SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
มานุษยวิทยาภยัพบิตัิ 
Anthropology of Disaster 
01-08-2014 
สุมนมาลย์ สิงหะ 
สา นกัวิจยัสงัคมและสุขภาพ 
sumonmarnsingha@hotmail.com 
การประชุมวิชาการสา นักวิจัยสังคมและสุขภาพ 
2557 Transforming Medicine – 
Transcending Disciplinary Boundaries
การนาเสนอ 
ส่วนที่ 1 แนวคิดมานุษยวิทยาและภัยพิบัติ 
(ANTHROPOLOGICAL THEORY & DISASTER) 
1. แนวคิดพฤติกรรมตอบสนองของมนุษย์- การปรับตัว-นิเวศวัฒนธรรม 
2. แนวคิดการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงทางสังคม 
3. แนวคิดเศรษฐศาสตร์การเมืองและนิเวศวิทยาการเมืองของความเปราะบาง 
4. การปรับตัวและพลังการฟื้นตัวชุมชน (Community Resilience) 
ส่วนที่2 สรุปผลที่ได้จากงานวิจัย 
ส่วนที่ 3 ข้อเสนองานวิจัยภัยพิบัติศึกษา (Disaster Studies) 
Torry, William (1979) Anthropology and Disaster Research. Disasters 3:1(p43-‐52) 
Oliver-Smith, A. (1996) Anthropological Research In Hazards And Disaster. Annual Review of Anthropology 25:303-328 
Walker, B. and Westley, F. (2011). Perspectives on Resilience to Disasters 
across Sectors and Cultures. Ecology and Society 16(2): 4.
สถิติการเกิดภัยพิบัติ ค.ศ. 1900-2011ผู้ได้รับผลกระทบคือใคร?
กา เนิดความรู้ด้านการลดความเสี่ยงภัยพิบัติใน 
ประวัติศาสตร์ความคิดตะวันตก 
 วาทกรรมภัยพิบัต:ิ ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการคริสต์ศตวรรษที่ 15-16 การเผชิญภัย 
พิบัติก่อนภาวะสมัยใหม่ มักถูกตีความว่าเป็นภาวะ “ธรรมชาติ” (Natural) 
คุกคาม ภายใต้การนา ความคิดของผู้เชี่ยวชาญและนักปรัชญานา ไปสู่การจัดการภัย 
พิบัติในแง่มุมกฎหมาย และการจัดการกับลักษณะทางกายภาพ เช่น สิ่งก่อสร้าง ผัง 
เมือง เขื่อน ฯล 
 แนวคิดดังกล่าวมีพื้นฐานมาจากสังคมมนุษย์อยู่ร่วมกับธรรมชาติและอิทธิพลของ 
ศาสนจักร 
 การใช้ความรู้ด้านวิทยาการและเทคโนโลยี เป็นแนวทางการแก้ไขภัยพิบัติเฉพาะหน้า 
เฉพาะเหตุการณ์ โดยที่ยังไม่มีแนวทางลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติในช่วงน้นั
ยกตัวอย่างกรณี เมืองลิสบอน โปรตุเกส เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวและสึนามิในปี ค.ศ. 1755
ภัยพิบัติ : โครงเรื่องร่วมสมัย 
 ภัยพิบัติเป็นการ “ลงโทษ” ของพระเจ้าต่อผู้คนผิดบาป หรือเมืองคนบาป 
 ชุดความสัมพันธ์ทางอา นาจของ “ศีลธรรม” พระเจ้า กับธรรมชาติ 
 สถาปัตยกรรม พื้นที่ และบริเวณที่เกิดเหตุการณ์ภัยพิบัติเป็นสัญลักษณ์แสดงถึง 
ศูนย์กลางอา นาจของพระเจ้า 
ปัญญาชนในยุคแสงสว่างปัญญา 
 Voltaire 1694-1778, 
 Rousseau 1712 in Voltaire’s 
defense, 
 Kant 1724 more scientific approach
มรดกของปัญญาชนยุคสมัยใหม่ (Modernism) 
 นิยามภัยพิบัติ: ภัยพิบัติมีลักษณะเฉพาะ เงื่อนไขและผลสืบเน่อืงในแต่ละ 
สังคมวัฒนธรรม ซึ่งมักถูกตีความ รับรู้ภายในบริบททางวัฒนธรรมและ 
ประวัติศาสตร์ของสังคมน้นัๆ 
 ภัยพิบัติ : นัยยะสา คัญของการรับรู้ คุกคามและท้าทายระเบียบสังคม ความ 
รับผิดของรัฐสมัยใหม่ซึ่งต่อผลโดยตรงต่อการจัดการภัยพิบัติ 
 ภัยพิบัติ : ความคิดเรื่องช่วงเวลาของภัยพิบัติ “ก่อน” และ “หลัง” เพื่อ 
แสดงเหตุการณ์และแบ่งช่วงเวลาความตระหนักร่วมของสังคม 
 สิ้นสุดปี ค.ศ.1989 กระบวนทัศน์ดังกล่าวยังมีพลังในการอธิบายสังคม 
จนกระทั่งปฏิวัติฝรั่งเศสและลุกลามไปถึงภูมิภาคยุโรป 
 ภัยพิบัติ ยังเป็นสัญลักษณ์ที่เป็นผลกระทบทางธรรมชาติ มากกว่าสิ่งที่เหนือ 
ธรรมชาติ (ความโกรธเกรี้ยวของพระเจ้า และการลงโทษคนบาป)
แนวคิดการลดความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ(natural hazard) 
Video - highlighting the implementation of HFA (5 min) 
http://www.preventionweb.net/globalplatform/2013/programme/plenary/view/476 
Governments and DRR: A Sustainable Engagement by Mr. Omar Samad, 
Afghanistan Senior Expert, USA (Moderator)
โจทย์คือ ช่องว่างระหว่างความความร้วูิทยาศาสตร์และ 
ความรู้ท้องถิ่นในการลดความเสี่ยงภัยพิบัติ 
• Gaillard & Mercer ภัยพิบัติเป็น “สนามรบของความรู้” 
• อะไรคือสนามรบ ? ปัญหาคืออะไร? 
• การแก้ไขปัญหาภัยพิบัติทา ได้อย่างไรบ้าง? 
• นักมานุษยวิทยาจะมีส่วนร่วมได้อย่างไร? 
JC Gaillard Jessica Mercer Bridging the gap between 
top-down and bottom-up initiatives in disaster risk reduction (DRR)
มานุษยวิทยากับภัยพิบัติ : มานุษยวิทยาคลาสสิก 
 ภาคสนาม (fieldwork) กลายเป็นวิธีวิทยาหลักของ 
การศึกษาทางมานุษยวิทยาในปัจจุบัน การศึกษาอาณา 
บริเวณ ถิ่นฐานทางวัฒนธรรมต่างๆ ส่วนใหญ่จะศึกษา 
สังคมแอฟริกัน และขยายไปวัฒนธรรมคนอื่น 
 มานุษยวิทยาเริ่มต้นศึกษาชนเผ่า (Nuer, Navajo, 
Turkana, Dobu, Lozi, and Tikopia) โดยมองว่าภัย 
ธรรมชาติจะทดสอบกระบวนการทางสังคม ซึ่งโดยมาก 
จะศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางฤดูกาลเท่านั้น 
 แนวคิดการกา หนดทางสิ่งแวดล้อมและความแนวคิดเชิง 
ความเป็นไปได้ มีอิทธิพลต้งัแต่ ค.ศ. 1960s 
19th century miasma 
ศตวรรษที่ 19 โรคอหิวาห์ระบาด 
เป็นการปฏิวัติความคิดว่าโรคภัย 
ไม่ได้เกิดจากภูตผีจากเกิดจาก 
“เชื้อโรคในอากาศ” แพร่หลายใน 
ยุโรป จีนและอินเดีย ก่อนการ 
ค้นพบเชื้อโรคและทฤษฎีเชื้อโรค
ยกตัวอย่าง 1 : 
อีวาน-พริดชาร์ด (Evans- Pritchard ,1940:130): พฤติกรรมที่ตอบสนองต่อความแห้งแล้ง “ 
ในช่วงภาวะขาดแคลนอาหาร ชาวเผ่าดินก้าบ่อยครั้งมักจะอพยพเคลื่อนย้ายมาอยู่ใกล้ชาวนูเออร์ 
โดยที่ต้องได้รับการยอมรับจากชาวนูเออร์เสียก่อน.." 
การเคลื่อนย้ายถ่นิฐานเป็นกลยุทธในการปรับตัว 
ให้อยู่รอดของชนเผ่าเร่ร่อน ซึ่งเส้นทาง 
เคลื่อนย้ายจะตัดสินใจจากฤดูกาลที่เปลี่ยนแปลง 
ระดับน้า ท่วม พื้นที่ราบลุ่มสา หรับเพาะปลูกพืช 
ท้องถ่นิ รวมทั้งทางเลือกในการดา รงชีพอื่นๆ 
เช่น ตกปลา ล่าสัตว์ และล่าสัตว์สา หรับใช้งาน 
เม่อืต้องเคลื่อนย้าย ถ้าชาวนาก็จะมีการใช้ 
ประโยชน์ที่ดินที่สอดคล้องกับช่วงฤดูฝนและนา้ 
ท่วม
 พิธีกรรม และ กฎของกลุ่ม 
 เครือข่ายหมอผีใช้คาถา เวทมนต์ พิธีกรรมขอฝนในตะวันออกเฉียงใต้ของ 
สหรัฐอเมริกา 
• Uduk weather control rituals using rain stones 
http://www.voicesfromthebluenile.org/sixties.html 
• แนวคิดพฤติกรรมตอบสนอง & มานุษยวิทยาปรับตัว 
• ขาดความสนใจโฟกัสที่ภัยพิบัติ?
ยกตัวอย่าง 2 นักคิดคนสา คัญ : แนวคิดพฤติกรรมตอบสนองและ 
การปรับตัว 
Floods are “Acts of God”, 
but flood losses are laregly acts of man” 
Gilber White 1945
แนวคิดกิลเบร์ิต ไวท์“การปรับตัวกับนา้ท่วม” 
กระบวนทัศน์ลดความเสี่ยง ค.ศ. 1937/1945 
ปฏิกิริยาของคนต่อนา้ท่วม : 
 ผังการใช้ประโยชน์ที่ดิน 
 ลดความแรงจากนา้ท่วม 
 การป้องกันนา้ท่วม (การจัดการทางวิศวกรรม คลอง 
ทางระบายนา้ 
 การจัดการภาวะฉุกเฉิน 
 การจัดการเชิงโครงสร้าง ผังเมือง สถาปัตยกรรม 
 การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน 
MacDonald et al. (2011) The  การบรรเทาทุกข์ และการประกันภัย 
significance of Gilbert F. White's 1945 
paper 'Human adjustment to floods. 
Progress in Physical Geography 36(1) 
125–133
ข้อวิพากษ์แนวคิดพฤติกรรมตอบสนองของมานุษยวิทยา 
สายคลาสสิก 
• จุดเน้นที่ “ความสมดุล” ระบบนิเวศสัมพันธ์จะความสมดุลกับการดารงอยู่ของรัฐซึ่ง 
ไม่ได้หยุดนิ่งตายตัวแต่มี “พลวัต” (dynamic) ผู้ปกครองอาณานิคมและผู้ปกครอง 
• ความสัมพันธ์กับธรรมชาติที่ดารงอย่ใูนมิติต่างๆ ไม่ว่าการเลี้ยงสัตว์ ครอบครัว 
วัฒนธรรมการเกษตร และประมงไม่ได้เกิดจากวงจรภายในเพียงอย่างเดียว แต่ 
อาจจะได้รับแรงกดดันจากภายนอกด้วย 
• มนุษย์สามารถที่จะปรับตัวดิ้นต่อสู้กับธรรมชาติได้อย่ภูายใต้โครงสร้างสังคมเท่านั้น 
• อีวาน-พริดชาร์ด (1940:92) 
Torry, William (1979) Anthropology and Disaster Research. Disasters 3:1(p43-‐52).
