SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Fall Risk & Assessment
ปัจจัยเสี่ยงในการล้ม และการประเมิน
นพ. ปริย วิมลวัตรเวที
The operational structure of a UK-based
Fracture Liaison Service (FLS)



www.iofbonehealth.org
Consequences of Falls
Risk Factor Model for Falls in Older Age
ดัดแปลงจาก WHO Global Report on Falls Prevention in Older Age
ล้ม
ปัจจัยเสี่ยงด้านพฤติกรรม
• การดื่มแอลกอฮอล์
• การขาดการออกกาลังกาย
• รองเท้าที่ไม่เหมาะสม
ปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม
• แสงสว่าง
• ของวางเกะกะ
• พื้นต่างระดับ / ลื่น
• การออกแบบ
ปัจจัยเสี่ยงด้านกายภาพ
• กาลังกล้ามเนื้อ
• การรับความรู้สึก (ชา)
• การรู้สึกตัว
• อายุ
• การมองเห็น
• โรคร่วม (พาร์กินสัน,
โรคข้อ – ข้อเสื่อม)
ปัจจัยเสี่ยงด้านสังคม
• การไม่สามารถเข้าถึงการสาธารณสุข
• รายได้
ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยเสี่ยง จานวนเท่าเมื่อเทียบกับผู้ไม่มีปัจจัยเสี่ยง
มีประวัติการล้ม (Falls history) 2.4 – 4.6
กล้ามเนื้ออ่อนแรง (Muscle weakness) 4.4
การทรงตัวบกพร่อง (Balance deficit) 1.8 – 3.9
การเดินบกพร่อง (Gait deficit) 1.8 – 2.9
การเคลื่อนไหวบกพร่อง (Mobility impairment) 2 – 3
การมองเห็นบกพร่อง (Visual impairment) 1.18 – 5.85
ภาวะการรู้คิดบกพร่อง (Cognitive impairment) 1.8 – 6.7
ความไม่สามารถกลั้นปัสสาวะอุจจาระ (Incontinence) 1.8 – 2.3
การกลัวภาวะหกล้ม (Fear of falling) 1.7 – 2.8
ภาวะซึมเศร้า (Depresssion) 1.7 – 2.5
อายุมากกว่า 80 ปี (Age >80 yo) 1.1 – 2.5
การใช้ยาร่วมกันหลายชนิด (Polypharmacy) 1.75 – 2.41
สิ่งแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย (Environmental hazard) 2.3 – 2.5
- Perell KL, Nelson A, Goldman RL, Luther SL, et al. Fall risk assessment measures: an analytic review. J Gerontol A Biol Sci Med Sci 2001; 56(12):M761-6.
- National Institute for Clinical Excellence (NICE), Clinical practice guideline for the assessment and prevention of falls in older people. November 2004.
Age Related Sarcopenia
ปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม
0
5
10
15
20
25
30
35
จำนวน
**Bedroom & Toilet**
การประเมินความเสี่ยงของภาวะหกล้ม
• ประวัติการล้ม
• ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาและลาตัว
• การทรงตัวและการเดิน, ความสามารถในการประกอบ
กิจวัตรประจาวัน, การใช้เครื่องช่วยเดิน
• การมองเห็น
• ภาวะการรู้คิด (Cognition)
• ความสามารถในการกลั้นปัสสาวะและอุจจาระ
• เท้าและรองเท้า
• ความเสี่ยงของการเกิดกระดูกพรุนและกระดูกหัก
• ประเมินสภาพแวดล้อม
Fall Risk Assessment Tools
Inpatient Outpatient
Morse fall scale Sit to stand test
Thai FRAT The 4-stage balance test
Cumulated Ambulation Score (CAS) Timed up and go
Hendrich II Berg balance scale
สสส. Timed single leg stance test
Functional reach test
Tinetti balance assessment tool (POMA) © Oxford
Balance Evaluation System Test (BESTest) /
Mini-BESTest © Oregon Health & Science University
Morse Fall Scale vs.
Thai Fall Risk Assessment Test (Thai-FRAT) vs.
Hendrich II vs. สสส.
Morse Scale Thai – FRAT Hendrich II สสส.
เพศ หญิง ชาย
ประวัติการล้ม / กลัวล้ม
โรค / ยา โรคร่วม มีการใช้ยา มีการใช้ยา
การเคลื่อนย้าย / การให้สารน้า /
การรู้ตัว
การทรงตัว
การมองเห็น
บ้านยกพื้นสูง
อาการซึมเศร้า
การขับถ่าย
กาลังกล้ามเนื้อ
Questionnaire
