SlideShare a Scribd company logo
1
Computer Network &Internet
Network
 เน็ตเวิร์ค คือ การเชื่อมต่อของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 อุปกรณ์ขึ้นไป ทั้งระบบแบบมีสายและระบบไร้สาย โดยไม่จาเป็นต้องเฉพาะเครื่อง
PC ด้วยกัน แต่สามารถใช้ได้ทั้งการเชื่อมต่อของ Mobile กับ Laptop ก็ได้
 ประโยชน์ของเน็ตเวิร์ค คือ เพื่อใช้ทรัพยากรร่วมกัน เช่น การแลกเปลี่ยนข้อมูล การใช้โปรแกรมร่วมกัน การใช้ปริ๊นเตอร์ร่วมกัน เป็นต้น
ประเภทของเน็ตเวิร์ค
 Peer-to-Peer (P2P) คือ การเชื่อมต่อโดยตรงระหว่างคอมพิวเตอร์โดยไม่ผ่านตัวกลาง เช่น การใช้งานในรูปแบบ Home Network การใช้งาน
ขององค์กรขนาดเล็ก โดยเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ต่างๆ เพื่อแชร์ไฟล์ แชร์เครือข่าย หรือแชร์อินเตอร์เน็ต Bit torrent ก็เป็นตัวอย่างหนึ่งของ
รูปแบบ P2P คอมพิวเตอร์ของเราจะเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์อีกเครื่องบนอินเตอร์เน็ตโดยไม่ผ่าน server
 Client/Server คือ ระบบเครือข่ายที่เชื่อมโยงระหว่างแม่ข่าย (server) กับลูกข่าย (client) โดยตัวแม่ข่ายมีหน้าที่ให้ทรัพยากรแก่ลูกข่าย เช่น ไฟล์
โปรแกรม ให้เครื่อง client เพื่อให้client สามารถ request อุปกรณ์เหล่านั้นมาใช้ได้นอกจากนี้ P2P ยังเป็น Client-server ในตัวของมันเอง เช่น
โปรแกรม Bit torrent เป็น server ในกรณีส่งข้อมูลให้กับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น และเป็น Client ที่รับบริการข้อมูลจาก server อื่นในเวลา
เดียวกัน
2
ประเภทของ Server ขึ้นอยู่กับรูปแบบการให้บริการ ดังนี้
- File Server: ใช้จัดเก็บไฟล์
- Print Server: ใช้บริหารปริ๊นเตอร์
- Web Server:จัดเก็บเว็บเพจ
- Authentication Text Server: ใช้เช็คว่าผู้ใช้มีสิทธิในการใช้ระบบหรือไม่
- Database Server: ใช้จัดเก็บข้อมูล
- Application Server: ใช้จัดเก็บแอพพลิเคชั่น
- Mail Server: ใช้รับส่งอีเมล์
- DNS Server: ใช้แปลงโดเมนให้เป็น IP Address โดยการจับคู่ชื่อเว็ปไซด์กับหมายเลข IP Address
ข้อแตกต่างระหว่าง Client/Server กับ Peer-to-Peer
Peer-to-Peer การติดตั้งง่ายกว่า ความปลอดภัยต่ากว่า เนื่องจากไม่สามารถควบคุมข้อมูลต่างๆได้ ส่วนClient-Server มีต้นทุนสูงกว่า
เนื่องจากมีราคาที่สูงกว่า ใช้ในองค์กรระดับกลางไปจนถึงใหญ่ ส่วน Peer-to-Peer ใช้มากในระดับ home user และ SME
Transmission Media
คือ สื่อที่ใช้ในการรับส่งข้อมูล มีทั้งแบบมีสายและไม่มีสาย
1. สื่อที่มีสาย
