SlideShare a Scribd company logo
รูปภาพจาก: http://www.learners.in.th/blogs/posts/459323?locale=en
การศึกษา คือ
การสร้างคนให้มีความรู้ ความสามารถมีทักษะ
พื้นฐานที่จาเป็นมีลักษณะนิสัยจิตใจที่ดีงาม มีความพร้อมที่
จะต่อสู้เพื่อตนเองและสังคม มีความพร้อมที่จะ
ประกอบการงานอาชีพได้
การศึกษาจึงได้เป็นปัจจัยที่ 5 ของชีวิต เป็นปัจจัยที่
จะช่วยแก้ปัญหาทุก ๆ ด้านของชีวิตและเป็นปัจจัยที่สาคัญ
ที่สุดของชีวิตในโลกที่มีกระแสความ เปลี่ยนแปลงทางด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่าง รวดเร็ว และส่งผล
กระทบให้วิถีดารงชีวิตต้องเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
เช่นเดียวกัน การศึกษายิ่งมีบทบาทและความจาเป็นมากขึ้น
ด้วย(ดร.พนม พงษ์ไพบูลย์:2552)
รูปภาพจาก: http://iambookstore.lnwshop.com/article
เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology,
IT) หมายถึง เทคโนโลยีในการประมวลผลสารสนเทศ
ซึ่งก็คือเทคนิควิธีการต่างๆ ที่ถูกนามาใช้ในการจัดการ
ข้อมูล เช่น การจัดเก็บข้อมูล การสื่อสารข้อมูล การ
สืบค้นข้อมูล การแสดงผลข้อมูล เป็นต้น
โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้การจัดการข้อมูล เป็นไป
อย่างสะดวกรวดเร็ว และง่ายดายยิ่งขึ้น ส่งผลต่อการ
พัฒนาและความก้าวหน้าต่าง ๆ ในชีวิตประจาวันของ
เรา ( ITeXcite : 2553)
รูปภาพจาก: http:/saritapear.blogspot.com
E-learning คืออะไร
คือ การเรียน การสอนในลักษณะ หรือรูปแบบใดก็
ได้ ซึ่งการถ่ายทอดเนื้อหานั้น กระทาผ่านทางสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ เช่น ซีดีรอม เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต หรือ ทางสัญญาณโทรทัศน์
หรือ สัญญาณดาวเทียม (Satellite) ฯลฯ เป็นต้น
ซึ่งการเรียนลักษณะนี้ได้มีการนาเข้าสู่ตลาด
เมืองไทยในระยะหนึ่งแล้ว เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอนด้วย
ซีดีรอม, การเรียนการสอนบนเว็บ (Web-Based
Learning), การเรียนออนไลน์ (On-line Learning) การ
เรียนทางไกลผ่านดาวเทียม หรือ การเรียนด้วยวีดีโอ
ออนไลน์ เป็นต้น
E-learning คืออะไร (ต่อ)
รูปภาพจาก: http://www.netthailand.com/home/articles.php?art_id=12&start=1
การนา e-Learning ไปใช้ประกอบการเรียน
การสอนสามารถทาได้ 3 ลักษณะ ดังนี้
1. สื่อเสริม (supplementary) นอกจากเนื้อหาที่
ปรากฏในลักษณะ e-Learning แล้ว ผู้เรียนยังสามารถ
ศึกษาเนื้อหาเดียวกันนี้ในลักษณะอื่น ๆ เช่น จากเอกสาร
ประกอบการสอน เป็นต้น การใช้ e-Learning ในลักษณะ
นี้ผู้สอนเพียงต้องการให้ผู้เรียนมีทางเลือกอีกทางหนึ่ง
สาหรับการเข้าถึงเนื้อหา
2. สื่อเติม (complementary) ผู้สอนออกแบบเนื้อหา
ให้ผู้เรียนเข้าไปศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติมจาก e-Learning
3. สื่อหลัก (comprehensive replacement) เป็น
การนา e-Learning ไปใช้ในลักษณะแทนที่การบรรยายใน
ห้องเรียน ผู้เรียนจะต้องศึกษาเนื้อหาทั้งหมดออนไลน์
(ถนอมพร เลาหจรัสแสง:2545)
องค์ประกอบของ e- learning
ที่สาคัญมี 4 ส่วน คือ
1. เนื้อหา (content)
2. ระบบบริหารการเรียน
3. การติดต่อสื่อสาร
4. การสอบ/วัดผลการเรียน
รูปภาพจาก: www.chontech.ac.th
เนื้อหาของ e-learning สามารถแบ่งเป็น
3 ลักษณะดังนี้
1. ระดับเน้นข้อความออนไลน์ (text online) เนื้อหา
จะอยู่ในรูปของข้อความเป็นหลัก ซึ่งมีข้อดีคือเป็นการ
ประหยัดเวลา และค่าใช้จ่ายในการผลิตเนื้อหาและการ
บริหารจัดการรายวิชาโดยผู้สอนหรือผู้เชี่ยวชาญเนื้อหา
สามารถผลิตได้ด้วยตนเอง
2. ระดับรายวิชาออนไลน์เชิงโต้ตอบและประหยัด
(low cost interactive online course) เนื้อหาจะอยู่ในรูป
ตัวอักษร ภาพ เสียง และวีดีทัศน์ ที่ผลิตขึ้นมาอย่างง่าย ๆ