แนวคิดกา หนดนิยมทางสิ่งแวดล้อม & ภูมิศาสตร์มานุษยวิทยา 
 อิทธิพลของมุมมองนักธรรมชาตินิยม 
และนักกายภาพที่มอง ความน่ากลัว 
ความรุนแรงเกิดจาก “ธรรมชาติ” หรือ 
ธรรมชาติบนความเกรี้ยวกราด(Frazier 
1979; Maybury 1986; Ebert 1993; 
de Blij 1994). 
 นักมานุษยวิทยาก็สนใจความสัมพันธ์ 
ระหว่าง “สิ่งแวดล้อม” และ “ลักษณะ 
ทางวัฒนธรรม”
จุดเริ่มต้นพัฒนาการภัยพิบัติศึกษาในมุมมองมานุษยวิทยา 
(1950-1960) 
 ค.ศ. 1950 : การศึกษาภัยพิบัติเชิงระบบ (systematic approach)ครั้งแรก 
เป็นการศึกษาเชิงลึกถึงผลสืบเนื่องทางสังคมจากภัยพิบัติ 
 ค.ศ. 1950 1953 – 1955 : การประยุกต์ใช้มานุษยวิทยาในการศึกษา 
สังคมภัยพิบัติในการประชุมทางวิชาการที่ชิคาโกและบลูมมิงตัน 
 ค.ศ. 1950 1955 : งานสัมมนา “ทฤษฎีพฤติกรรมมนุษย์ในภาวะสุดโต่ง” 
 Anthony Wallace (1956): แนวคิด Mazeway Disintegration - การรับรู้ 
ถึงความไร้ระเบียบทางสังคมวัฒนธรรมของปัจเจก 
 กรณีศึกษาเกาะ Tikopia by Firth (1959) และ Spillius (1957). ภัยพิบัติ 
จากภายนอกและภาวะสุดโต่งของเหตุการณ์ภัยพิบัติ
แนวคิดนิเวศวิทยาวัฒนธรรม (CULTURAL ECOLOGY) 
 ค.ศ. 1956 การเริ่มต้นของแนวคิด “นิเวศวัฒนธรรม” (Barth 1956 – 
“niche”; Steward 1955 – culture core) 
 พยายามก้าวข้ามแนวคิดกา หนดนิยมธรรมชาติและแนวคิดเชิงความเป็นไปได้ 
 สภาพแวดล้อมและวัฒนธรรมไม่ได้แยกขาดจากการโดยสิ้นเชิงแต่มีความ 
เชื่อมโยงกันอย่างเป็นแบบแผนพฤติกรรม 
 สภาพแวดล้อมมีอิทธิพลต่อการปรับตัวของมนุษย์ แต่ไม่ใช่เป็นตัวกา หนด 
 รูปแบบของการจัดระเบียบทางสังคมได้รับการพัฒนาขึ้นย่อมมีแตกต่างกันข้นึอยู่ 
กับเงื่อนไขของสภาพแวดล้อม กลยุทธ์ในการปรับตัวเพื่ออยู่รอดและเป้าหมาย 
 แก่นแกนทางวัฒนธรรม : การปรับตัวซึ่งเป็นกระบวนการทางวัฒนธรรม วิถีการ 
ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง ไม่หยุดนิ่งตายตัว ได้แก่ อาหาร 
เครื่องแต่งงาน บ้านเรือน การทา มาหากิน ฯล
 แนวคิดนิเวศวิทยาในมุมมองมานุษยวิทยา 
 การศึกษาเชิงชาติพันธุ์วรรณานิเวศ : 1960-1970s 
เน้นการศึกษาความรู้ท้องถ่นิ (local knowledge) 
 ระบบการฟื้นตัว: 
“Total of living organisms and non-living substances 
bound together in material exchanges with in some 
demarcated portion of the biosphere” (Rappaport 
1971) 
 การรักษาภาวะสมดุล หรือ ดุลยภาพ ? ทา ได้อย่างไร 
วิเคราะห์ระดับประชากร การจัดระบบถ่นิฐานบ้านเรือน 
การใช้ประโยชน์ที่ดิน แบบแผนฤดูกาล การผลิต และการ 
บริโภค 
การปฏิสัมพันธ์ระหว่าง “มนุษย์” และ “ระบบนิเวศ” ใน 
ฐานะหน่วยการวิเคราะห์ทางมานุษยวิทยา
2. แนวคิดการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงทางสังคม 
DEVELOPMENTAL / SOCIAL CHANGE APPROACH 
 สังคมจารีตมีการปรับตัว โดยที่รัฐไม่ได้เข้าไปมีบทบาทมากนัก แต่ใน 
ระเบียบโลกได้สร้างความเปลี่ยนแปลงที่ไร้พรมแดน (ตัวอย่าง David 
Harvey) รัฐได้ขยายขอบเขตอานาจเข้าไปสอดส่องและควบคุมประชากร 
 ภัยพิบัตินา ไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางสังคม 
 ผลกระทบทางบวกและทางลบของภัยพิบัตินา ไปสู่คา ถามต่อการพัฒนา 
 ในทางมานุษยวิทยา— โดยเฉพาะสถาปัตยกรรมเป็นประเด็นที่นา ความ 
เปลี่ยนแปลงในระยะยาว 
 กระบวนทัศน์ใหม่เรื่องมานุษยวิทยานิเวศ –มนุษย์สร้างความไม่สมดุลกับ 
ธรรมชาติ การฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมจากภัยพิบัติถือเป็นวิวัฒนาการ (เส้นตรง) 
ของสังคม และต่อยอดความสนใจศึกษาพฤติกรรมตอบสนองไม่เพียงกลุ่ม 
คน แต่สนใจพฤติกรรมระดับปัจเจกด้วย
2.1 การเกิดขึ้นของแนวคิดการพัฒนาและภัยพิบัติ 
 การพัฒนาเส้นตรงที่ส่งผลต่อกระทบสังคม 
 การพัฒนาแบ่งภูมิภาคทา ให้เกิดวัฒนธรรมท้องถ่นิและวัฒนธรรมศูนย์กลาง 
 ภัยพิบัติเป็นการพังทลายของระบบสังคมและการจัดการที่ล้มเหลว 
 ลักษณะภัยพิบัติที่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมอย่างไร ถือเป็นส่วนหนึ่งของ 
วิวัฒนาการสังคม 
 ระบบที่ไม่ยั่งยืน ทั้งความสมดุลของสิ่งแวดล้อมเป็นราคาที่ต้องจ่ายให้กับการ 
เพิ่มข้นึของความซับซ้อนของระบบสังคมอย่างไร 
 การขยายตัวแบบภูมิภาคที่บูรณาการเศรษฐกิจและการเมืองเข้าด้วยกันถือเป็น 
เงื่อนไขของการเกิดภัยพิบัติหรือไม่? 
Torry, William (1979) Anthropology and Disaster Research. Disasters 3:1(p43-‐52).
ภัยพิบัติ& การพัฒนา 
https://www.youtube.com/watch?v=H5vm6w318HI
3. แนวคิดเศรษฐศาสตร์การเมืองและนิเวศวิทยาการเมืองของความ 
เปราะบาง 
1. สาเหตุและปรากฎการณ์ของภัยพิบัติเป็น 
กระบวนการทางสังคมและโครงสร้างสังคม 
2. กลุ่มทางสังคมวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน จะ 
เปิดรับความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติแตกต่างกัน 
ทั้งนี้ข้นึอยู่กับศักยภาพในการรับมือกับ 
ผลกระทบจากภัยธรรมชาติ 
Nicole Ball (1975) The myth of the natural disaster. Resurgence & 
Ecologist, Vol 5 No 10 O’Keefe K. Westgate, and B. Wisner. (1976) 
Taking the naturalness out of natural disasters. Nature, vol. 260, pp. 566- 
567. Tiranti ,D.(1977) The Un-natural Disasters. The New Internationalist, 
no. 53, pp. 5-6. Hewitt (1983) Interpretations of Calamity from the 
Viewpoint of Human Ecology. Boston, Allen 
“ภัยพิบัติควรสนใจมิติการเมืองที่ส่งผลต่อกระบวนการทาให้เป็นชายขอบ (marginalization) ความยากจน 
และความสูญเสีย มากกว่าความเที่ยงตรงของการพยากรณ์และเง่อืนไขทางภูมิศาสตร์ที่ติดตรึงกับพื้นที่”
4. แนวคิดพลังฟื้นตัวและศักยภาพในการปรับตัว RESILIENCE 
& ADAPTIVE CAPACITY 
 Resilio ในภาษาละติน หมายความว่า “กระโดดกลับ” 
 Holling (1973) ‘‘a measure of the persistence of systems and of 
their ability to absorb change and disturbance and still maintain the 
same relationships between populations or state variables’’ (p. 14) 
 การฟื้นตัวนา มาประยุกต์ในแนวคิดระบบนิเวศ หรือ บูรณาการระบบ 
และโครงสร้างทั้ง “คน” และ “สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ” แบ่งได้ 3 
ลักษณะ 
1. การเปลี่ยนแปลงระบบที่ยังสามารถทา หน้าที่ และรักษาโครงสร้าง 
2. ระดับความสามารถในการจัดการตนเอง 
3. ความสามารถเพิ่มมากข้นึแข็งแกร่งมากข้นึในการเรียนร้แูละปรับตัว
ภูมิทัศน์นาขั้นบันไดที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับระบบนิเวศ ประเทศฟิลิปปินส์
4.1 ทบทวนแนวคิดการฟื้นฟูตัวและศักยภาพในการปรับตัว 
 มานุษยวิทยาภัยพิบัติ : ความเกี่ยวข้องของการฟื้นฟูตัวและศักยภาพในการ 
ปรับตัว 
1. แบบแผนทางวัฒนธรรมที่สร้างการรับรู้ความเสี่ยง มหันตภัย ภัยพิบตัิ ความ 
เสียหาย 
2. “ภาวะสมดุล” ของระบบเศรษฐกิจและสังคมย่อมมีการเปลี่ยนแปลง มีระบบการ 
จัดการที่ซับซ้อน และพลวัตของมหันตภัย 
3. ภัยพิบัติเป็นการฟ่าฟัน (ระบอบ ) ฝ่าพ้นการเปลี่ยนแปลงของระบบ โครงสร้าง 
ผลกระทบของภัยพิบัติขึ้นอยู่กับภูมิทัศน์ที่ยั่งยืน วงจรการปรับตัวและ 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่างๆ 
4. พลังการฟื้นตัวลดลงนา ไปสู่ “ความเปราะบาง” ของระบบ ขณะความสามารถ 
รับมือกับความโกลาหลได้ถือว่าไม่เปราะบาง 
5. พลังการฟื้นตัวสัมพันธ์กับกระบวนการทางวัฒนธรรม การปรับตัว การเรียนร้แูละ 
ความหลากหลายทางสังคม
4.2 ความหมายของการรับมือและพลังการฟื้นตัวระดับปัจเจก ชุมชนและ 
สังคม 
 McElroy & Townsend (2007) : ความสัมพันธ์ทางสังคมที่เกื้อหนุนต่อระบบโดยรวม 
 ภัยพิบัติในสังคมทุนนิยมจะเกี่ยวกันพันกับเครือข่ายทางสังคมและการ 
แลกเปลี่ยนต่างตอบแทน ความไว้วางใจเป็นค่าทุนทางสังคม (Putnam 
2000:19) รวมทั้งการแบ่งปันความเช่อืและค่านิยม 
 ฟื้นฟูตนเองเพื่อรักษาระบบ กลไกและโครงสร้างที่ยังทา หน้าที่ได้ 
 ยกตัวอย่าง ความขบขัน : Laughter may be best medicine 
 การตีความความหมายของความทุกข์ 
Carl Jung “Art is the cure for suffering.“
4.3 ความหมายการรับมือและพลังการฟื้นตัว 
