SlideShare a Scribd company logo
ใบความรู้ที่1 เรื่อง ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น
พื้นฐานความรู้เรื่องโน๊ต
ตัวโน๊ตทั้งหมด ตามที่เราคุ้นเคยคือ โด เรมี ฟาซอล ลา ที โด
ซึ่งโน้ตแต่ละตัวจะถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งโดยนาเอาตัวอักษร ภาษาอังกฤษมาตั้ง ดังนี้
C = โด D = เร
E = มี F = ฟา
G = ซอล A = ลา
B = ที
ซึ่งจะอธิบายได้ง่ายจากคีย์บอร์ด ดังนี้
อธิบายเพิ่มเติมจากรูปด้านล่าง ดังนี้
ให้ลูกศรชี้ขึ้น เป็นสัญลักษณ์แทนเสียงที่สูงขึ้นไป โดยการใส่เครื่องหมายชาร์ฟ (#) และ
ให้ลูกศรชี้ลง เป็นสัญลักษณ์แทนเสียงที่ต่าลงมา โดยการใส่เครื่องหมายแฟลต (b)
C สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = C# C ลดลงครึ่งเสียง = B
D สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = D# Dลดลงครึ่งเสียง = Db
E สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = F E ลดลงครึ่งเสียง = Eb
F สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = F# F ลดลงครึ่งเสียง = E
G สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = G# G ลดลงครึ่งเสียง = Gb
A สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = A# Aลดลงครึ่งเสียง = Ab
B สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = C B ลดลงครึ่งเสียง = Bb
จะสังเกตได้ว่า มีเสียงที่เท่ากันอยู่ดังนี้
C# = Db
D# = Eb
F#= Gb
G# = Ab
A# = Bb
ระดับเสียงและชื่อทางดนตรี
การกาหนดให้เสียงมีระดับสูงต่ากว่ากันตามชื่อเรียกได้ต้องมีบรรทัด 5
เส้นมีส่วนประกอบคือ จานวนเส้น 5 เส้นจานวนช่อง 4ช่อง
การบันทึกตัวโน้ตลงบนบรรทัด 5 เส้นทาได้ 2แบบ โดยการบันทึกจะต้องชัดเจนแน่นอน
1.ให้หัวตัวโน้ตวางบนเส้น(On a Line)
2.ให้หัวตัวโน้ตวางในช่อง (In a Space)
เราจะสามารถบอกชื่อตัวโน้ตต่างๆได้ ก็ต้องมีเครื่องหมายเฉพาะกากับไว้ก่อนหน้าตัวโน้ต
เครื่องหมายเฉพาะนี้เรียกว่า เครื่องหมายประจาหลัก ที่เราจะศึกษานี้ มี2 ชนิด
คือ กุญแจซอล
บรรทัด 5 เส้นประกอบด้วย
การกาหนดค่าความสั้นยาวของเสียง
นอกจากระดับเสียงแล้วเราต้องกาหนดความสั้นยาวของเสียงโดยการใช้สัญลักษณ์ทางดนต
รีอันได้แก่
โน๊ตตัวกลม
โน๊ตตัวขาว
โน๊ตตัวดา
โน๊ตเขบ็ต 1 ชั้น
หรือเมื่อมี 2
ตัวติดกันจะเขียน
โน๊ตเขบ็ต 2 ชั้น หรือเมื่อมี 2
ตัวติดกันจะเขียน
และอาจจะมีถึงโน๊ตเขบ็ต 3 หรือ 4ชั้นก็ได้