Morse Fall Scale
0
10
20
30
40
50
60
70
80
ควำมเสี่ยงน้อย ควำมเสี่ยงปำนกลำง ควำมเสี่ยงสูง
จำนวนคน
Cumulated Ambulation Score (CAS)
› Getting in and out of bed
› Sit to stand from a chair with armrests
› Indoors walking
› 2 คะแนน: ทาได้อย่างปลอดภัย และไม่ต้องการการ
ช่วยเหลือ (พูดแนะนา) ให้ใช้เครื่องช่วยเดินได้
› 1 คะแนน: ทาได้โดยต้องการการช่วยเหลือ
› 0 คะแนน: ทาไม่ได้
› รวมคะแนน 3 วัน (เต็ม 6 x 3 = 18)
› CAS > 9
สามารถ discharge ได้ภายใน 14 วัน
กลับไปอยู่บ้าน
ไม่มี major medical complications
30 days survival
OPD
STEADI (CDC), The University of Otago
› Sit – to – Stand  Strength
› 4 Stage Balance  Balance
› Time Up and Go  Walk + Strength + Balance
– สะดวก
– ใช้เวลาน้อย
– เหมาะกับกลุ่มคนไข้ที่ใช้
Sit to Stand Test
• < 8 ครั้ง = มีความเสี่ยงล้มสูง
• 9 – 12 ครั้ง = มีความเสี่ยงล้มปานกลาง
• > 13 ครั้ง = มีความเสี่ยงล้มต่า
30 วินาที
The 4-Stage Balance Test
ท่าละ 10 วินาที
› Tandem (heel-toe) stance
ทาได้ไม่ถึง
ได้น้อยกว่า 10 วินาที
 เสี่ยงล้ม
Timed Up and Go Test
• กิจกรรมในชีวิตประจาวันหลายอย่างประกอบกัน
การเคลื่อนไหว การทรงตัว และความสามารถในการเดิน
• จับเวลาตั้งแต่ให้ลุกขึ้นจากเก้าอี้ เดิน 3 เมตร (10 ฟุต) แล้ว
หมุนตัวกลับเดิน กลับมานั่งเก้าอี้
 < 10 วินาที: ปลอดภัย
 11-20 วินาที:
 ผิดปกติเล็กน้อยถึงปานกลาง
 ไม่จาเป็ นต้องใช้เครื่องช่วยเดิน
 > 20 วินาที:
 มีความผิดปกติมาก
 จาเป็ นต้องใช้เครื่องช่วยเดิน
 > 12 วินาที: มีความเสี่ยงใน
การล้ม
 > 14 วินาที: มีความเสี่ยงใน
การล้มสูง
 > 30 จาเป็ นต้องใช้
เครื่องช่วยเดิน
› Tenitti
– Balance
› นั่ง
› ลุกยืน / นั่งลง
› ยืน
› หมุนตัว
– Gait
› การเริ่มเดิน
› ระยะการก้าว
› ความกว้างของเท้า
› เท้าพ้นพื้น
› BESTest / MiniBESTest
– 36 / 14 หัวข้อ: โครงสร้าง
ร่างกาย, การทางานของร่างกาย,
กิจกรรม
› ลุกยืน
› ยืน
› การจะล้ม
› การทรงตัว
› การเดิน – เปลี่ยนแปลงความเร็ว
› การหมุนตัว
› การก้าวข้ามสิ่งกีดขวาง
› Timed up & go with DUAL TASK
บันไดการป้ องกันการหกล้ม
บริหารร่างกาย
และฝึกการทรงตัว
ตรวจตา ปีละ
ครั้ง
ทบทวนยา
จัดบ้าน ไม่ให้
ของเกะกะ
Slideshare.net
Morse Fall Scale
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ . สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุกรมการแพทย์2551.
Thai Fall Risk Assessment Test (Thai-FRAT)
Ladda Thiamwong, et al. J Med Assoc Thai 2008;91:1823-32.
Berg Balance Scale
ประเมินความเสี่ยงใน 14 กิจกรรม (นั่ง และยืน)
› ลุกขึ้นยืน
› ยืนตรง
› นั่งตัวตรง
› นั่งลง
› เปลี่ยนเก้าอี้
› ยืนหลับตา
› ยืนตัวตรงเท้าชิด
› เอื้อมมือไปข้างหน้า
› ก้มเก็บของจากพื้นขณะยืนอยู่
› หันไปมองข้างหลัง
› กลับหลังหัน
› ก้าวแตะสลับเท้าบนม้านั่งเตี้ย / ขั้น
› ยืนต่อเท้า
› ยืนบนขาข้างเดียว
› แต่ละกิจกรรม คะแนน 0 – 4
› คะแนนรวมสูงสุด 56
› Cut off score of 45 for independent safe ambulation
› 41-56 = low fall risk
› 21-40 = medium fall risk
› 0 –20 = high fall risk
Timed Single Leg Stance Test
› ง่าย และประหยัดเวลา
› ยืนตรง เท้าเปล่า พื้นเรียบ ตามองตรง มือแตะไหล่ด้านตรงข้าม
ข้อสะโพกเหยียดตรง งอเข่า 90o
– ลืมตา / หลับตา
› เริ่มจับเวลา: ยกขาข้างหนึ่งขึ้น
› หยุดจับเวลา: เท้าที่ยกแตะพื้น / แตะขาอีกข้าง; ขาข้างที่ยืน
เคลื่อน; มือหลุดจากที่; ลืมตา
› ทดสอบ 3 ครั้ง หาค่าเฉลี่ย
› <30 วินาที = เสี่ยงล้ม
› <5 วินาที = เสี่ยงล้มมาก
Functional Reach Test
Fall Risk and Assessment (4th ed)