 Nancy Scheper Huges นักมานุษยวิทยาการแพทย์ที่Berkeley ( หนังสือชื่อ 
A Talent For Life, Ethnos 2008): ความหมายของการฟื้นตัวระดับปัจเจก 
และโครงสร้าง 
1. กระบวนการทา ให้ภาวะวกิฤตเป็นปกติ 
2. เรื่องเล่า การรื้อฟื้นเพื่อเยียวยาประสบการณ์เจ็บปวด 
3. กลับหัวกลับหาง : “ผู้ประสบภัยกลายเป็นวีรบุรุษไม่ใช่เหยื่อ” 
4. เครื่องมือ & การปรับปรุงโครงสร้าง 
5. กระบวนการกล่อมเกลาทางสังคม 
6. ตลกร้าย: ความย้อนแย้ง & ความไร้สาระ 
7. เฉลิมฉลอง : คานิวัล , การเต้นรา, “I won’t cry. My life is hard 
enough”
Hoffman and Anthony, ed. 
2002 
 การจัดการภัยพิบัติของสังคมสมัยใหม่ที่รัฐ 
ได้กลายเป็นตัวละครสา คัญในการจัดการกับ 
ภัยพิบัติ 
 ความขัดแย้งระหว่างความเห็นของ 
ผู้เชี่ยวชาญกับความรู้ท้องถิ่นในการประเมิน 
ภัยพิบัติ 
ระบบโครงสร้างที่ไม่เป็นธรรมนี้ได้ลดทอน 
ความสามารถในการฟื้นคืน (Resilience) 
และลดศักยภาพในการจัดการรับมือกับภัย 
พิบัติ 
การปรับตัวในลักษณะ “เอาตัวรอดเฉพาะ 
หน้า” จะย่งินา มาซึ่งการทา ลายระบบนเิวศน์ 
และสภาพแวดล้อมมากขึ้นไปอีก
Adriana Petryna ,2003 
 การแพทย์ชีวภาพและมาตรฐาน 
ความร้เูรื่องรังสีนิวเคลียร์(clinical 
data) อยู่เหนือความร้ใูน 
ชีวิตประจา วันของผู้รอดชีวิตที่เสี่ยง 
ต่อผลพันธุกรรมรวมทั้งหลักเกณฑ์ 
นิยามการชดเชย การพิสูจน์ความ 
เป็นพลเมือง 
 เรื่องเล่าทางการแพทย์ของภัยพิบัติ 
จากรังสี (ระบาดวิทยา) ของ 
ผู้รอดชีวิต
ส่วนที่ 2 รูปธรรมจากงานวิจัย 
 งานวิจัยเรียนร้อูยู่กับภัยพิบัติ : นิเวศวัฒนธรรม สื่อ รัฐและพลวัตชุมชน 5 ลักษณะ 
งานวิจัย “สหวิทยาการ” เป็นมุมมองสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ สาธารณสุข สังคม 
สงเคราะห์และระบาดวิทยา 
 พื้นที่ 8 พื้นที่ (จังหวัดพิษณุโลก นครสวรรค์ พิจิตร อยุธยา นครปฐม สงขลา 
นครศรีธรรมราชและภูเก็ต) 
 การทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้องและสัมภาษณ์ สังเกต คลุกคลีกับผู้ให้ข้อมูล (key 
Informants) 264 คน จานวน 200 หลังคาเรือน 
- กลุ่มผู้นา /ผู้รู้ 
- กลุ่มอาชีพ/กลุ่มช่าง 
- กลุ่มกู้ชีพกู้ภัย 
- กลุ่มเสี่ยงระดับปัจเจกและครัวเรือน 
- กลุ่มผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพ
วัตถุประสงค์ 
1. เพ่อืศึกษาประสบการณ์และปฏิกิริยาของชุมชนต่อภัยพิบัติทั้ง ก่อน ระหว่าง 
และหลังเกิดเหตุการณ์ภัยพิบัติ ในบริบทของนิเวศวัฒนธรรมท้องถิ่น 
2. เพ่อืเปรียบเทียบแบบแผน (Pattern) ลักษณะ (Characteristics) เงื่อนไข 
(Conditions) และผลที่เกิดตามมา (Consequences) ในการรับมืออุทกภัย 
ของชุมชนในแต่ละครั้งที่ชุมชนเผชิญกับภัยพิบัติ 
3. เพ่อืวิเคราะห์และประเมินกระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์ที่ชุมชนได้รับ 
จากการรับมือภัยพิบัติ 
4. เพ่อืพัฒนาข้อเสนอและรูปแบบ (Model) การเสริมศักยภาพชุมชนในการ 
จัดการภัยพิบัติ ทั้งจากประสบการณ์การเรียนรู้ของชุมชนและจากการ 
วิเคราะห์จุดแข็งจุดอ่อนของมาตรการเสริมศักยภาพเพ่อืชุมชนเพื่อรับมือภัย 
พิบัติที่องค์กรต่างๆ ได้เข้าไปดาเนินการในพ้นืที
ส่วนที่ 2 รูปธรรมจากงานวิจัย 
 สรุปผลที่ได้จากงานวิจัย 1: การจัดการภัยพิบัติของชุมชนและพลังการฟื้น 
ตัว 
1. การนิยาม “ภัยพิบัติ” ยังไม่มีความชัดเจน ครอบคลุมเป็นธรรมและปฏิบัติ 
ได้จริง 
2. การรับรู้ความเสี่ยงกับศักยภาพชุมชน “การสร้างวัฒนธรรมตื่นตัว” นา ไปสู่ 
การจัดการเชิงระบบ 
3. ผลกระทบต่อชุมชน 
4. ศักยภาพชุมชนและความช่วยเหลือจากภายนอก “ทุนทางสังคม”
Littlefield Publishers, Inc. 
นิยามความหมาย วิกฤต ภาวะฉุกเฉิน และภัยพิบัติ 
วิกฤต : 
 ช่วงเวลาที่ยากลา บาก น่ากังวลและอันตราย 
 เหตุการณ์ หรือ กระบวนการที่ถูกคาดหวังว่านา ไปสู่สถานการณ์อันตราย 
ภาวะฉุกเฉิน : 
 สถานการณ์ที่เกิดขึ้นเฉียบพลัน แต่มักเกินขึ้นในอาณาบริเวณ หรือหน่วยเล็ก 
ภัยพิบัติ : 
 เหตุการณ์ได้เกิดขื้นแล้ว 
 ประสบการณ์ที่สดโต่ง ทั้งคาดการณ์ได้ และคาดการณ์ไม่ได้ 
 สาเหตุของชะตากรรมเลวร้ายที่เกิดแก่ กลุ่มคน เมือง ภูมิภาคและกับผู้คน 
 ผลที่เกิดขึ้นในเรื่องเล่าของภัยพิบัติมักเป็นสัญลักษณ์และความคาดหวัง 
 สื่อสารมวลชน โดยเฉพาะโทรทัศน์มักมีกรอบข่าว ตามหาความเสียหาย ตามหาความตาย ตามหาความ 
ช่วยเหลือ ตามหาผู้รับผิดชอบ และตามหาผ้รู้าย (Finding damage, finding death, finding help, finding 
authority, and finding the bad guys.)” 
 หัวข้อข่าวที่ถูกสื่อนา เสนอนั้นได้แก่ ความรุนแรงของเหตุการณ์ ความงามย้อนแย้งที่ปรากฏในภัยพิบัติ 
ความกล้าหาญของหน่วยกู้ภัย ความเป็นมนุษย์ที่ปรากฏในท่ามกลางการทา ลายล้าง มนุษยธรรมและการเป็นนา้หน่งึ 
ใจเดียวกัน 
Dynes, R.R., and H. Rodriquez. (2007). Finding and framing Katrina: the social construction of disaster. In The Sociology of Katrina: 
Perspectives on a Modern Catastrophe. D.L. Brunsma, D. Overfelt, and J.S. Picou, eds. Pp. 23–33. Lanham, MD.: Rowman & 
Littlefield Publishers, Inc.
ส่วนที่ 2 รูปธรรมจากงานวิจัย 
5. ปัจจัยนอกเหนือการควบคุมชุมชน 
6. ปฏิบัติการของรัฐและสื่อ 
7. การจัดการอาสาสมัคร ระบบการช่วยเหลือเยียวยาและศูนย์พักพิง 
ชุมชน 
8. การเรียนร้แูละการปรับตัวของชุมชน
ข้อเสนอจากงานวิจัย 
1. สร้างนิยามความหมายของคา ว่า “ภัยพิบัต”ิ เพื่อการนา ไปใช้ รวมทั้งสร้าง 
กฎเกณฑ์และหลักการให้ความช่วยเหลือเยียวยาให้มีความครอบคลุมและ 
ชัดเจน 
2. พัฒนาระบบข้อมูลเกี่ยวกับภัยพิบัติและข้อมูลนิเวศวัฒนธรรมชุมชนที่ชุมชน 
สามารถใช้ประโยชน์ได้จริง 
3. สนับสนุนให้เกิดโครงสร้าง กลไกและกระบวนการจัดการในเชิงระบบในระดับ 
ท้องถิ่นที่ชัดเจน เพื่อให้สามารถดา เนินได้อย่างยั่งยืน 
4. สร้างและสนับสนุนเครือข่ายทางสังคมระหว่างชุมชนต่างๆ โดยเฉพาะชุมชน 
ในพื้นที่ภัยพิบัติที่เกี่ยวข้องกัน 
5. สร้างระบบอาสาสมัครที่มีศักยภาพในด้านการรับมือภัยพิบัติควบคู่ไปกับการ 
เสริมศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจา หมู่บ้าน 
6. ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของท้องถ่นิในการกา หนดนโยบายสาธารณะ 
7. รวบรวมประสบการณ์และรูปแบบการจัดการภัยพิบัติชุมชนที่ได้ผล และ 
ส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชน
กรณีศึกษา ภัยพิบัติและการพัฒนา 
ทา ไมวัฒนธรรมจึงควรเป็นความเข้าใจพื้นฐานในการ 
จัดการภัยพิบัติ? 
(ยกตัวอย่างโครงการ งานวิจัยจากประเทศต่างๆ) 
Picture from : Lecture of Danny de Vries, Ph.D. Assistant Professor 
Anthropolog of Health Department of Sociology & Anthropology , Amsterdam
Case Study 1 - Cultural Emergency Response – cultural 
heritage 
Photo contests raises awareness on water water access and 
inspires cross border dialogue in a conflictuous region
Case Study 2 Cultural Emergency Aid Program CER 
was founded in 2003 (Afghanistan)
Case Study 3. Technical innovation inarchitecture 
Architect Simón Vélez creates more 
possibilities for building with bamboo 2009(Colombia)
Case Study 4 Saving archives and library collections on which 
Haiti can start building again (ongoging)
Case Study 5 Raising awareness on local heritage 
counteracts the emerging of concrete cities in Yemen 2009
Case Study 6 The homeland of the Manasir, an ethnic minority in Sudan, will 
be flooded by the construction of a dam. Their homeland and heritage will 
disappear under water forever.
Case Study 7 Sharing knowledge helps Tibetan heritage 
to survive
Case Study 8 Assist a theatre school in Thailand deprived of 
its Livelihood at Moradokmai Home School
Case Study 9 With cultural and economic innovative ideas, 
getting your life together after the traumatic experience of the 
genocide in Rwanda
จบการนาเสนอ

