SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
5. ไฟฟ้ากระแสสลับ
5.2 การผลิตและการส่งไฟฟ้ากระแสสลับ
❑ หม้อแปลง
หม้อแปลง (transformer) คือ อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้เปลี่ยนความต่างศักย์หรือ
อีเอ็มเอฟของไฟฟ้ากระแสสลับ
ตัวอย่างหม้อแปลง แผนภาพส่วนประกอบหม้อแปลง
สัญลักษณ์ของหม้อแปลง
ที่ใช้ในวงจรไฟฟ้า
แกนเหล็ก
ขดลวดทุติยภูมิ
ขดลวดปฐมภูมิ
5. ไฟฟ้ากระแสสลับ
5.2 การผลิตและการส่งไฟฟ้ากระแสสลับ
❑ หม้อแปลง
แผนภาพส่วนประกอบหม้อแปลง
แกนเหล็ก
ขดลวดทุติยภูมิ
ขดลวดปฐมภูมิ
หม้อแปลงประกอบด้วยขดลวด 2 ชุด พันอยู่บนแกนเหล็กเดียวกัน
โดยขดลวดที่ใช้ต่อกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้า เรียกว่า ขดลวดปฐมภูมิ และขดลวด
ที่ใช้ต่อกับเครื่องใช้ฟ้า เรียกว่า ขดลวดทุติยภูมิ
5. ไฟฟ้ากระแสสลับ
5.2 การผลิตและการส่งไฟฟ้ากระแสสลับ
❑ หม้อแปลง
หม้อแปลงมี 2 ชนิด คือ
1. หม้อแปลงขึ้น (step-up transformer) จะมีขดลวดปฐมภูมิน้อยกว่าขดลวด
ทุติยภูมิ ทำให้อีเอฟเอ็มหรือความต่างศักย์เพิ่มขึ้น
2. หม้อแปลงลง (step-down transformer) จะมีขดลวดปฐมภูมิมากกว่าขดลวด
ทุติยภูมิ ทำให้อีเอฟเอ็มหรือความต่างศักย์ลดลง
หม้อแปลงขึ้น หม้อแปลงลง
ขดลวดทุติยภูมิ
ขดลวดปฐมภูมิ ขดลวดทุติยภูมิ
ขดลวดปฐมภูมิ
5. ไฟฟ้ากระแสสลับ
5.2 การผลิตและการส่งไฟฟ้ากระแสสลับ
❑ หม้อแปลง
เมื่อต่อขดลดวดปฐมภูมิกับไฟฟ้ากระแสสลับจะเกิดอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนำใน
ขดลวดทุติยภูมิ ซึ่งมีความสัมพันธ์ตามสมการ
ε2
𝜀1
=
N2
N1
เมื่อ 𝜀1 คือ อีเอ็มเอฟที่มาจากแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้าหรือความต่างศักย์ที่ขดลวดปฐมภูมิ
𝜀2 คือ อีเอ็มเอฟเหนี่ยวนำหรือความต่างศักย์ที่ขดลวดทุติยภูมิ
N1 คือ จำนวนรอบขดลวดปฐมภูมิ
N2 คือ จำนวนรอบขดลวดทุติยภูมิ

More Related Content

Similar to 1.แม่เหล็กไฟฟ้า.pdf

Similar to 1.แม่เหล็กไฟฟ้า.pdf (15)

54101 unit10
54101 unit1054101 unit10
54101 unit10
 
Lesson16
Lesson16Lesson16
Lesson16
 
172 130909011745-
172 130909011745-172 130909011745-
172 130909011745-
 
นำเสนอไฟฟ้า
นำเสนอไฟฟ้านำเสนอไฟฟ้า
นำเสนอไฟฟ้า
 
พลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ดพลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ด
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
ใบความรู้.05
ใบความรู้.05ใบความรู้.05
ใบความรู้.05
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 

More from matdavitmatseng1

PPT กล้องจุลทรรศน์ (2).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (2).pdfPPT กล้องจุลทรรศน์ (2).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (2).pdfmatdavitmatseng1
 
Copy-of-1.คลื่น (1).pdf
Copy-of-1.คลื่น (1).pdfCopy-of-1.คลื่น (1).pdf
Copy-of-1.คลื่น (1).pdfmatdavitmatseng1
 
Purple-Minimalist-Leaf-Thank-You-Card.pdf
Purple-Minimalist-Leaf-Thank-You-Card.pdfPurple-Minimalist-Leaf-Thank-You-Card.pdf
Purple-Minimalist-Leaf-Thank-You-Card.pdfmatdavitmatseng1
 
Copy-of-2.คลื่น.pdf
Copy-of-2.คลื่น.pdfCopy-of-2.คลื่น.pdf
Copy-of-2.คลื่น.pdfmatdavitmatseng1
 
PPT กล้องจุลทรรศน์ (4).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (4).pdfPPT กล้องจุลทรรศน์ (4).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (4).pdfmatdavitmatseng1
 
PPT กล้องจุลทรรศน์ (3).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (3).pdfPPT กล้องจุลทรรศน์ (3).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (3).pdfmatdavitmatseng1
 
Copy-of-4.แสงเชิงรังสี.pdf
Copy-of-4.แสงเชิงรังสี.pdfCopy-of-4.แสงเชิงรังสี.pdf
Copy-of-4.แสงเชิงรังสี.pdfmatdavitmatseng1
 