More Related Content

What's hot

คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ โปรตอน บรรณารักษ์
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaUtai Sukviwatsirikul
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่Gear Tanatchaporn
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Utai Sukviwatsirikul
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560Aphisit Aunbusdumberdor
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reactionAntibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reactionUtai Sukviwatsirikul
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentAuMi Pharmaza
 
คู่มือการรักษาทางจิตเวช
คู่มือการรักษาทางจิตเวช คู่มือการรักษาทางจิตเวช
คู่มือการรักษาทางจิตเวช Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลUtai Sukviwatsirikul
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemia
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าใหม่
 
Genogram
GenogramGenogram
Genogram
 
คู่มือโภชนากร
คู่มือโภชนากรคู่มือโภชนากร
คู่มือโภชนากร
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reactionAntibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
Drug for-int
Drug for-intDrug for-int
Drug for-int
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation present
 
คู่มือการรักษาทางจิตเวช
คู่มือการรักษาทางจิตเวช คู่มือการรักษาทางจิตเวช
คู่มือการรักษาทางจิตเวช
 
Cpg alcoholism
Cpg alcoholismCpg alcoholism
Cpg alcoholism
 
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
แนวทางการดูแลรักษาผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า 2561
 

More from Pariya W

Exercise for medical student (2ed)
Exercise for medical student (2ed)Exercise for medical student (2ed)
Exercise for medical student (2ed)Pariya W
 
Nerve entrapment & injury for medical student (2ed)
Nerve entrapment & injury for medical student (2ed)Nerve entrapment & injury for medical student (2ed)
Nerve entrapment & injury for medical student (2ed)Pariya W
 
Electrodiagnosis for medical student (2ed)
Electrodiagnosis for medical student (2ed)Electrodiagnosis for medical student (2ed)
Electrodiagnosis for medical student (2ed)Pariya W
 
Rehabilitation in Elderly with Fracture
Rehabilitation in Elderly with FractureRehabilitation in Elderly with Fracture
Rehabilitation in Elderly with FracturePariya W
 