More Related Content

Similar to Anthropology of Disaster by sumonmarn 201409 01 in title :Transforming Medicine –Transcending Disciplinary Boundaries

หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551Weerachat Martluplao
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม ExistentialismPadvee Academy
 
9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817CUPress
 
วิชา โลกศึกษา ปอ
วิชา  โลกศึกษา ปอวิชา  โลกศึกษา ปอ
วิชา โลกศึกษา ปอKittayaporn Changpan
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2Pisan Chueachatchai
 
โลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยโลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยweeraboon wisartsakul
 
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State ; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก ...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State ; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก ...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State ; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก ...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State ; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก ...Klangpanya
 
รายงานความก้าวหน้างานวิจัย เรื่อง (ขบวนการ) รัฐอิสลาม ในฐานะตัวแสดงระหว่างประ...
รายงานความก้าวหน้างานวิจัย เรื่อง (ขบวนการ) รัฐอิสลาม ในฐานะตัวแสดงระหว่างประ...รายงานความก้าวหน้างานวิจัย เรื่อง (ขบวนการ) รัฐอิสลาม ในฐานะตัวแสดงระหว่างประ...
รายงานความก้าวหน้างานวิจัย เรื่อง (ขบวนการ) รัฐอิสลาม ในฐานะตัวแสดงระหว่างประ...Klangpanya
 
โลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยโลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยweeraboon wisartsakul
 
มานุษยวิทยาการแพทย์ในศตวรรษที่ 21
มานุษยวิทยาการแพทย์ในศตวรรษที่ 21มานุษยวิทยาการแพทย์ในศตวรรษที่ 21
มานุษยวิทยาการแพทย์ในศตวรรษที่ 21Komatra Chuengsatiansup
 
รูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง จังหวัด
รูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง จังหวัดรูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง จังหวัด
รูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง จังหวัดBenchapon Sangswai
 

Similar to Anthropology of Disaster by sumonmarn 201409 01 in title :Transforming Medicine –Transcending Disciplinary Boundaries (13)

หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
 
9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817
 
วิชา โลกศึกษา ปอ
วิชา  โลกศึกษา ปอวิชา  โลกศึกษา ปอ
วิชา โลกศึกษา ปอ
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
 
โลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยโลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัย
 
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State ; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก ...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State ; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก ...ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State ; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก ...
ขบวนการรัฐอิสลาม (Islamic State ; IS) ในฐานะตัวแสดงระหว่างประเทศ : นัยต่อโลก ...
 
