต ตลอดทั้งควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์
6. วางแผนการซ่อมบารุงเครื่องจักรและอุปกรณ์การผลิต
7. ควบคุมดูแลป้องกันมลพิษที่เกิดจากการผลิตทั้งในและนอกโรงงาน
8. ปฏิบัติงานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายและประสานงานกับฝ่ายที่เกี่ยวข้อง


สภาพการจ้างงาน
          จานวนวิศวกรอาหารที่จบการศึกษาในแต่ละปีค่อนข้างน้อยซึ่งส่วนใหญ่ทางานใน
ภาคเอกชน โดยเฉพาะโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ที่มีชื่อเสียงหลายแห่ง และได้รับอัตรา
ค่าจ้างเดือนละประมาณ 15,000 – 20,000 บาท ตลอดจนสวัสดิการต่างๆ โบนัส
ประจาปี
สภาพการทางาน
         ผู้ประกอบอาชีพนี้ อาจทางานทั้งในโรงงานผลิต และในห้องปฏิบัติการทดลอง โดย
ต้องใส่เครื่องแบบการปฏิบัติงาน และสวมอุปกรณ์นิรภัยส่วนบุคคล
คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ
1. จบการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตสาขาวิศวกรรมอาหาร
2. มีความคิดสร้างสรรค์ในการประดิษฐ์เครื่องจักรต่างๆ ตามความต้องการของ
นักวิทยาศาสตร์การอาหาร หรือผู้ประกอบการโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
3. มีความรู้เรื่องวัสดุต่างๆ ที่ใช้ในการผลิตเครื่องจักร ตลอดทั้งแหล่งที่มาของวัสดุ
4. มีความรู้เรื่องการจัดทางบประมาณค่าใช้จ่าย
5. มีความรับผิดชอบสูง
6. มีปฏิภาณไหวพริบ มีลักษณะเป็นผู้นา และมีความเป็นผู้ตาม
7. มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ
8. มีความรู้ในเรื่อง ระบบ ISO 9001 ระบบคุณภาพตามหลักเกณฑ์และวิธีการผลิต
อาหารในโรงอาหาร (CMP) ระบบหลักการวิเคราะห์อันตรายและควบคุมจุดวิกฤติ
(HACCP) และมาตรฐานการผลิตต่างๆ ขององค์การอนามัยโลก และองค์การค้าโลก

โอกาสในการมีงานทา
         ในปัจจุบันมีสถาบันการศึกษาที่ผลิตบัณฑิตวิศวกรรมอาหาร ประมาณ 3 – 4
แห่ง ซึ่งไม่เพียงพอกับความต้องการของตลาดอุตสาหกรรมอาหาร เพราะมหาวิทยาลัยแต่ละ
แห่ง สามารถผลิตบุคลากรได้เพียงไม่เกินปีละ 20 คน รัฐบาลต้องการให้ไทยก้าวไปสู่การเป็น
แหล่งผลิตอาหารของประชาคมโลก จึงส่งเสริมให้มีการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนตามโครงการ
หนึ่งผลิตภัณฑ์หนึ่งตาบลทั่วประเทศ วิศวกรอาหารจึงจาเป็นต่อวงการอุตสาหกรรมอาหารเป็น
อย่างยิ่ง โดยเฉพาะเกี่ยวกับการผลิตเครื่องจักรที่เหมาะสมต่อสภาวะแวดล้อมและราคา ตลอด
ทั้งขนาดที่สอดคล้องกับการผลิตสินค้าต่างๆ ของชุมชน เพื่อทดแทนการนาเข้าเครื่องจักขนาด
ใหญ่ราคาแพง เช่น เครื่องทอดสูญญากาศ เครื่องกลั่นสุราแช่ขนาดเล็ก เครื่องอบแห้ง พลังงาน
แสงอาทิตย์ เครื่องมือและอุปกรณ์การผลิตไวน์ เป็นต้น
         ผู้ประกอบอาชีพนี้ที่เป็นเพศชายเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานมาก เนื่องจาก
โรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ กระจายอยู่ทั่วภูมิภาค แต่ถ้าเป็นเพศหญิงมักพึงพอใจที่จะทางานใน
โรงงานอุตสาหกรรมในเขตปริมณฑลมากกว่า ดังนั้น ผู้สนใจประกอบอาชีพนี้จึงมีโอกาสเลือก
ที่จะเข้าทางานในสถานประกอบกิจการแต่ละแห่งได้ เช่น โรงงานผลิตอาหารกระป๋อง โรงงาน
อาหารแช่เยือกแข็ง โรงงานอุตสาหกรรมเฉพาะทาง ประเภทผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ ที่ผลิตไส้กรอก
โรงงานผัก ผลไม้อบแห้ง โรงงานขนมปัง คุ้กกี้ และอาหารขบเคี้ยว ตลอดจนโรงงานผลิตภัณฑ์
นม และโรงงานเครื่องดื่มต่างๆ

โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ
         ผู้ประกอบอาชีพวิศวกรอาหาร ควรศึกษาต่อในระดับปริญญาโท หรือระดับปริญญา
เอก เพื่อจะได้มีโอกาส เลื่อนตาแหน่งเป็นผู้จัดการสายการผลิต หรือเป็นผู้จัดการโรงงาน

อาชีพที่เกี่ยวเนื่อง
         อาจารย์ นักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญ ที่ให้บริการคาปรึกษาด้านการออกแบบโรงงาน
อุตสาหกรรมอาหาร หรือเป็นนักประดิษฐ์คิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ เกี่ยวกับเครื่องมือและอุปกรณ์
ต่างๆ ในการผลิต ตลอดจนเป็นนักธุรกิจด้านอุตสาหกรรมอาหาร เป็นต้น
Food engineer

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (11)

รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
ยุวดี เเก้วไพรวัณ 5/4
ยุวดี เเก้วไพรวัณ 5/4ยุวดี เเก้วไพรวัณ 5/4
ยุวดี เเก้วไพรวัณ 5/4
 
ยูเครน
ยูเครนยูเครน
ยูเครน
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
นำเสนอนครนายก
นำเสนอนครนายกนำเสนอนครนายก
นำเสนอนครนายก
 
ประณต วิริบูลย์ 5/4
ประณต วิริบูลย์ 5/4ประณต วิริบูลย์ 5/4
ประณต วิริบูลย์ 5/4
 
นาย ปรีดี พนมยงค์
นาย ปรีดี   พนมยงค์นาย ปรีดี   พนมยงค์
นาย ปรีดี พนมยงค์
 
ซูดาน (Sudan)
ซูดาน (Sudan)ซูดาน (Sudan)
ซูดาน (Sudan)
 
จอมพลถนอม กิตติขจร
จอมพลถนอม กิตติขจรจอมพลถนอม กิตติขจร
จอมพลถนอม กิตติขจร
 
จังหวัดตาก
จังหวัดตากจังหวัดตาก
จังหวัดตาก
 

Similar to Food engineer

C:\fakepath\trend on manufacturing innovation new
C:\fakepath\trend on manufacturing innovation newC:\fakepath\trend on manufacturing innovation new
C:\fakepath\trend on manufacturing innovation new
Jiratida
 
Trend on manufacturing innovation new
Trend on manufacturing innovation newTrend on manufacturing innovation new
Trend on manufacturing innovation new
Jiratida
 
Group8 : Trend on manufacturing innovation
Group8 : Trend on manufacturing innovation Group8 : Trend on manufacturing innovation
Group8 : Trend on manufacturing innovation
Jiratida
 
แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13
แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13
แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13
Piboon Yasotorn
 

Similar to Food engineer (12)

Haccp + gmp (3)
Haccp + gmp (3)Haccp + gmp (3)
Haccp + gmp (3)
 
Haccp + gmp (3)
Haccp + gmp (3)Haccp + gmp (3)
Haccp + gmp (3)
 
Trend on manufacturing innovation new
Trend on manufacturing innovation newTrend on manufacturing innovation new
Trend on manufacturing innovation new
 
C:\fakepath\trend on manufacturing innovation new
C:\fakepath\trend on manufacturing innovation newC:\fakepath\trend on manufacturing innovation new
C:\fakepath\trend on manufacturing innovation new
 
Trend on manufacturing innovation new
Trend on manufacturing innovation newTrend on manufacturing innovation new
Trend on manufacturing innovation new
 
Trend on manufacturing innovation new
Trend on manufacturing innovation newTrend on manufacturing innovation new
Trend on manufacturing innovation new
 
Group8 : Trend on manufacturing innovation
Group8 : Trend on manufacturing innovation Group8 : Trend on manufacturing innovation
Group8 : Trend on manufacturing innovation
 
แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13
แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13
แบบฟอร์มปฏิบัติ1 13
 
เกษตรประยุกต์
เกษตรประยุกต์เกษตรประยุกต์
เกษตรประยุกต์
 
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
 
Curri 02 11
Curri 02 11Curri 02 11
Curri 02 11
 
World Agriculture
World AgricultureWorld Agriculture
World Agriculture
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

Food engineer

  • 1. นิยามอาชีพ วิศวกรรมอาหาร วิเคราะห์ วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร อันได้แก่ อาหารและเครื่องดื่มต่างๆ เพื่อ ปรับปรุงกระบวนการผลิตทางเคมี รวมถึงวิจัยและพัฒนา ค้นหาผลิตภัณฑ์อาหารและ กระบวนการผลิตชนิดใหม่ คานวณและออกแบบกรรมวิธีการผลิต เครื่องจักร และอุปกรณ์ สาหรับใช้ในการผลิตเชิงอุตสาหกรรมเคมี เพื่อใช้ผลิตผลิตภัณฑ์อาหารนั้นๆ ตลอดจนคานวณ และออกแบบระบบและมาตรการความปลอดภัย และการกาจัดของเสีย ทั้งในการผลิต การใช้ การเก็บ การขนส่ง/เคลื่อนย้าย และการป้องกันสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์อาหาร ดังกล่าว : ปฏิบัติงานหลักมูลฐานเช่นเดียวกันกับวิศวกรเคมีทั่วไป แต่มีความเชี่ยวชาญ เฉพาะงานออกแบบ ดูแลและควบคุมกระบวนการผลิตอาหารและเครื่องดื่มทางเคมี และงานใน โรงงานอุตสาหกรรมอาหาร ลักษณะของงานที่ทา ประเทศไทยเริ่มมีการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารเมื่อปี พ.ศ.
  • 2. 2505 และในปี พ.ศ.2535 เริ่มมีหลักสูตรวิชาวิศวกรรมอาหารขึ้นในภาควิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะอุตสาหกรรม การเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขึ้นครั้งแรก ผู้ประกอบอาชีพนี้จะมีหน้าที่หลักที่ต่อเนื่องและสอดคล้องกับการปฏิบัติงานของ นักวิทยาศาสตร์การอาหาร ดังนี้ 1. จัดหาเครื่องจักรและออกแบบสายการผลิตเพื่อผลิตผลิตภัณฑ์อาหารในราคาประหยัด และ มีประสิทธิภาพสูง 2. ออกแบบระบบการผลิต และเครื่องจักรใหม่ๆ ให้มีราคาเหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจ 3. ควบคุมดูแลบุคลากรในสายการผลิตให้ปฏิบัติงานอย่างถูกต้องเต็มศักยภาพ 4. ดูแลควบคุมสายงานการผลิตและการบรรจุอาหาร และหรือเครื่องดื่มให้เป็นไปตาม แผนการผลิตที่วางไว้ 5. ให้คาแนะนาและแก้ไขปัญหาระหว่างการผลิต ตลอดทั้งควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ 6. วางแผนการซ่อมบารุงเครื่องจักรและอุปกรณ์การผลิต 7. ควบคุมดูแลป้องกันมลพิษที่เกิดจากการผลิตทั้งในและนอกโรงงาน 8. ปฏิบัติงานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมายและประสานงานกับฝ่ายที่เกี่ยวข้อง สภาพการจ้างงาน จานวนวิศวกรอาหารที่จบการศึกษาในแต่ละปีค่อนข้างน้อยซึ่งส่วนใหญ่ทางานใน ภาคเอกชน โดยเฉพาะโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ที่มีชื่อเสียงหลายแห่ง และได้รับอัตรา ค่าจ้างเดือนละประมาณ 15,000 – 20,000 บาท ตลอดจนสวัสดิการต่างๆ โบนัส ประจาปี