Rehabilitation in Neonatal Brachial Plexus Palsy
Rehabilitation in Neonatal Brachial Plexus PalsyRehabilitation in Neonatal Brachial Plexus Palsy
Rehabilitation in Neonatal Brachial Plexus PalsyPariya W
 
Electrodiagnosis for medical student 2017
Electrodiagnosis for medical student 2017Electrodiagnosis for medical student 2017
Electrodiagnosis for medical student 2017Pariya W
 
Nerve Entrapment & Injury for medical student 2017
Nerve Entrapment & Injury for medical student 2017Nerve Entrapment & Injury for medical student 2017
Nerve Entrapment & Injury for medical student 2017Pariya W
 
Exercise for medical students 2017
Exercise for medical students 2017Exercise for medical students 2017
Exercise for medical students 2017Pariya W
 

More from Pariya W (8)

Exercise for medical student (2ed)
Exercise for medical student (2ed)Exercise for medical student (2ed)
Exercise for medical student (2ed)
 
Nerve entrapment & injury for medical student (2ed)
Nerve entrapment & injury for medical student (2ed)Nerve entrapment & injury for medical student (2ed)
Nerve entrapment & injury for medical student (2ed)
 
Electrodiagnosis for medical student (2ed)
Electrodiagnosis for medical student (2ed)Electrodiagnosis for medical student (2ed)
Electrodiagnosis for medical student (2ed)
 
Rehabilitation in Elderly with Fracture
Rehabilitation in Elderly with FractureRehabilitation in Elderly with Fracture
Rehabilitation in Elderly with Fracture
 
Rehabilitation in Neonatal Brachial Plexus Palsy
Rehabilitation in Neonatal Brachial Plexus PalsyRehabilitation in Neonatal Brachial Plexus Palsy
Rehabilitation in Neonatal Brachial Plexus Palsy
 
Electrodiagnosis for medical student 2017
Electrodiagnosis for medical student 2017Electrodiagnosis for medical student 2017
Electrodiagnosis for medical student 2017
 
Nerve Entrapment & Injury for medical student 2017
Nerve Entrapment & Injury for medical student 2017Nerve Entrapment & Injury for medical student 2017
Nerve Entrapment & Injury for medical student 2017
 
Exercise for medical students 2017
Exercise for medical students 2017Exercise for medical students 2017
Exercise for medical students 2017
 

Fall Risk and Assessment (4th ed)