รายงานความก้าวหน้างานวิจัย เรื่อง (ขบวนการ) รัฐอิสลาม ในฐานะตัวแสดงระหว่างประ...
รายงานความก้าวหน้างานวิจัย เรื่อง (ขบวนการ) รัฐอิสลาม ในฐานะตัวแสดงระหว่างประ...รายงานความก้าวหน้างานวิจัย เรื่อง (ขบวนการ) รัฐอิสลาม ในฐานะตัวแสดงระหว่างประ...
รายงานความก้าวหน้างานวิจัย เรื่อง (ขบวนการ) รัฐอิสลาม ในฐานะตัวแสดงระหว่างประ...
 
โลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัยโลกที่เสี่ยงภัย
โลกที่เสี่ยงภัย
 
Susten2
Susten2Susten2
Susten2
 
มานุษยวิทยาการแพทย์ในศตวรรษที่ 21
มานุษยวิทยาการแพทย์ในศตวรรษที่ 21มานุษยวิทยาการแพทย์ในศตวรรษที่ 21
มานุษยวิทยาการแพทย์ในศตวรรษที่ 21
 
รูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง จังหวัด
รูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง จังหวัดรูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง จังหวัด
รูปแบบการพัฒนาหมู่บ้านเสี่ยงอุทกภัยเข้มแข็ง จังหวัด
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
 

Anthropology of Disaster by sumonmarn 201409 01 in title :Transforming Medicine –Transcending Disciplinary Boundaries