  • 3. สภาพการทางาน ผู้ประกอบอาชีพนี้ อาจทางานทั้งในโรงงานผลิต และในห้องปฏิบัติการทดลอง โดย ต้องใส่เครื่องแบบการปฏิบัติงาน และสวมอุปกรณ์นิรภัยส่วนบุคคล คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ 1. จบการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตสาขาวิศวกรรมอาหาร 2. มีความคิดสร้างสรรค์ในการประดิษฐ์เครื่องจักรต่างๆ ตามความต้องการของ นักวิทยาศาสตร์การอาหาร หรือผู้ประกอบการโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม 3. มีความรู้เรื่องวัสดุต่างๆ ที่ใช้ในการผลิตเครื่องจักร ตลอดทั้งแหล่งที่มาของวัสดุ 4. มีความรู้เรื่องการจัดทางบประมาณค่าใช้จ่าย 5. มีความรับผิดชอบสูง 6. มีปฏิภาณไหวพริบ มีลักษณะเป็นผู้นา และมีความเป็นผู้ตาม 7. มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ 8. มีความรู้ในเรื่อง ระบบ ISO 9001 ระบบคุณภาพตามหลักเกณฑ์และวิธีการผลิต อาหารในโรงอาหาร (CMP) ระบบหลักการวิเคราะห์อันตรายและควบคุมจุดวิกฤติ (HACCP) และมาตรฐานการผลิตต่างๆ ขององค์การอนามัยโลก และองค์การค้าโลก โอกาสในการมีงานทา ในปัจจุบันมีสถาบันการศึกษาที่ผลิตบัณฑิตวิศวกรรมอาหาร ประมาณ 3 – 4 แห่ง ซึ่งไม่เพียงพอกับความต้องการของตลาดอุตสาหกรรมอาหาร เพราะมหาวิทยาลัยแต่ละ แห่ง สามารถผลิตบุคลากรได้เพียงไม่เกินปีละ 20 คน รัฐบาลต้องการให้ไทยก้าวไปสู่การเป็น แหล่งผลิตอาหารของประชาคมโลก จึงส่งเสริมให้มีการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนตามโครงการ
  • 4. หนึ่งผลิตภัณฑ์หนึ่งตาบลทั่วประเทศ วิศวกรอาหารจึงจาเป็นต่อวงการอุตสาหกรรมอาหารเป็น อย่างยิ่ง โดยเฉพาะเกี่ยวกับการผลิตเครื่องจักรที่เหมาะสมต่อสภาวะแวดล้อมและราคา ตลอด ทั้งขนาดที่สอดคล้องกับการผลิตสินค้าต่างๆ ของชุมชน เพื่อทดแทนการนาเข้าเครื่องจักขนาด ใหญ่ราคาแพง เช่น เครื่องทอดสูญญากาศ เครื่องกลั่นสุราแช่ขนาดเล็ก เครื่องอบแห้ง พลังงาน แสงอาทิตย์ เครื่องมือและอุปกรณ์การผลิตไวน์ เป็นต้น ผู้ประกอบอาชีพนี้ที่เป็นเพศชายเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานมาก เนื่องจาก โรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ กระจายอยู่ทั่วภูมิภาค แต่ถ้าเป็นเพศหญิงมักพึงพอใจที่จะทางานใน โรงงานอุตสาหกรรมในเขตปริมณฑลมากกว่า ดังนั้น ผู้สนใจประกอบอาชีพนี้จึงมีโอกาสเลือก ที่จะเข้าทางานในสถานประกอบกิจการแต่ละแห่งได้ เช่น โรงงานผลิตอาหารกระป๋อง โรงงาน อาหารแช่เยือกแข็ง โรงงานอุตสาหกรรมเฉพาะทาง ประเภทผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ ที่ผลิตไส้กรอก โรงงานผัก ผลไม้อบแห้ง โรงงานขนมปัง คุ้กกี้ และอาหารขบเคี้ยว ตลอดจนโรงงานผลิตภัณฑ์ นม และโรงงานเครื่องดื่มต่างๆ โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพ ผู้ประกอบอาชีพวิศวกรอาหาร ควรศึกษาต่อในระดับปริญญาโท หรือระดับปริญญา เอก เพื่อจะได้มีโอกาส เลื่อนตาแหน่งเป็นผู้จัดการสายการผลิต หรือเป็นผู้จัดการโรงงาน อาชีพที่เกี่ยวเนื่อง อาจารย์ นักวิชาการ ผู้เชี่ยวชาญ ที่ให้บริการคาปรึกษาด้านการออกแบบโรงงาน อุตสาหกรรมอาหาร หรือเป็นนักประดิษฐ์คิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ เกี่ยวกับเครื่องมือและอุปกรณ์ ต่างๆ ในการผลิต ตลอดจนเป็นนักธุรกิจด้านอุตสาหกรรมอาหาร เป็นต้น