  • 1. Fall Risk & Assessment ปัจจัยเสี่ยงในการล้ม และการประเมิน นพ. ปริย วิมลวัตรเวที
  • 2. The operational structure of a UK-based Fracture Liaison Service (FLS)    www.iofbonehealth.org
  • 4. Risk Factor Model for Falls in Older Age ดัดแปลงจาก WHO Global Report on Falls Prevention in Older Age ล้ม ปัจจัยเสี่ยงด้านพฤติกรรม • การดื่มแอลกอฮอล์ • การขาดการออกกาลังกาย • รองเท้าที่ไม่เหมาะสม ปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม • แสงสว่าง • ของวางเกะกะ • พื้นต่างระดับ / ลื่น • การออกแบบ ปัจจัยเสี่ยงด้านกายภาพ • กาลังกล้ามเนื้อ • การรับความรู้สึก (ชา) • การรู้สึกตัว • อายุ • การมองเห็น • โรคร่วม (พาร์กินสัน, โรคข้อ – ข้อเสื่อม) ปัจจัยเสี่ยงด้านสังคม • การไม่สามารถเข้าถึงการสาธารณสุข • รายได้
  • 5. ปัจจัยเสี่ยง ปัจจัยเสี่ยง จานวนเท่าเมื่อเทียบกับผู้ไม่มีปัจจัยเสี่ยง มีประวัติการล้ม (Falls history) 2.4 – 4.6 กล้ามเนื้ออ่อนแรง (Muscle weakness) 4.4 การทรงตัวบกพร่อง (Balance deficit) 1.8 – 3.9 การเดินบกพร่อง (Gait deficit) 1.8 – 2.9 การเคลื่อนไหวบกพร่อง (Mobility impairment) 2 – 3 การมองเห็นบกพร่อง (Visual impairment) 1.18 – 5.85 ภาวะการรู้คิดบกพร่อง (Cognitive impairment) 1.8 – 6.7 ความไม่สามารถกลั้นปัสสาวะอุจจาระ (Incontinence) 1.8 – 2.3 การกลัวภาวะหกล้ม (Fear of falling) 1.7 – 2.8 ภาวะซึมเศร้า (Depresssion) 1.7 – 2.5 อายุมากกว่า 80 ปี (Age >80 yo) 1.1 – 2.5 การใช้ยาร่วมกันหลายชนิด (Polypharmacy) 1.75 – 2.41 สิ่งแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย (Environmental hazard) 2.3 – 2.5 - Perell KL, Nelson A, Goldman RL, Luther SL, et al. Fall risk assessment measures: an analytic review. J Gerontol A Biol Sci Med Sci 2001; 56(12):M761-6. - National Institute for Clinical Excellence (NICE), Clinical practice guideline for the assessment and prevention of falls in older people. November 2004. Age Related Sarcopenia
  • 7. การประเมินความเสี่ยงของภาวะหกล้ม • ประวัติการล้ม • ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาและลาตัว • การทรงตัวและการเดิน, ความสามารถในการประกอบ กิจวัตรประจาวัน, การใช้เครื่องช่วยเดิน • การมองเห็น • ภาวะการรู้คิด (Cognition) • ความสามารถในการกลั้นปัสสาวะและอุจจาระ • เท้าและรองเท้า • ความเสี่ยงของการเกิดกระดูกพรุนและกระดูกหัก • ประเมินสภาพแวดล้อม
  • 8. Fall Risk Assessment Tools Inpatient Outpatient Morse fall scale Sit to stand test Thai FRAT The 4-stage balance test Cumulated Ambulation Score (CAS) Timed up and go Hendrich II Berg balance scale สสส. Timed single leg stance test Functional reach test Tinetti balance assessment tool (POMA) © Oxford Balance Evaluation System Test (BESTest) / Mini-BESTest © Oregon Health & Science University
  • 9. Morse Fall Scale vs. Thai Fall Risk Assessment Test (Thai-FRAT) vs. Hendrich II vs. สสส. Morse Scale Thai – FRAT Hendrich II สสส. เพศ หญิง ชาย ประวัติการล้ม / กลัวล้ม โรค / ยา โรคร่วม มีการใช้ยา มีการใช้ยา การเคลื่อนย้าย / การให้สารน้า / การรู้ตัว การทรงตัว การมองเห็น บ้านยกพื้นสูง อาการซึมเศร้า การขับถ่าย กาลังกล้ามเนื้อ
  • 11.
  • 12. Morse Fall Scale 0 10 20 30 40 50 60 70 80 ควำมเสี่ยงน้อย ควำมเสี่ยงปำนกลำง ควำมเสี่ยงสูง จำนวนคน