  • 1. มานุษยวิทยาภยัพบิตัิ Anthropology of Disaster 01-08-2014 สุมนมาลย์ สิงหะ สา นกัวิจยัสงัคมและสุขภาพ sumonmarnsingha@hotmail.com การประชุมวิชาการสา นักวิจัยสังคมและสุขภาพ 2557 Transforming Medicine – Transcending Disciplinary Boundaries
  • 2. การนาเสนอ ส่วนที่ 1 แนวคิดมานุษยวิทยาและภัยพิบัติ (ANTHROPOLOGICAL THEORY & DISASTER) 1. แนวคิดพฤติกรรมตอบสนองของมนุษย์- การปรับตัว-นิเวศวัฒนธรรม 2. แนวคิดการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงทางสังคม 3. แนวคิดเศรษฐศาสตร์การเมืองและนิเวศวิทยาการเมืองของความเปราะบาง 4. การปรับตัวและพลังการฟื้นตัวชุมชน (Community Resilience) ส่วนที่2 สรุปผลที่ได้จากงานวิจัย ส่วนที่ 3 ข้อเสนองานวิจัยภัยพิบัติศึกษา (Disaster Studies) Torry, William (1979) Anthropology and Disaster Research. Disasters 3:1(p43-‐52) Oliver-Smith, A. (1996) Anthropological Research In Hazards And Disaster. Annual Review of Anthropology 25:303-328 Walker, B. and Westley, F. (2011). Perspectives on Resilience to Disasters across Sectors and Cultures. Ecology and Society 16(2): 4.
  • 4. กา เนิดความรู้ด้านการลดความเสี่ยงภัยพิบัติใน ประวัติศาสตร์ความคิดตะวันตก  วาทกรรมภัยพิบัต:ิ ยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการคริสต์ศตวรรษที่ 15-16 การเผชิญภัย พิบัติก่อนภาวะสมัยใหม่ มักถูกตีความว่าเป็นภาวะ “ธรรมชาติ” (Natural) คุกคาม ภายใต้การนา ความคิดของผู้เชี่ยวชาญและนักปรัชญานา ไปสู่การจัดการภัย พิบัติในแง่มุมกฎหมาย และการจัดการกับลักษณะทางกายภาพ เช่น สิ่งก่อสร้าง ผัง เมือง เขื่อน ฯล  แนวคิดดังกล่าวมีพื้นฐานมาจากสังคมมนุษย์อยู่ร่วมกับธรรมชาติและอิทธิพลของ ศาสนจักร  การใช้ความรู้ด้านวิทยาการและเทคโนโลยี เป็นแนวทางการแก้ไขภัยพิบัติเฉพาะหน้า เฉพาะเหตุการณ์ โดยที่ยังไม่มีแนวทางลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติในช่วงน้นั
  • 5. ยกตัวอย่างกรณี เมืองลิสบอน โปรตุเกส เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวและสึนามิในปี ค.ศ. 1755
  • 6. ภัยพิบัติ : โครงเรื่องร่วมสมัย  ภัยพิบัติเป็นการ “ลงโทษ” ของพระเจ้าต่อผู้คนผิดบาป หรือเมืองคนบาป  ชุดความสัมพันธ์ทางอา นาจของ “ศีลธรรม” พระเจ้า กับธรรมชาติ  สถาปัตยกรรม พื้นที่ และบริเวณที่เกิดเหตุการณ์ภัยพิบัติเป็นสัญลักษณ์แสดงถึง ศูนย์กลางอา นาจของพระเจ้า ปัญญาชนในยุคแสงสว่างปัญญา  Voltaire 1694-1778,  Rousseau 1712 in Voltaire’s defense,  Kant 1724 more scientific approach
  • 7. มรดกของปัญญาชนยุคสมัยใหม่ (Modernism)  นิยามภัยพิบัติ: ภัยพิบัติมีลักษณะเฉพาะ เงื่อนไขและผลสืบเน่อืงในแต่ละ สังคมวัฒนธรรม ซึ่งมักถูกตีความ รับรู้ภายในบริบททางวัฒนธรรมและ ประวัติศาสตร์ของสังคมน้นัๆ  ภัยพิบัติ : นัยยะสา คัญของการรับรู้ คุกคามและท้าทายระเบียบสังคม ความ รับผิดของรัฐสมัยใหม่ซึ่งต่อผลโดยตรงต่อการจัดการภัยพิบัติ  ภัยพิบัติ : ความคิดเรื่องช่วงเวลาของภัยพิบัติ “ก่อน” และ “หลัง” เพื่อ แสดงเหตุการณ์และแบ่งช่วงเวลาความตระหนักร่วมของสังคม  สิ้นสุดปี ค.ศ.1989 กระบวนทัศน์ดังกล่าวยังมีพลังในการอธิบายสังคม จนกระทั่งปฏิวัติฝรั่งเศสและลุกลามไปถึงภูมิภาคยุโรป  ภัยพิบัติ ยังเป็นสัญลักษณ์ที่เป็นผลกระทบทางธรรมชาติ มากกว่าสิ่งที่เหนือ ธรรมชาติ (ความโกรธเกรี้ยวของพระเจ้า และการลงโทษคนบาป)
  • 8. แนวคิดการลดความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ(natural hazard) Video - highlighting the implementation of HFA (5 min) http://www.preventionweb.net/globalplatform/2013/programme/plenary/view/476 Governments and DRR: A Sustainable Engagement by Mr. Omar Samad, Afghanistan Senior Expert, USA (Moderator)
  • 9. โจทย์คือ ช่องว่างระหว่างความความร้วูิทยาศาสตร์และ ความรู้ท้องถิ่นในการลดความเสี่ยงภัยพิบัติ • Gaillard & Mercer ภัยพิบัติเป็น “สนามรบของความรู้” • อะไรคือสนามรบ ? ปัญหาคืออะไร? • การแก้ไขปัญหาภัยพิบัติทา ได้อย่างไรบ้าง? • นักมานุษยวิทยาจะมีส่วนร่วมได้อย่างไร? JC Gaillard Jessica Mercer Bridging the gap between top-down and bottom-up initiatives in disaster risk reduction (DRR)
  • 10.
  • 11. มานุษยวิทยากับภัยพิบัติ : มานุษยวิทยาคลาสสิก  ภาคสนาม (fieldwork) กลายเป็นวิธีวิทยาหลักของ การศึกษาทางมานุษยวิทยาในปัจจุบัน การศึกษาอาณา บริเวณ ถิ่นฐานทางวัฒนธรรมต่างๆ ส่วนใหญ่จะศึกษา สังคมแอฟริกัน และขยายไปวัฒนธรรมคนอื่น  มานุษยวิทยาเริ่มต้นศึกษาชนเผ่า (Nuer, Navajo, Turkana, Dobu, Lozi, and Tikopia) โดยมองว่าภัย ธรรมชาติจะทดสอบกระบวนการทางสังคม ซึ่งโดยมาก จะศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางฤดูกาลเท่านั้น  แนวคิดการกา หนดทางสิ่งแวดล้อมและความแนวคิดเชิง ความเป็นไปได้ มีอิทธิพลต้งัแต่ ค.ศ. 1960s 19th century miasma ศตวรรษที่ 19 โรคอหิวาห์ระบาด เป็นการปฏิวัติความคิดว่าโรคภัย ไม่ได้เกิดจากภูตผีจากเกิดจาก “เชื้อโรคในอากาศ” แพร่หลายใน ยุโรป จีนและอินเดีย ก่อนการ ค้นพบเชื้อโรคและทฤษฎีเชื้อโรค
  • 12. ยกตัวอย่าง 1 : อีวาน-พริดชาร์ด (Evans- Pritchard ,1940:130): พฤติกรรมที่ตอบสนองต่อความแห้งแล้ง “ ในช่วงภาวะขาดแคลนอาหาร ชาวเผ่าดินก้าบ่อยครั้งมักจะอพยพเคลื่อนย้ายมาอยู่ใกล้ชาวนูเออร์ โดยที่ต้องได้รับการยอมรับจากชาวนูเออร์เสียก่อน.." การเคลื่อนย้ายถ่นิฐานเป็นกลยุทธในการปรับตัว ให้อยู่รอดของชนเผ่าเร่ร่อน ซึ่งเส้นทาง เคลื่อนย้ายจะตัดสินใจจากฤดูกาลที่เปลี่ยนแปลง ระดับน้า ท่วม พื้นที่ราบลุ่มสา หรับเพาะปลูกพืช ท้องถ่นิ รวมทั้งทางเลือกในการดา รงชีพอื่นๆ เช่น ตกปลา ล่าสัตว์ และล่าสัตว์สา หรับใช้งาน เม่อืต้องเคลื่อนย้าย ถ้าชาวนาก็จะมีการใช้ ประโยชน์ที่ดินที่สอดคล้องกับช่วงฤดูฝนและนา้ ท่วม
  • 13.  พิธีกรรม และ กฎของกลุ่ม  เครือข่ายหมอผีใช้คาถา เวทมนต์ พิธีกรรมขอฝนในตะวันออกเฉียงใต้ของ สหรัฐอเมริกา • Uduk weather control rituals using rain stones http://www.voicesfromthebluenile.org/sixties.html • แนวคิดพฤติกรรมตอบสนอง & มานุษยวิทยาปรับตัว • ขาดความสนใจโฟกัสที่ภัยพิบัติ?
  • 14. ยกตัวอย่าง 2 นักคิดคนสา คัญ : แนวคิดพฤติกรรมตอบสนองและ การปรับตัว Floods are “Acts of God”, but flood losses are laregly acts of man” Gilber White 1945
  • 15. แนวคิดกิลเบร์ิต ไวท์“การปรับตัวกับนา้ท่วม” กระบวนทัศน์ลดความเสี่ยง ค.ศ. 1937/1945 ปฏิกิริยาของคนต่อนา้ท่วม :  ผังการใช้ประโยชน์ที่ดิน  ลดความแรงจากนา้ท่วม  การป้องกันนา้ท่วม (การจัดการทางวิศวกรรม คลอง ทางระบายนา้  การจัดการภาวะฉุกเฉิน  การจัดการเชิงโครงสร้าง ผังเมือง สถาปัตยกรรม  การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน MacDonald et al. (2011) The  การบรรเทาทุกข์ และการประกันภัย significance of Gilbert F. White's 1945 paper 'Human adjustment to floods. Progress in Physical Geography 36(1) 125–133
  • 16. ข้อวิพากษ์แนวคิดพฤติกรรมตอบสนองของมานุษยวิทยา สายคลาสสิก • จุดเน้นที่ “ความสมดุล” ระบบนิเวศสัมพันธ์จะความสมดุลกับการดารงอยู่ของรัฐซึ่ง ไม่ได้หยุดนิ่งตายตัวแต่มี “พลวัต” (dynamic) ผู้ปกครองอาณานิคมและผู้ปกครอง • ความสัมพันธ์กับธรรมชาติที่ดารงอย่ใูนมิติต่างๆ ไม่ว่าการเลี้ยงสัตว์ ครอบครัว วัฒนธรรมการเกษตร และประมงไม่ได้เกิดจากวงจรภายในเพียงอย่างเดียว แต่ อาจจะได้รับแรงกดดันจากภายนอกด้วย • มนุษย์สามารถที่จะปรับตัวดิ้นต่อสู้กับธรรมชาติได้อย่ภูายใต้โครงสร้างสังคมเท่านั้น • อีวาน-พริดชาร์ด (1940:92) Torry, William (1979) Anthropology and Disaster Research. Disasters 3:1(p43-‐52).