และอาจจะเขียนตัวโน๊ตกลับหัวก็ได้ทั้งนี้แล้วแต่ความเหมาะสมในการเขียน
โน๊ตตัวหยุด
ตัวหยุดจะบอกความสั้นยาวของการหยุดเสียงโดยใช้สัญลักษณ์ดังนี้
ตัวหยุดเทียบเท่าโน๊ตตัวกลม
ตัวหยุดเทียบเท่าโน๊ตตัวขาว
ตัวหยุดเทียบเท่าโน๊ตตัวดา
ตัวหยุดเทียบเท่าโน๊ตเขบ็ต 1ชั้น
ตัวหยุดเทียบเท่าโน๊ตเขบ็ต 2ชั้น
การแบ่งห้องทางดนตรี(Measure)
ในการบันทึกโน๊ตดนตรีจะต้องแบ่ง ออกเป็นส่วน ๆเท่า ๆ
กันด้วยเส้นกั้นแต่ละห้องในแนวดิ่งที่เรียกว่า bar line
โดยที่ผลรวมของจังหวะทั้งหมดในแต่ละห้องต้องมีความยาวหรือจังหวะเท่ากัน และ 1ห้อง
จะเรียกว่า 1 bar
Time Signature
- ตัวเลขตัวบน หมายถึง จานวนจังหวะใน 1 ห้อง(1bar) ว่าใน 1
ห้องดังกล่าวนั้นมีกี่จังหวะนับ เช่น 2หมายถึงในห้องนั้นมี 2จังหวะนับ ถ้า 3คือ มี3 จังหวะนับใน
1 ห้อง
- ตัวเลขตัวล่าง หมายถึง การกาหนดว่าจะให้สัญลักษณ์โน๊ตประเภทใดมีค่าเป็น 1จังหวะ
เช่นเลข4 จะหมายถึงให้โน๊ตตัวดา (quarter note) มีค่าเป็น 1 จังหวะ และมีผลให้โน๊ตตัวขาว (half
note)มีค่าเป็น 2 จังหวะนับ โน๊ตตัวกลม whole note) มีค่าเป็น 4จังหวะนับ และโน๊ตเขบ็ต 1 ชั้น
(eighth note) มีค่า 1/2จังหวะนับ เป็นต้น
ตัวอย่างtime signature ที่พบเห็นบ่อยๆ กันนะครับ
2
ให้โน๊ตตัวดามีค่าเป็น 1 จังหวะ และมี 2 จังหวะใน 1 ห้อง
4
3
ให้โน๊ตตัวดามีค่าเป็น 1 จังหวะ และมี 3 จังหวะใน 1 ห้อง
4
4
ให้โน๊ตตัวดามีค่าเป็น 1 จังหวะ และมี 4 จังหวะใน 1 ห้อง
4
6 ให้โน๊ตเขบ็ต 1 ชั้นมีค่าเป็น 1 จังหวะ และมี 6 จังหวะใน 1
ห้อง
8
12 ให้โน๊ตเขบ็ต 1 ชั้นมีค่าเป็น 1 จังหวะ และมี 12 จังหวะใน 1
ห้อง
8
โน๊ตประจุด (Dotted Note)
ในบางกรณีทีเราต้องการให้ค่าตัวโน๊ตนั้นมีจังหวะยาวขึ้นมาอีก ครึ่งหนึ่งของตัวมันเอง
เราจะใช้จุด (dot)
แทนค่าให้เพิ่มจังหวะอีกครึ่งนึงของตัวเองโดยเขียนจุดไว้ด้านข้างของตัวโน๊ตที่ต้องการเพิ่มจังหวะ
เช่นเมื่อต้องการสร้างโน๊ต 3 จังหวะจากโน๊ตตัวขาวที่มีค่า 2 จังหวะ(กรณีที่ time signature เป็น 4/4
โน๊ตตัวขาวมีค่า 2 จังหวะ)เราก็ประจุดโน๊ตตัวขาวซึ่งมีผลให้มีจังหวะเพิ่มขึ้นครึ่งนึงของ 2 คือ
1รวมเป็น 3 จังหวะ หรือเท่ากับโน๊ตตัวดา 3ตัว
หรือเมื่อให้โน๊ตตัวดา(มีความยาว 1
จังหวะ)ประจุดก็จะหมายถึงจังหวะจะเพิ่มขึ้นอีกครึ่งนึงของ 1 คือ 1/2 รวมเป็น 1 1/2หรือ
1จังหวะครึ่งนั่นเองซึ่งมีค่าเท่ากับโน๊ตเขบ็ต 1ชั้น 3 ตัว ลองดูจากการเปรียบเทียบข่างล่างนี้
เรื่อง__ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก.doc