ซึ่งควรมีการพัฒนา LMS ที่ดี เพื่อช่วยผู้สอนหรือ
ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาในการสร้างและปรับเนื้อหาให้
ทันสมัยได้ด้วยตนเอง
เนื้อหาของ e-learning สามารถแบ่งเป็น
3 ลักษณะดังนี้ (ต่อ)
3. ระดับรายวิชาออนไลน์คุณภาพสูง (high
quality online course) เนื้อหาจะอยู่ในรูปของ
มัลติมีเดียที่มีลักษณะมืออาชีพ การผลิตต้องใช้ทีมงาน
ในการผลิตที่ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา
(content experts) ผู้เชี่ยวชาญการออกแบบการสอน
(instructional designers) และผู้เชี่ยวชาญการผลิต
มัลติมีเดีย (multimedia experts) เนื้อหาในระดับนี้ต้อง
มีการใช้เครื่องมือหรือโปรแกรมเฉพาะสาหรับการผลิต
และเรียกดู เช่น Macromedia Flash หรือ Flash
Player เป็นต้น
ข้อดีของ e-Learning
1. e-Learning ช่วยให้การจัดการเรียนการสอนมี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพราะการถ่ายทอดเนื้อหาผ่านมัลติมีเดีย
ที่ได้รับการออกแบบและผลิตอย่างมีระบบจะช่วยให้ผู้เรียนเกิด
การเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าการเรียนจากสื่อ
ข้อความเพียงอย่างเดียว
2. e-Learning ช่วยให้ผู้สอนสามารถตรวจสอบ
ความก้าวหน้าพฤติกรรมการเรียนของผู้เรียนได้อย่างละเอียดและ
ตลอดเวลา
3. e-Learning ช่วยทาให้ผู้เรียนสามารถควบคุมการ
เรียนรู้ของตนเองได้ โดยสามารถเข้าถึงข้อมูลใดก่อนหรือหลังก็ได้
ตามพื้นฐานความรู้ ความถนัด และความสนใจของตน ทาให้ได้รับ
ความรู้และมีการจดจาที่ดีขึ้น
ข้อดีของ e-Learning (ต่อ)
4. e-Learning ช่วยให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน
กับครูผู้สอน และกับเพื่อน ด้วยเครื่องมือต่าง ๆ มากมาย
5. e-Learning เป็นการเรียนที่ผู้เรียนแต่ละคน จะ
ได้รับเนื้อหาของบทเรียนเหมือนเดิมทุกครั้ง
6. e-Learning ช่วยส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ทักษะ
ใหม่ ๆ รวมทั้งเนื้อหามีความทันสมัย และตอบสนองต่อ
เหตุการณ์ต่าง ๆ ในปัจจุบันได้อย่างทันที
7. e-Learning ทาให้เกิดการเรียนการสอนแก่
ผู้เรียนในวงกว้างขึ้น เป็นการสนับสนุนการเรียนรู้ตลอด
ชีวิต
รูปภาพจาก: www.rses.org
ข้อที่ควรคานึงถึงของ e-Learning
1. ความสาคัญของ e-Learning อยู่ที่การออกแบบ
ดังนั้นแม้ว่าเนื้อหา วิธีการ ที่มีอยู่จะส่งผ่านระบบเครือข่ายที่มี
ประสิทธิภาพอย่างไรก็ตาม แต่ถ้ารูปแบบไม่น่าสนใจ ไม่สามารถ
ดึงความสนใจของผู้เรียนไว้ได้ ก็ทาให้ผู้เรียนไม่อยากเรียน ก็จะไม่
บรรลุวัตถุประสงค์ในการศึกษาหาความรู้ การนา e-Learning ไป
ใช้ นอกจากจะไม่ประสบความสาเร็จแล้วยังทาให้เพิ่มค่าใช้จ่ายและ
เสียเวลาอีกด้วย
2. การใช้ e-Learning ต้องมีการลงทุนในเรื่องเครื่องมือ
และอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ที่พร้อมด้วยอุปกรณ์
มัลติมีเดีย และประสิทธิภาพของอุปกรณ์ที่ต้องเข้ากันได้ดี และ
ต้องคานึงถึงการเตรียมอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อการติดต่อสื่อสารทั้ง
ระหว่างผู้เรียน ผู้สอนอีกด้วย
จบการนาเสนอ
ข้อมูลอ้างอิง
ITeXcite, (2553), เทคโนโลยีสารสนเทศ คืออะไร.
สืบค้นได้จาก : http://www.itexcite.com/เทคโนโลยีสารสนเทศ-คืออะไร.html
26 กันยายน 2556
ถนอมพร เลาหจรัสแสง, (2545). Designing e-Learning : หลักการออกแบบและการสร้างเว็บเพื่อ
การเรียนการสอน.
สืบค้นได้จาก : http://www.e-learning.dss.go.th/knowledge/files/5649newchoice.htm
27 กันยายน 2556
ดร.พนม พงษ์ไพบูลย์, (2552), การศึกษาคือปัจจัยที่ 5 ของชีวิต.
สืบค้นได้จาก : http://www.gotoknow.org/posts/101128 26 กันยายน 2556
, E-learning คืออะไร.
สืบค้นได้จาก : http://www.netthailand.com/home/articles.php?art_id=12&start=1
27 กันยายน 2556
รูปภาพจาก: www.clinicaltrial-portal.com