  • 17. แนวคิดกา หนดนิยมทางสิ่งแวดล้อม & ภูมิศาสตร์มานุษยวิทยา  อิทธิพลของมุมมองนักธรรมชาตินิยม และนักกายภาพที่มอง ความน่ากลัว ความรุนแรงเกิดจาก “ธรรมชาติ” หรือ ธรรมชาติบนความเกรี้ยวกราด(Frazier 1979; Maybury 1986; Ebert 1993; de Blij 1994).  นักมานุษยวิทยาก็สนใจความสัมพันธ์ ระหว่าง “สิ่งแวดล้อม” และ “ลักษณะ ทางวัฒนธรรม”
  • 18. จุดเริ่มต้นพัฒนาการภัยพิบัติศึกษาในมุมมองมานุษยวิทยา (1950-1960)  ค.ศ. 1950 : การศึกษาภัยพิบัติเชิงระบบ (systematic approach)ครั้งแรก เป็นการศึกษาเชิงลึกถึงผลสืบเนื่องทางสังคมจากภัยพิบัติ  ค.ศ. 1950 1953 – 1955 : การประยุกต์ใช้มานุษยวิทยาในการศึกษา สังคมภัยพิบัติในการประชุมทางวิชาการที่ชิคาโกและบลูมมิงตัน  ค.ศ. 1950 1955 : งานสัมมนา “ทฤษฎีพฤติกรรมมนุษย์ในภาวะสุดโต่ง”  Anthony Wallace (1956): แนวคิด Mazeway Disintegration - การรับรู้ ถึงความไร้ระเบียบทางสังคมวัฒนธรรมของปัจเจก  กรณีศึกษาเกาะ Tikopia by Firth (1959) และ Spillius (1957). ภัยพิบัติ จากภายนอกและภาวะสุดโต่งของเหตุการณ์ภัยพิบัติ
  • 19. แนวคิดนิเวศวิทยาวัฒนธรรม (CULTURAL ECOLOGY)  ค.ศ. 1956 การเริ่มต้นของแนวคิด “นิเวศวัฒนธรรม” (Barth 1956 – “niche”; Steward 1955 – culture core)  พยายามก้าวข้ามแนวคิดกา หนดนิยมธรรมชาติและแนวคิดเชิงความเป็นไปได้  สภาพแวดล้อมและวัฒนธรรมไม่ได้แยกขาดจากการโดยสิ้นเชิงแต่มีความ เชื่อมโยงกันอย่างเป็นแบบแผนพฤติกรรม  สภาพแวดล้อมมีอิทธิพลต่อการปรับตัวของมนุษย์ แต่ไม่ใช่เป็นตัวกา หนด  รูปแบบของการจัดระเบียบทางสังคมได้รับการพัฒนาขึ้นย่อมมีแตกต่างกันข้นึอยู่ กับเงื่อนไขของสภาพแวดล้อม กลยุทธ์ในการปรับตัวเพื่ออยู่รอดและเป้าหมาย  แก่นแกนทางวัฒนธรรม : การปรับตัวซึ่งเป็นกระบวนการทางวัฒนธรรม วิถีการ ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง ไม่หยุดนิ่งตายตัว ได้แก่ อาหาร เครื่องแต่งงาน บ้านเรือน การทา มาหากิน ฯล
  • 20.  แนวคิดนิเวศวิทยาในมุมมองมานุษยวิทยา  การศึกษาเชิงชาติพันธุ์วรรณานิเวศ : 1960-1970s เน้นการศึกษาความรู้ท้องถ่นิ (local knowledge)  ระบบการฟื้นตัว: “Total of living organisms and non-living substances bound together in material exchanges with in some demarcated portion of the biosphere” (Rappaport 1971)  การรักษาภาวะสมดุล หรือ ดุลยภาพ ? ทา ได้อย่างไร วิเคราะห์ระดับประชากร การจัดระบบถ่นิฐานบ้านเรือน การใช้ประโยชน์ที่ดิน แบบแผนฤดูกาล การผลิต และการ บริโภค การปฏิสัมพันธ์ระหว่าง “มนุษย์” และ “ระบบนิเวศ” ใน ฐานะหน่วยการวิเคราะห์ทางมานุษยวิทยา
  • 21. 2. แนวคิดการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงทางสังคม DEVELOPMENTAL / SOCIAL CHANGE APPROACH  สังคมจารีตมีการปรับตัว โดยที่รัฐไม่ได้เข้าไปมีบทบาทมากนัก แต่ใน ระเบียบโลกได้สร้างความเปลี่ยนแปลงที่ไร้พรมแดน (ตัวอย่าง David Harvey) รัฐได้ขยายขอบเขตอานาจเข้าไปสอดส่องและควบคุมประชากร  ภัยพิบัตินา ไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางสังคม  ผลกระทบทางบวกและทางลบของภัยพิบัตินา ไปสู่คา ถามต่อการพัฒนา  ในทางมานุษยวิทยา— โดยเฉพาะสถาปัตยกรรมเป็นประเด็นที่นา ความ เปลี่ยนแปลงในระยะยาว  กระบวนทัศน์ใหม่เรื่องมานุษยวิทยานิเวศ –มนุษย์สร้างความไม่สมดุลกับ ธรรมชาติ การฟื้นฟูสิ่งแวดล้อมจากภัยพิบัติถือเป็นวิวัฒนาการ (เส้นตรง) ของสังคม และต่อยอดความสนใจศึกษาพฤติกรรมตอบสนองไม่เพียงกลุ่ม คน แต่สนใจพฤติกรรมระดับปัจเจกด้วย
  • 22. 2.1 การเกิดขึ้นของแนวคิดการพัฒนาและภัยพิบัติ  การพัฒนาเส้นตรงที่ส่งผลต่อกระทบสังคม  การพัฒนาแบ่งภูมิภาคทา ให้เกิดวัฒนธรรมท้องถ่นิและวัฒนธรรมศูนย์กลาง  ภัยพิบัติเป็นการพังทลายของระบบสังคมและการจัดการที่ล้มเหลว  ลักษณะภัยพิบัติที่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมอย่างไร ถือเป็นส่วนหนึ่งของ วิวัฒนาการสังคม  ระบบที่ไม่ยั่งยืน ทั้งความสมดุลของสิ่งแวดล้อมเป็นราคาที่ต้องจ่ายให้กับการ เพิ่มข้นึของความซับซ้อนของระบบสังคมอย่างไร  การขยายตัวแบบภูมิภาคที่บูรณาการเศรษฐกิจและการเมืองเข้าด้วยกันถือเป็น เงื่อนไขของการเกิดภัยพิบัติหรือไม่? Torry, William (1979) Anthropology and Disaster Research. Disasters 3:1(p43-‐52).
  • 24. 3. แนวคิดเศรษฐศาสตร์การเมืองและนิเวศวิทยาการเมืองของความ เปราะบาง 1. สาเหตุและปรากฎการณ์ของภัยพิบัติเป็น กระบวนการทางสังคมและโครงสร้างสังคม 2. กลุ่มทางสังคมวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน จะ เปิดรับความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติแตกต่างกัน ทั้งนี้ข้นึอยู่กับศักยภาพในการรับมือกับ ผลกระทบจากภัยธรรมชาติ Nicole Ball (1975) The myth of the natural disaster. Resurgence & Ecologist, Vol 5 No 10 O’Keefe K. Westgate, and B. Wisner. (1976) Taking the naturalness out of natural disasters. Nature, vol. 260, pp. 566- 567. Tiranti ,D.(1977) The Un-natural Disasters. The New Internationalist, no. 53, pp. 5-6. Hewitt (1983) Interpretations of Calamity from the Viewpoint of Human Ecology. Boston, Allen “ภัยพิบัติควรสนใจมิติการเมืองที่ส่งผลต่อกระบวนการทาให้เป็นชายขอบ (marginalization) ความยากจน และความสูญเสีย มากกว่าความเที่ยงตรงของการพยากรณ์และเง่อืนไขทางภูมิศาสตร์ที่ติดตรึงกับพื้นที่”
  • 25. 4. แนวคิดพลังฟื้นตัวและศักยภาพในการปรับตัว RESILIENCE & ADAPTIVE CAPACITY  Resilio ในภาษาละติน หมายความว่า “กระโดดกลับ”  Holling (1973) ‘‘a measure of the persistence of systems and of their ability to absorb change and disturbance and still maintain the same relationships between populations or state variables’’ (p. 14)  การฟื้นตัวนา มาประยุกต์ในแนวคิดระบบนิเวศ หรือ บูรณาการระบบ และโครงสร้างทั้ง “คน” และ “สิ่งแวดล้อมธรรมชาติ” แบ่งได้ 3 ลักษณะ 1. การเปลี่ยนแปลงระบบที่ยังสามารถทา หน้าที่ และรักษาโครงสร้าง 2. ระดับความสามารถในการจัดการตนเอง 3. ความสามารถเพิ่มมากข้นึแข็งแกร่งมากข้นึในการเรียนร้แูละปรับตัว
  • 27. 4.1 ทบทวนแนวคิดการฟื้นฟูตัวและศักยภาพในการปรับตัว  มานุษยวิทยาภัยพิบัติ : ความเกี่ยวข้องของการฟื้นฟูตัวและศักยภาพในการ ปรับตัว 1. แบบแผนทางวัฒนธรรมที่สร้างการรับรู้ความเสี่ยง มหันตภัย ภัยพิบตัิ ความ เสียหาย 2. “ภาวะสมดุล” ของระบบเศรษฐกิจและสังคมย่อมมีการเปลี่ยนแปลง มีระบบการ จัดการที่ซับซ้อน และพลวัตของมหันตภัย 3. ภัยพิบัติเป็นการฟ่าฟัน (ระบอบ ) ฝ่าพ้นการเปลี่ยนแปลงของระบบ โครงสร้าง ผลกระทบของภัยพิบัติขึ้นอยู่กับภูมิทัศน์ที่ยั่งยืน วงจรการปรับตัวและ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่างๆ 4. พลังการฟื้นตัวลดลงนา ไปสู่ “ความเปราะบาง” ของระบบ ขณะความสามารถ รับมือกับความโกลาหลได้ถือว่าไม่เปราะบาง 5. พลังการฟื้นตัวสัมพันธ์กับกระบวนการทางวัฒนธรรม การปรับตัว การเรียนร้แูละ ความหลากหลายทางสังคม
  • 28.
  • 29. 4.2 ความหมายของการรับมือและพลังการฟื้นตัวระดับปัจเจก ชุมชนและ สังคม  McElroy & Townsend (2007) : ความสัมพันธ์ทางสังคมที่เกื้อหนุนต่อระบบโดยรวม  ภัยพิบัติในสังคมทุนนิยมจะเกี่ยวกันพันกับเครือข่ายทางสังคมและการ แลกเปลี่ยนต่างตอบแทน ความไว้วางใจเป็นค่าทุนทางสังคม (Putnam 2000:19) รวมทั้งการแบ่งปันความเช่อืและค่านิยม  ฟื้นฟูตนเองเพื่อรักษาระบบ กลไกและโครงสร้างที่ยังทา หน้าที่ได้  ยกตัวอย่าง ความขบขัน : Laughter may be best medicine  การตีความความหมายของความทุกข์ Carl Jung “Art is the cure for suffering.“