More Related Content

More from pinglada1

ละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.docละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.doc
pinglada1
 
เหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docxเหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docx
pinglada1
 
สารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdf
สารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdfสารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdf
สารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdf
pinglada1
 
ลิเก.doc
ลิเก.docลิเก.doc
ลิเก.doc
pinglada1
 
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docxวันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
pinglada1
 
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docxสังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
pinglada1
 
โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
pinglada1
 
ศาสนาพุทธ.docx
ศาสนาพุทธ.docxศาสนาพุทธ.docx
ศาสนาพุทธ.docx
pinglada1
 
สังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxสังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docx
pinglada1
 
หอเกียรติยศ.doc
หอเกียรติยศ.docหอเกียรติยศ.doc
หอเกียรติยศ.doc
pinglada1
 
ละครรำ.docx
ละครรำ.docxละครรำ.docx
ละครรำ.docx
pinglada1
 
เรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docx
เรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docxเรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docx
เรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docx
pinglada1
 
หุ่นกระบอก.doc
หุ่นกระบอก.docหุ่นกระบอก.doc
หุ่นกระบอก.doc
pinglada1
 
ละครชาตรี.docx
ละครชาตรี.docxละครชาตรี.docx
ละครชาตรี.docx
pinglada1
 
หอศิล.doc
หอศิล.docหอศิล.doc
หอศิล.doc
pinglada1
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร.docx
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร.docxโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร.docx
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร.docx
pinglada1
 
หน้าที่ชาวพุทธ.docx
หน้าที่ชาวพุทธ.docxหน้าที่ชาวพุทธ.docx
หน้าที่ชาวพุทธ.docx
pinglada1
 
Session2Part2.ppt
Session2Part2.pptSession2Part2.ppt
Session2Part2.ppt
pinglada1
 
Session3Part2.ppt
Session3Part2.pptSession3Part2.ppt
Session3Part2.ppt
pinglada1
 
Session3Part1.ppt
Session3Part1.pptSession3Part1.ppt
Session3Part1.ppt
pinglada1
 

More from pinglada1 (20)

ละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.docละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.doc
 
เหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docxเหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docx
 
สารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdf
สารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdfสารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdf
สารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdf
 
ลิเก.doc
ลิเก.docลิเก.doc
ลิเก.doc
 
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docxวันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
 
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docxสังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
 
โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
 
ศาสนาพุทธ.docx
ศาสนาพุทธ.docxศาสนาพุทธ.docx
ศาสนาพุทธ.docx
 
สังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxสังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docx
 
หอเกียรติยศ.doc
หอเกียรติยศ.docหอเกียรติยศ.doc
หอเกียรติยศ.doc
 
ละครรำ.docx
ละครรำ.docxละครรำ.docx
ละครรำ.docx
 
เรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docx
เรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docxเรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docx
เรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docx
 
หุ่นกระบอก.doc
หุ่นกระบอก.docหุ่นกระบอก.doc
หุ่นกระบอก.doc
 
ละครชาตรี.docx
ละครชาตรี.docxละครชาตรี.docx
ละครชาตรี.docx
 
หอศิล.doc
หอศิล.docหอศิล.doc
หอศิล.doc
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร.docx
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร.docxโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร.docx
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร.docx
 
หน้าที่ชาวพุทธ.docx
หน้าที่ชาวพุทธ.docxหน้าที่ชาวพุทธ.docx
หน้าที่ชาวพุทธ.docx
 
Session2Part2.ppt
Session2Part2.pptSession2Part2.ppt
Session2Part2.ppt
 
Session3Part2.ppt
Session3Part2.pptSession3Part2.ppt
Session3Part2.ppt
 
Session3Part1.ppt
Session3Part1.pptSession3Part1.ppt
Session3Part1.ppt
 

Recently uploaded

bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (6)

bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 

เรื่อง__ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น_ไก่ต๊อก.doc

  • 1. ใบความรู้ที่1 เรื่อง ทฤษฎีดนตรีสากลเบื้องต้น พื้นฐานความรู้เรื่องโน๊ต ตัวโน๊ตทั้งหมด ตามที่เราคุ้นเคยคือ โด เรมี ฟาซอล ลา ที โด ซึ่งโน้ตแต่ละตัวจะถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งโดยนาเอาตัวอักษร ภาษาอังกฤษมาตั้ง ดังนี้ C = โด D = เร E = มี F = ฟา G = ซอล A = ลา B = ที ซึ่งจะอธิบายได้ง่ายจากคีย์บอร์ด ดังนี้ อธิบายเพิ่มเติมจากรูปด้านล่าง ดังนี้ ให้ลูกศรชี้ขึ้น เป็นสัญลักษณ์แทนเสียงที่สูงขึ้นไป โดยการใส่เครื่องหมายชาร์ฟ (#) และ ให้ลูกศรชี้ลง เป็นสัญลักษณ์แทนเสียงที่ต่าลงมา โดยการใส่เครื่องหมายแฟลต (b)
  • 2. C สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = C# C ลดลงครึ่งเสียง = B D สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = D# Dลดลงครึ่งเสียง = Db E สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = F E ลดลงครึ่งเสียง = Eb F สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = F# F ลดลงครึ่งเสียง = E G สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = G# G ลดลงครึ่งเสียง = Gb A สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = A# Aลดลงครึ่งเสียง = Ab B สูงขึ้นไปครึ่งเสียง = C B ลดลงครึ่งเสียง = Bb จะสังเกตได้ว่า มีเสียงที่เท่ากันอยู่ดังนี้ C# = Db D# = Eb F#= Gb G# = Ab A# = Bb ระดับเสียงและชื่อทางดนตรี การกาหนดให้เสียงมีระดับสูงต่ากว่ากันตามชื่อเรียกได้ต้องมีบรรทัด 5 เส้นมีส่วนประกอบคือ จานวนเส้น 5 เส้นจานวนช่อง 4ช่อง การบันทึกตัวโน้ตลงบนบรรทัด 5 เส้นทาได้ 2แบบ โดยการบันทึกจะต้องชัดเจนแน่นอน 1.ให้หัวตัวโน้ตวางบนเส้น(On a Line) 2.ให้หัวตัวโน้ตวางในช่อง (In a Space) เราจะสามารถบอกชื่อตัวโน้ตต่างๆได้ ก็ต้องมีเครื่องหมายเฉพาะกากับไว้ก่อนหน้าตัวโน้ต เครื่องหมายเฉพาะนี้เรียกว่า เครื่องหมายประจาหลัก ที่เราจะศึกษานี้ มี2 ชนิด คือ กุญแจซอล
  • 3. บรรทัด 5 เส้นประกอบด้วย การกาหนดค่าความสั้นยาวของเสียง นอกจากระดับเสียงแล้วเราต้องกาหนดความสั้นยาวของเสียงโดยการใช้สัญลักษณ์ทางดนต รีอันได้แก่ โน๊ตตัวกลม โน๊ตตัวขาว โน๊ตตัวดา โน๊ตเขบ็ต 1 ชั้น หรือเมื่อมี 2 ตัวติดกันจะเขียน โน๊ตเขบ็ต 2 ชั้น หรือเมื่อมี 2 ตัวติดกันจะเขียน และอาจจะมีถึงโน๊ตเขบ็ต 3 หรือ 4ชั้นก็ได้ และอาจจะเขียนตัวโน๊ตกลับหัวก็ได้ทั้งนี้แล้วแต่ความเหมาะสมในการเขียน