More Related Content

Viewers also liked

Elearning คืออะไร
Elearning คืออะไร Elearning คืออะไร
Elearning คืออะไร
Pises Tantimala
 
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learningข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learningSudkamon Play
 
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning  การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
Surapon Boonlue
 
E Learning Presentation
E Learning PresentationE Learning Presentation
E Learning PresentationLBG
 

Viewers also liked (6)

Elearning คืออะไร
Elearning คืออะไร Elearning คืออะไร
Elearning คืออะไร
 
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learningข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
 
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning  การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
การใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอนและ e-Learning
 
E-Learning
E-LearningE-Learning
E-Learning
 
E Learning Presentation
E Learning PresentationE Learning Presentation
E Learning Presentation
 
Elearning.ppt
Elearning.pptElearning.ppt
Elearning.ppt
 

Similar to Electronic learning

R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
kanwan0429
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
kanwan0429
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
Natmol Thedsanabun
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
kruwaeo
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
gam030
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
nattawad147
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
Piyapong Chaichana
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
nattawad147
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
Theerayut Ponman
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
poppai041507094142
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
wanitchaya001
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
teerayut123
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
wanichaya kingchaikerd
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
benty2443
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
fernfielook
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
nattapong147
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
wanneemayss
 

Similar to Electronic learning (20)