  • 13. Cumulated Ambulation Score (CAS) › Getting in and out of bed › Sit to stand from a chair with armrests › Indoors walking › 2 คะแนน: ทาได้อย่างปลอดภัย และไม่ต้องการการ ช่วยเหลือ (พูดแนะนา) ให้ใช้เครื่องช่วยเดินได้ › 1 คะแนน: ทาได้โดยต้องการการช่วยเหลือ › 0 คะแนน: ทาไม่ได้
  • 14. › รวมคะแนน 3 วัน (เต็ม 6 x 3 = 18) › CAS > 9 สามารถ discharge ได้ภายใน 14 วัน กลับไปอยู่บ้าน ไม่มี major medical complications 30 days survival
  • 15. OPD STEADI (CDC), The University of Otago › Sit – to – Stand  Strength › 4 Stage Balance  Balance › Time Up and Go  Walk + Strength + Balance – สะดวก – ใช้เวลาน้อย – เหมาะกับกลุ่มคนไข้ที่ใช้
  • 16. Sit to Stand Test • < 8 ครั้ง = มีความเสี่ยงล้มสูง • 9 – 12 ครั้ง = มีความเสี่ยงล้มปานกลาง • > 13 ครั้ง = มีความเสี่ยงล้มต่า 30 วินาที
  • 17. The 4-Stage Balance Test ท่าละ 10 วินาที
  • 18.
  • 19. › Tandem (heel-toe) stance ทาได้ไม่ถึง ได้น้อยกว่า 10 วินาที  เสี่ยงล้ม
  • 20. Timed Up and Go Test • กิจกรรมในชีวิตประจาวันหลายอย่างประกอบกัน การเคลื่อนไหว การทรงตัว และความสามารถในการเดิน • จับเวลาตั้งแต่ให้ลุกขึ้นจากเก้าอี้ เดิน 3 เมตร (10 ฟุต) แล้ว หมุนตัวกลับเดิน กลับมานั่งเก้าอี้
  • 21.  < 10 วินาที: ปลอดภัย  11-20 วินาที:  ผิดปกติเล็กน้อยถึงปานกลาง  ไม่จาเป็ นต้องใช้เครื่องช่วยเดิน  > 20 วินาที:  มีความผิดปกติมาก  จาเป็ นต้องใช้เครื่องช่วยเดิน  > 12 วินาที: มีความเสี่ยงใน การล้ม  > 14 วินาที: มีความเสี่ยงใน การล้มสูง  > 30 จาเป็ นต้องใช้ เครื่องช่วยเดิน
  • 22. › Tenitti – Balance › นั่ง › ลุกยืน / นั่งลง › ยืน › หมุนตัว – Gait › การเริ่มเดิน › ระยะการก้าว › ความกว้างของเท้า › เท้าพ้นพื้น › BESTest / MiniBESTest – 36 / 14 หัวข้อ: โครงสร้าง ร่างกาย, การทางานของร่างกาย, กิจกรรม › ลุกยืน › ยืน › การจะล้ม › การทรงตัว › การเดิน – เปลี่ยนแปลงความเร็ว › การหมุนตัว › การก้าวข้ามสิ่งกีดขวาง › Timed up & go with DUAL TASK
  • 24.
  • 26. Morse Fall Scale แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ . สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุกรมการแพทย์2551.
  • 27.
  • 28. Thai Fall Risk Assessment Test (Thai-FRAT) Ladda Thiamwong, et al. J Med Assoc Thai 2008;91:1823-32.
  • 29. Berg Balance Scale ประเมินความเสี่ยงใน 14 กิจกรรม (นั่ง และยืน) › ลุกขึ้นยืน › ยืนตรง › นั่งตัวตรง › นั่งลง › เปลี่ยนเก้าอี้ › ยืนหลับตา › ยืนตัวตรงเท้าชิด › เอื้อมมือไปข้างหน้า › ก้มเก็บของจากพื้นขณะยืนอยู่ › หันไปมองข้างหลัง › กลับหลังหัน › ก้าวแตะสลับเท้าบนม้านั่งเตี้ย / ขั้น › ยืนต่อเท้า › ยืนบนขาข้างเดียว
  • 30. › แต่ละกิจกรรม คะแนน 0 – 4 › คะแนนรวมสูงสุด 56 › Cut off score of 45 for independent safe ambulation › 41-56 = low fall risk › 21-40 = medium fall risk › 0 –20 = high fall risk
  • 31. Timed Single Leg Stance Test › ง่าย และประหยัดเวลา › ยืนตรง เท้าเปล่า พื้นเรียบ ตามองตรง มือแตะไหล่ด้านตรงข้าม ข้อสะโพกเหยียดตรง งอเข่า 90o – ลืมตา / หลับตา › เริ่มจับเวลา: ยกขาข้างหนึ่งขึ้น › หยุดจับเวลา: เท้าที่ยกแตะพื้น / แตะขาอีกข้าง; ขาข้างที่ยืน เคลื่อน; มือหลุดจากที่; ลืมตา › ทดสอบ 3 ครั้ง หาค่าเฉลี่ย › <30 วินาที = เสี่ยงล้ม › <5 วินาที = เสี่ยงล้มมาก
  • 32.