  • 4. โน๊ตตัวหยุด ตัวหยุดจะบอกความสั้นยาวของการหยุดเสียงโดยใช้สัญลักษณ์ดังนี้ ตัวหยุดเทียบเท่าโน๊ตตัวกลม ตัวหยุดเทียบเท่าโน๊ตตัวขาว ตัวหยุดเทียบเท่าโน๊ตตัวดา ตัวหยุดเทียบเท่าโน๊ตเขบ็ต 1ชั้น ตัวหยุดเทียบเท่าโน๊ตเขบ็ต 2ชั้น การแบ่งห้องทางดนตรี(Measure) ในการบันทึกโน๊ตดนตรีจะต้องแบ่ง ออกเป็นส่วน ๆเท่า ๆ กันด้วยเส้นกั้นแต่ละห้องในแนวดิ่งที่เรียกว่า bar line โดยที่ผลรวมของจังหวะทั้งหมดในแต่ละห้องต้องมีความยาวหรือจังหวะเท่ากัน และ 1ห้อง จะเรียกว่า 1 bar Time Signature - ตัวเลขตัวบน หมายถึง จานวนจังหวะใน 1 ห้อง(1bar) ว่าใน 1 ห้องดังกล่าวนั้นมีกี่จังหวะนับ เช่น 2หมายถึงในห้องนั้นมี 2จังหวะนับ ถ้า 3คือ มี3 จังหวะนับใน 1 ห้อง - ตัวเลขตัวล่าง หมายถึง การกาหนดว่าจะให้สัญลักษณ์โน๊ตประเภทใดมีค่าเป็น 1จังหวะ เช่นเลข4 จะหมายถึงให้โน๊ตตัวดา (quarter note) มีค่าเป็น 1 จังหวะ และมีผลให้โน๊ตตัวขาว (half note)มีค่าเป็น 2 จังหวะนับ โน๊ตตัวกลม whole note) มีค่าเป็น 4จังหวะนับ และโน๊ตเขบ็ต 1 ชั้น (eighth note) มีค่า 1/2จังหวะนับ เป็นต้น
  • 5. ตัวอย่างtime signature ที่พบเห็นบ่อยๆ กันนะครับ 2 ให้โน๊ตตัวดามีค่าเป็น 1 จังหวะ และมี 2 จังหวะใน 1 ห้อง 4 3 ให้โน๊ตตัวดามีค่าเป็น 1 จังหวะ และมี 3 จังหวะใน 1 ห้อง 4 4 ให้โน๊ตตัวดามีค่าเป็น 1 จังหวะ และมี 4 จังหวะใน 1 ห้อง 4 6 ให้โน๊ตเขบ็ต 1 ชั้นมีค่าเป็น 1 จังหวะ และมี 6 จังหวะใน 1 ห้อง 8 12 ให้โน๊ตเขบ็ต 1 ชั้นมีค่าเป็น 1 จังหวะ และมี 12 จังหวะใน 1 ห้อง 8 โน๊ตประจุด (Dotted Note) ในบางกรณีทีเราต้องการให้ค่าตัวโน๊ตนั้นมีจังหวะยาวขึ้นมาอีก ครึ่งหนึ่งของตัวมันเอง เราจะใช้จุด (dot) แทนค่าให้เพิ่มจังหวะอีกครึ่งนึงของตัวเองโดยเขียนจุดไว้ด้านข้างของตัวโน๊ตที่ต้องการเพิ่มจังหวะ เช่นเมื่อต้องการสร้างโน๊ต 3 จังหวะจากโน๊ตตัวขาวที่มีค่า 2 จังหวะ(กรณีที่ time signature เป็น 4/4 โน๊ตตัวขาวมีค่า 2 จังหวะ)เราก็ประจุดโน๊ตตัวขาวซึ่งมีผลให้มีจังหวะเพิ่มขึ้นครึ่งนึงของ 2 คือ 1รวมเป็น 3 จังหวะ หรือเท่ากับโน๊ตตัวดา 3ตัว หรือเมื่อให้โน๊ตตัวดา(มีความยาว 1 จังหวะ)ประจุดก็จะหมายถึงจังหวะจะเพิ่มขึ้นอีกครึ่งนึงของ 1 คือ 1/2 รวมเป็น 1 1/2หรือ 1จังหวะครึ่งนั่นเองซึ่งมีค่าเท่ากับโน๊ตเขบ็ต 1ชั้น 3 ตัว ลองดูจากการเปรียบเทียบข่างล่างนี้