R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 

Electronic learning

  • 2. การศึกษา คือ การสร้างคนให้มีความรู้ ความสามารถมีทักษะ พื้นฐานที่จาเป็นมีลักษณะนิสัยจิตใจที่ดีงาม มีความพร้อมที่ จะต่อสู้เพื่อตนเองและสังคม มีความพร้อมที่จะ ประกอบการงานอาชีพได้ การศึกษาจึงได้เป็นปัจจัยที่ 5 ของชีวิต เป็นปัจจัยที่ จะช่วยแก้ปัญหาทุก ๆ ด้านของชีวิตและเป็นปัจจัยที่สาคัญ ที่สุดของชีวิตในโลกที่มีกระแสความ เปลี่ยนแปลงทางด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่าง รวดเร็ว และส่งผล กระทบให้วิถีดารงชีวิตต้องเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เช่นเดียวกัน การศึกษายิ่งมีบทบาทและความจาเป็นมากขึ้น ด้วย(ดร.พนม พงษ์ไพบูลย์:2552) รูปภาพจาก: http://iambookstore.lnwshop.com/article
  • 3. เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology, IT) หมายถึง เทคโนโลยีในการประมวลผลสารสนเทศ ซึ่งก็คือเทคนิควิธีการต่างๆ ที่ถูกนามาใช้ในการจัดการ ข้อมูล เช่น การจัดเก็บข้อมูล การสื่อสารข้อมูล การ สืบค้นข้อมูล การแสดงผลข้อมูล เป็นต้น โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้การจัดการข้อมูล เป็นไป อย่างสะดวกรวดเร็ว และง่ายดายยิ่งขึ้น ส่งผลต่อการ พัฒนาและความก้าวหน้าต่าง ๆ ในชีวิตประจาวันของ เรา ( ITeXcite : 2553) รูปภาพจาก: http:/saritapear.blogspot.com
  • 4. E-learning คืออะไร คือ การเรียน การสอนในลักษณะ หรือรูปแบบใดก็ ได้ ซึ่งการถ่ายทอดเนื้อหานั้น กระทาผ่านทางสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ เช่น ซีดีรอม เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต หรือ ทางสัญญาณโทรทัศน์ หรือ สัญญาณดาวเทียม (Satellite) ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งการเรียนลักษณะนี้ได้มีการนาเข้าสู่ตลาด เมืองไทยในระยะหนึ่งแล้ว เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอนด้วย ซีดีรอม, การเรียนการสอนบนเว็บ (Web-Based Learning), การเรียนออนไลน์ (On-line Learning) การ เรียนทางไกลผ่านดาวเทียม หรือ การเรียนด้วยวีดีโอ ออนไลน์ เป็นต้น
  • 5. E-learning คืออะไร (ต่อ) รูปภาพจาก: http://www.netthailand.com/home/articles.php?art_id=12&start=1
  • 6. การนา e-Learning ไปใช้ประกอบการเรียน การสอนสามารถทาได้ 3 ลักษณะ ดังนี้ 1. สื่อเสริม (supplementary) นอกจากเนื้อหาที่ ปรากฏในลักษณะ e-Learning แล้ว ผู้เรียนยังสามารถ ศึกษาเนื้อหาเดียวกันนี้ในลักษณะอื่น ๆ เช่น จากเอกสาร ประกอบการสอน เป็นต้น การใช้ e-Learning ในลักษณะ นี้ผู้สอนเพียงต้องการให้ผู้เรียนมีทางเลือกอีกทางหนึ่ง สาหรับการเข้าถึงเนื้อหา 2. สื่อเติม (complementary) ผู้สอนออกแบบเนื้อหา ให้ผู้เรียนเข้าไปศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติมจาก e-Learning 3. สื่อหลัก (comprehensive replacement) เป็น การนา e-Learning ไปใช้ในลักษณะแทนที่การบรรยายใน ห้องเรียน ผู้เรียนจะต้องศึกษาเนื้อหาทั้งหมดออนไลน์ (ถนอมพร เลาหจรัสแสง:2545)
  • 7. องค์ประกอบของ e- learning ที่สาคัญมี 4 ส่วน คือ 1. เนื้อหา (content) 2. ระบบบริหารการเรียน 3. การติดต่อสื่อสาร 4. การสอบ/วัดผลการเรียน รูปภาพจาก: www.chontech.ac.th
  • 8. เนื้อหาของ e-learning สามารถแบ่งเป็น 3 ลักษณะดังนี้ 1. ระดับเน้นข้อความออนไลน์ (text online) เนื้อหา จะอยู่ในรูปของข้อความเป็นหลัก ซึ่งมีข้อดีคือเป็นการ ประหยัดเวลา และค่าใช้จ่ายในการผลิตเนื้อหาและการ บริหารจัดการรายวิชาโดยผู้สอนหรือผู้เชี่ยวชาญเนื้อหา สามารถผลิตได้ด้วยตนเอง 2. ระดับรายวิชาออนไลน์เชิงโต้ตอบและประหยัด (low cost interactive online course) เนื้อหาจะอยู่ในรูป ตัวอักษร ภาพ เสียง และวีดีทัศน์ ที่ผลิตขึ้นมาอย่างง่าย ๆ ซึ่งควรมีการพัฒนา LMS ที่ดี เพื่อช่วยผู้สอนหรือ ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาในการสร้างและปรับเนื้อหาให้ ทันสมัยได้ด้วยตนเอง