PPT กล้องจุลทรรศน์.pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์.pdfPPT กล้องจุลทรรศน์.pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์.pdfmatdavitmatseng1
 
PPT กล้องจุลทรรศน์ (1).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (1).pdfPPT กล้องจุลทรรศน์ (1).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (1).pdfmatdavitmatseng1
 

More from matdavitmatseng1 (10)

1482139114.ppt
1482139114.ppt1482139114.ppt
1482139114.ppt
 
PPT กล้องจุลทรรศน์ (2).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (2).pdfPPT กล้องจุลทรรศน์ (2).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (2).pdf
 
Copy-of-1.คลื่น (1).pdf
Copy-of-1.คลื่น (1).pdfCopy-of-1.คลื่น (1).pdf
Copy-of-1.คลื่น (1).pdf
 
Purple-Minimalist-Leaf-Thank-You-Card.pdf
Purple-Minimalist-Leaf-Thank-You-Card.pdfPurple-Minimalist-Leaf-Thank-You-Card.pdf
Purple-Minimalist-Leaf-Thank-You-Card.pdf
 
Copy-of-2.คลื่น.pdf
Copy-of-2.คลื่น.pdfCopy-of-2.คลื่น.pdf
Copy-of-2.คลื่น.pdf
 
PPT กล้องจุลทรรศน์ (4).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (4).pdfPPT กล้องจุลทรรศน์ (4).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (4).pdf
 
PPT กล้องจุลทรรศน์ (3).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (3).pdfPPT กล้องจุลทรรศน์ (3).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (3).pdf
 
Copy-of-4.แสงเชิงรังสี.pdf
Copy-of-4.แสงเชิงรังสี.pdfCopy-of-4.แสงเชิงรังสี.pdf
Copy-of-4.แสงเชิงรังสี.pdf
 
PPT กล้องจุลทรรศน์.pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์.pdfPPT กล้องจุลทรรศน์.pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์.pdf
 
PPT กล้องจุลทรรศน์ (1).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (1).pdfPPT กล้องจุลทรรศน์ (1).pdf
PPT กล้องจุลทรรศน์ (1).pdf
 

1.แม่เหล็กไฟฟ้า.pdf

  • 1. 5. ไฟฟ้ากระแสสลับ 5.2 การผลิตและการส่งไฟฟ้ากระแสสลับ ❑ หม้อแปลง หม้อแปลง (transformer) คือ อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้เปลี่ยนความต่างศักย์หรือ อีเอ็มเอฟของไฟฟ้ากระแสสลับ ตัวอย่างหม้อแปลง แผนภาพส่วนประกอบหม้อแปลง สัญลักษณ์ของหม้อแปลง ที่ใช้ในวงจรไฟฟ้า แกนเหล็ก ขดลวดทุติยภูมิ ขดลวดปฐมภูมิ
  • 2. 5. ไฟฟ้ากระแสสลับ 5.2 การผลิตและการส่งไฟฟ้ากระแสสลับ ❑ หม้อแปลง แผนภาพส่วนประกอบหม้อแปลง แกนเหล็ก ขดลวดทุติยภูมิ ขดลวดปฐมภูมิ หม้อแปลงประกอบด้วยขดลวด 2 ชุด พันอยู่บนแกนเหล็กเดียวกัน โดยขดลวดที่ใช้ต่อกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้า เรียกว่า ขดลวดปฐมภูมิ และขดลวด ที่ใช้ต่อกับเครื่องใช้ฟ้า เรียกว่า ขดลวดทุติยภูมิ
  • 3. 5. ไฟฟ้ากระแสสลับ 5.2 การผลิตและการส่งไฟฟ้ากระแสสลับ ❑ หม้อแปลง หม้อแปลงมี 2 ชนิด คือ 1. หม้อแปลงขึ้น (step-up transformer) จะมีขดลวดปฐมภูมิน้อยกว่าขดลวด ทุติยภูมิ ทำให้อีเอฟเอ็มหรือความต่างศักย์เพิ่มขึ้น 2. หม้อแปลงลง (step-down transformer) จะมีขดลวดปฐมภูมิมากกว่าขดลวด ทุติยภูมิ ทำให้อีเอฟเอ็มหรือความต่างศักย์ลดลง หม้อแปลงขึ้น หม้อแปลงลง ขดลวดทุติยภูมิ ขดลวดปฐมภูมิ ขดลวดทุติยภูมิ ขดลวดปฐมภูมิ
  • 4. 5. ไฟฟ้ากระแสสลับ 5.2 การผลิตและการส่งไฟฟ้ากระแสสลับ ❑ หม้อแปลง เมื่อต่อขดลดวดปฐมภูมิกับไฟฟ้ากระแสสลับจะเกิดอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนำใน ขดลวดทุติยภูมิ ซึ่งมีความสัมพันธ์ตามสมการ ε2 𝜀1 = N2 N1 เมื่อ 𝜀1 คือ อีเอ็มเอฟที่มาจากแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้าหรือความต่างศักย์ที่ขดลวดปฐมภูมิ 𝜀2 คือ อีเอ็มเอฟเหนี่ยวนำหรือความต่างศักย์ที่ขดลวดทุติยภูมิ N1 คือ จำนวนรอบขดลวดปฐมภูมิ N2 คือ จำนวนรอบขดลวดทุติยภูมิ