  • 30. 4.3 ความหมายการรับมือและพลังการฟื้นตัว  Nancy Scheper Huges นักมานุษยวิทยาการแพทย์ที่Berkeley ( หนังสือชื่อ A Talent For Life, Ethnos 2008): ความหมายของการฟื้นตัวระดับปัจเจก และโครงสร้าง 1. กระบวนการทา ให้ภาวะวกิฤตเป็นปกติ 2. เรื่องเล่า การรื้อฟื้นเพื่อเยียวยาประสบการณ์เจ็บปวด 3. กลับหัวกลับหาง : “ผู้ประสบภัยกลายเป็นวีรบุรุษไม่ใช่เหยื่อ” 4. เครื่องมือ & การปรับปรุงโครงสร้าง 5. กระบวนการกล่อมเกลาทางสังคม 6. ตลกร้าย: ความย้อนแย้ง & ความไร้สาระ 7. เฉลิมฉลอง : คานิวัล , การเต้นรา, “I won’t cry. My life is hard enough”
  • 31. Hoffman and Anthony, ed. 2002  การจัดการภัยพิบัติของสังคมสมัยใหม่ที่รัฐ ได้กลายเป็นตัวละครสา คัญในการจัดการกับ ภัยพิบัติ  ความขัดแย้งระหว่างความเห็นของ ผู้เชี่ยวชาญกับความรู้ท้องถิ่นในการประเมิน ภัยพิบัติ ระบบโครงสร้างที่ไม่เป็นธรรมนี้ได้ลดทอน ความสามารถในการฟื้นคืน (Resilience) และลดศักยภาพในการจัดการรับมือกับภัย พิบัติ การปรับตัวในลักษณะ “เอาตัวรอดเฉพาะ หน้า” จะย่งินา มาซึ่งการทา ลายระบบนเิวศน์ และสภาพแวดล้อมมากขึ้นไปอีก
  • 32. Adriana Petryna ,2003  การแพทย์ชีวภาพและมาตรฐาน ความร้เูรื่องรังสีนิวเคลียร์(clinical data) อยู่เหนือความร้ใูน ชีวิตประจา วันของผู้รอดชีวิตที่เสี่ยง ต่อผลพันธุกรรมรวมทั้งหลักเกณฑ์ นิยามการชดเชย การพิสูจน์ความ เป็นพลเมือง  เรื่องเล่าทางการแพทย์ของภัยพิบัติ จากรังสี (ระบาดวิทยา) ของ ผู้รอดชีวิต
  • 33. ส่วนที่ 2 รูปธรรมจากงานวิจัย  งานวิจัยเรียนร้อูยู่กับภัยพิบัติ : นิเวศวัฒนธรรม สื่อ รัฐและพลวัตชุมชน 5 ลักษณะ งานวิจัย “สหวิทยาการ” เป็นมุมมองสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ สาธารณสุข สังคม สงเคราะห์และระบาดวิทยา  พื้นที่ 8 พื้นที่ (จังหวัดพิษณุโลก นครสวรรค์ พิจิตร อยุธยา นครปฐม สงขลา นครศรีธรรมราชและภูเก็ต)  การทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้องและสัมภาษณ์ สังเกต คลุกคลีกับผู้ให้ข้อมูล (key Informants) 264 คน จานวน 200 หลังคาเรือน - กลุ่มผู้นา /ผู้รู้ - กลุ่มอาชีพ/กลุ่มช่าง - กลุ่มกู้ชีพกู้ภัย - กลุ่มเสี่ยงระดับปัจเจกและครัวเรือน - กลุ่มผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพ
  • 34. วัตถุประสงค์ 1. เพ่อืศึกษาประสบการณ์และปฏิกิริยาของชุมชนต่อภัยพิบัติทั้ง ก่อน ระหว่าง และหลังเกิดเหตุการณ์ภัยพิบัติ ในบริบทของนิเวศวัฒนธรรมท้องถิ่น 2. เพ่อืเปรียบเทียบแบบแผน (Pattern) ลักษณะ (Characteristics) เงื่อนไข (Conditions) และผลที่เกิดตามมา (Consequences) ในการรับมืออุทกภัย ของชุมชนในแต่ละครั้งที่ชุมชนเผชิญกับภัยพิบัติ 3. เพ่อืวิเคราะห์และประเมินกระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์ที่ชุมชนได้รับ จากการรับมือภัยพิบัติ 4. เพ่อืพัฒนาข้อเสนอและรูปแบบ (Model) การเสริมศักยภาพชุมชนในการ จัดการภัยพิบัติ ทั้งจากประสบการณ์การเรียนรู้ของชุมชนและจากการ วิเคราะห์จุดแข็งจุดอ่อนของมาตรการเสริมศักยภาพเพ่อืชุมชนเพื่อรับมือภัย พิบัติที่องค์กรต่างๆ ได้เข้าไปดาเนินการในพ้นืที
  • 35. ส่วนที่ 2 รูปธรรมจากงานวิจัย  สรุปผลที่ได้จากงานวิจัย 1: การจัดการภัยพิบัติของชุมชนและพลังการฟื้น ตัว 1. การนิยาม “ภัยพิบัติ” ยังไม่มีความชัดเจน ครอบคลุมเป็นธรรมและปฏิบัติ ได้จริง 2. การรับรู้ความเสี่ยงกับศักยภาพชุมชน “การสร้างวัฒนธรรมตื่นตัว” นา ไปสู่ การจัดการเชิงระบบ 3. ผลกระทบต่อชุมชน 4. ศักยภาพชุมชนและความช่วยเหลือจากภายนอก “ทุนทางสังคม”
  • 36. Littlefield Publishers, Inc. นิยามความหมาย วิกฤต ภาวะฉุกเฉิน และภัยพิบัติ วิกฤต :  ช่วงเวลาที่ยากลา บาก น่ากังวลและอันตราย  เหตุการณ์ หรือ กระบวนการที่ถูกคาดหวังว่านา ไปสู่สถานการณ์อันตราย ภาวะฉุกเฉิน :  สถานการณ์ที่เกิดขึ้นเฉียบพลัน แต่มักเกินขึ้นในอาณาบริเวณ หรือหน่วยเล็ก ภัยพิบัติ :  เหตุการณ์ได้เกิดขื้นแล้ว  ประสบการณ์ที่สดโต่ง ทั้งคาดการณ์ได้ และคาดการณ์ไม่ได้  สาเหตุของชะตากรรมเลวร้ายที่เกิดแก่ กลุ่มคน เมือง ภูมิภาคและกับผู้คน  ผลที่เกิดขึ้นในเรื่องเล่าของภัยพิบัติมักเป็นสัญลักษณ์และความคาดหวัง  สื่อสารมวลชน โดยเฉพาะโทรทัศน์มักมีกรอบข่าว ตามหาความเสียหาย ตามหาความตาย ตามหาความ ช่วยเหลือ ตามหาผู้รับผิดชอบ และตามหาผ้รู้าย (Finding damage, finding death, finding help, finding authority, and finding the bad guys.)”  หัวข้อข่าวที่ถูกสื่อนา เสนอนั้นได้แก่ ความรุนแรงของเหตุการณ์ ความงามย้อนแย้งที่ปรากฏในภัยพิบัติ ความกล้าหาญของหน่วยกู้ภัย ความเป็นมนุษย์ที่ปรากฏในท่ามกลางการทา ลายล้าง มนุษยธรรมและการเป็นนา้หน่งึ ใจเดียวกัน Dynes, R.R., and H. Rodriquez. (2007). Finding and framing Katrina: the social construction of disaster. In The Sociology of Katrina: Perspectives on a Modern Catastrophe. D.L. Brunsma, D. Overfelt, and J.S. Picou, eds. Pp. 23–33. Lanham, MD.: Rowman & Littlefield Publishers, Inc.
  • 37. ส่วนที่ 2 รูปธรรมจากงานวิจัย 5. ปัจจัยนอกเหนือการควบคุมชุมชน 6. ปฏิบัติการของรัฐและสื่อ 7. การจัดการอาสาสมัคร ระบบการช่วยเหลือเยียวยาและศูนย์พักพิง ชุมชน 8. การเรียนร้แูละการปรับตัวของชุมชน
  • 38. ข้อเสนอจากงานวิจัย 1. สร้างนิยามความหมายของคา ว่า “ภัยพิบัต”ิ เพื่อการนา ไปใช้ รวมทั้งสร้าง กฎเกณฑ์และหลักการให้ความช่วยเหลือเยียวยาให้มีความครอบคลุมและ ชัดเจน 2. พัฒนาระบบข้อมูลเกี่ยวกับภัยพิบัติและข้อมูลนิเวศวัฒนธรรมชุมชนที่ชุมชน สามารถใช้ประโยชน์ได้จริง 3. สนับสนุนให้เกิดโครงสร้าง กลไกและกระบวนการจัดการในเชิงระบบในระดับ ท้องถิ่นที่ชัดเจน เพื่อให้สามารถดา เนินได้อย่างยั่งยืน 4. สร้างและสนับสนุนเครือข่ายทางสังคมระหว่างชุมชนต่างๆ โดยเฉพาะชุมชน ในพื้นที่ภัยพิบัติที่เกี่ยวข้องกัน 5. สร้างระบบอาสาสมัครที่มีศักยภาพในด้านการรับมือภัยพิบัติควบคู่ไปกับการ เสริมศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจา หมู่บ้าน 6. ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของท้องถ่นิในการกา หนดนโยบายสาธารณะ 7. รวบรวมประสบการณ์และรูปแบบการจัดการภัยพิบัติชุมชนที่ได้ผล และ ส่งเสริมให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างชุมชน
  • 39. กรณีศึกษา ภัยพิบัติและการพัฒนา ทา ไมวัฒนธรรมจึงควรเป็นความเข้าใจพื้นฐานในการ จัดการภัยพิบัติ? (ยกตัวอย่างโครงการ งานวิจัยจากประเทศต่างๆ) Picture from : Lecture of Danny de Vries, Ph.D. Assistant Professor Anthropolog of Health Department of Sociology & Anthropology , Amsterdam
  • 40. Case Study 1 - Cultural Emergency Response – cultural heritage Photo contests raises awareness on water water access and inspires cross border dialogue in a conflictuous region
  • 41. Case Study 2 Cultural Emergency Aid Program CER was founded in 2003 (Afghanistan)
  • 42. Case Study 3. Technical innovation inarchitecture Architect Simón Vélez creates more possibilities for building with bamboo 2009(Colombia)
  • 43. Case Study 4 Saving archives and library collections on which Haiti can start building again (ongoging)
  • 44. Case Study 5 Raising awareness on local heritage counteracts the emerging of concrete cities in Yemen 2009
  • 45. Case Study 6 The homeland of the Manasir, an ethnic minority in Sudan, will be flooded by the construction of a dam. Their homeland and heritage will disappear under water forever.
  • 46.
  • 47. Case Study 7 Sharing knowledge helps Tibetan heritage to survive
  • 48. Case Study 8 Assist a theatre school in Thailand deprived of its Livelihood at Moradokmai Home School
  • 49. Case Study 9 With cultural and economic innovative ideas, getting your life together after the traumatic experience of the genocide in Rwanda