  • 9. เนื้อหาของ e-learning สามารถแบ่งเป็น 3 ลักษณะดังนี้ (ต่อ) 3. ระดับรายวิชาออนไลน์คุณภาพสูง (high quality online course) เนื้อหาจะอยู่ในรูปของ มัลติมีเดียที่มีลักษณะมืออาชีพ การผลิตต้องใช้ทีมงาน ในการผลิตที่ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา (content experts) ผู้เชี่ยวชาญการออกแบบการสอน (instructional designers) และผู้เชี่ยวชาญการผลิต มัลติมีเดีย (multimedia experts) เนื้อหาในระดับนี้ต้อง มีการใช้เครื่องมือหรือโปรแกรมเฉพาะสาหรับการผลิต และเรียกดู เช่น Macromedia Flash หรือ Flash Player เป็นต้น
  • 10. ข้อดีของ e-Learning 1. e-Learning ช่วยให้การจัดการเรียนการสอนมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพราะการถ่ายทอดเนื้อหาผ่านมัลติมีเดีย ที่ได้รับการออกแบบและผลิตอย่างมีระบบจะช่วยให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่าการเรียนจากสื่อ ข้อความเพียงอย่างเดียว 2. e-Learning ช่วยให้ผู้สอนสามารถตรวจสอบ ความก้าวหน้าพฤติกรรมการเรียนของผู้เรียนได้อย่างละเอียดและ ตลอดเวลา 3. e-Learning ช่วยทาให้ผู้เรียนสามารถควบคุมการ เรียนรู้ของตนเองได้ โดยสามารถเข้าถึงข้อมูลใดก่อนหรือหลังก็ได้ ตามพื้นฐานความรู้ ความถนัด และความสนใจของตน ทาให้ได้รับ ความรู้และมีการจดจาที่ดีขึ้น
  • 11. ข้อดีของ e-Learning (ต่อ) 4. e-Learning ช่วยให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน กับครูผู้สอน และกับเพื่อน ด้วยเครื่องมือต่าง ๆ มากมาย 5. e-Learning เป็นการเรียนที่ผู้เรียนแต่ละคน จะ ได้รับเนื้อหาของบทเรียนเหมือนเดิมทุกครั้ง 6. e-Learning ช่วยส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ทักษะ ใหม่ ๆ รวมทั้งเนื้อหามีความทันสมัย และตอบสนองต่อ เหตุการณ์ต่าง ๆ ในปัจจุบันได้อย่างทันที 7. e-Learning ทาให้เกิดการเรียนการสอนแก่ ผู้เรียนในวงกว้างขึ้น เป็นการสนับสนุนการเรียนรู้ตลอด ชีวิต รูปภาพจาก: www.rses.org
  • 12. ข้อที่ควรคานึงถึงของ e-Learning 1. ความสาคัญของ e-Learning อยู่ที่การออกแบบ ดังนั้นแม้ว่าเนื้อหา วิธีการ ที่มีอยู่จะส่งผ่านระบบเครือข่ายที่มี ประสิทธิภาพอย่างไรก็ตาม แต่ถ้ารูปแบบไม่น่าสนใจ ไม่สามารถ ดึงความสนใจของผู้เรียนไว้ได้ ก็ทาให้ผู้เรียนไม่อยากเรียน ก็จะไม่ บรรลุวัตถุประสงค์ในการศึกษาหาความรู้ การนา e-Learning ไป ใช้ นอกจากจะไม่ประสบความสาเร็จแล้วยังทาให้เพิ่มค่าใช้จ่ายและ เสียเวลาอีกด้วย 2. การใช้ e-Learning ต้องมีการลงทุนในเรื่องเครื่องมือ และอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ที่พร้อมด้วยอุปกรณ์ มัลติมีเดีย และประสิทธิภาพของอุปกรณ์ที่ต้องเข้ากันได้ดี และ ต้องคานึงถึงการเตรียมอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อการติดต่อสื่อสารทั้ง ระหว่างผู้เรียน ผู้สอนอีกด้วย
  • 13. จบการนาเสนอ ข้อมูลอ้างอิง ITeXcite, (2553), เทคโนโลยีสารสนเทศ คืออะไร. สืบค้นได้จาก : http://www.itexcite.com/เทคโนโลยีสารสนเทศ-คืออะไร.html 26 กันยายน 2556 ถนอมพร เลาหจรัสแสง, (2545). Designing e-Learning : หลักการออกแบบและการสร้างเว็บเพื่อ การเรียนการสอน. สืบค้นได้จาก : http://www.e-learning.dss.go.th/knowledge/files/5649newchoice.htm 27 กันยายน 2556 ดร.พนม พงษ์ไพบูลย์, (2552), การศึกษาคือปัจจัยที่ 5 ของชีวิต. สืบค้นได้จาก : http://www.gotoknow.org/posts/101128 26 กันยายน 2556 , E-learning คืออะไร. สืบค้นได้จาก : http://www.netthailand.com/home/articles.php?art_id=12&start=1 27 กันยายน 2556 รูปภาพจาก: www.clinicaltrial-portal.com