 Twisted Pair Cable หรือที่เรียกว่าสายคู่บิดเกลียว คือ สื่อมีสายที่นิยมมากที่สุด ซึ่งพัฒนามาจากระบบสายโทรศัพท์ จนเป็น Local area
internet ที่เรียกว่าสาย LAN เพราะใช้ลวดทองแดงในการรับส่งเครือข่าย โดยข้อมูลขั้นต้นจะถูกแปลงให้อยู่ในรูปของกระแสไฟฟ้า ซึ่งเป็นที่
นิยมในธุรกิจ DSL ซึ่ง DSL คือการส่งข้อมูลในรูปแบบของ Voice และ Data สู่โมเด็มในบ้านเรา ความเร็วของ DSLขึ้นอยู่กับความห่าง
ระหว่างบ้านเรากับตู้ชุมสาย
 Brand width คือ ปริมาณข้อมูลที่สามารถจะรับส่งได้ใน 1 วินาที วัดได้ด้วยหน่วย BPS (บิตต่อวินาที)
 Broadband เปรียบเสมือนกับถนนที่ใหญ่ที่รถสามารถวิ่งได้หลายคัน โดย ถนน คือ Broadband และ รถ คือ ข้อมูล
 Narrowband คือ อินเตอร์เน็ตความเร็วต่า สาหรับปัจจุบันความเร็วที่ต่ากว่า 1 Mbps ถือว่าเป็นความเร็วที่ต่า
 Last Mile การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตระหว่าง ISP กับ Home User ซึ่ง Last Mile ได้ถูกนามาใช้วัดความเจริญของโครงสร้างพื้นาาน IT ของ
ประเทศ เช่น เกาหลี Last Mile อยู่ที่ 90 Mbps ของ Home user
2. สื่อไร้สาย
 การส่งข้อมูลผ่านทางอากาศ เช่น เครือข่ายเซลลูล่า เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ในการส่งสัญญาณก็จะมี Base station คอยดูแลข้อมูลในพื้นที่
ใดพื้นที่หนึ่งโดยเฉพาะมี 2 ประเภท คือ 1.คลื่นความถี่ที่ต้องใช้ใบอนุญาตในการประกอบการ เช่น 3G 4G WIMAX โดย WIMAX ใช้คลื่น
ความถี่คล้ายกับเซลลูล่า 2. ไม่มีใบอนุญาต เช่น บลูทูธ ไวไฟ อินฟราเรด
 Coaxial Cable เป็นที่นิยมมากในอเมริกา เป็นสัญญาณ Internet ที่มาพร้อมกับสัญญาณ Cable TV โดยบริษัทที่ให้บริการ Cable TV เป็น ISP
เป็นผู้ส่งสัญญาณ เมื่อสัญญาณดังกล่าวถูกส่งมาที่บ้านผู้ใช้ก็จะต้องผ่าน Modem เพื่อแยกสัญญาณ โดยต่อสายหนึ่งจาก Modem เข้า
คอมพิวเตอร์ และอีกสายหนึ่งต่อเข้า Box ทีวี ข้อดีคือ มีความเร็วในการดาวน์โหลดสูง แต่มีความเร็วในการอัพโหลดต่า ส่วนข้อเสียคือ ต้อง
แชร์ความเร็วกับผู้อื่นที่ใช้สัญญาณร่วมกัน ดังนั้นหากใช้งานในช่วงที่มีคนใช้งานเยอะความเร็วก็จะลดลง
3
 Fiber Optic Cable ข้อมูลจะถูกแปลงเป็นแสง จึงทาให้มีความเร็วสูงหลายร้อย Gbps ให้ Bandwidth สูงมาก แต่มีราคาแพง ข้อดีคือ มี
คุณภาพสูง ทนทานต่อสภาพแวดล้อม และสัญญาณรบกวนอื่นๆ ในประเทศไทยอาจจะมีใช้ในหมู่บ้านใหม่ๆ ที่ใช้เทคโนโลยี Hi-End แต่ใช้
อย่างแพร่หลายในเกาหลีใต้
Wireless Transmission แบ่งเป็น
1. Microwave หรือ คลื่นวิทยุ มีวิธีการส่งสัญญาณหลักๆ อยู่ 2 วิธี คือ ส่งสัญญาณผ่านทางดาวเทียม หรือแบบ point to point
 การส่งสัญญาณผ่านทางดาวเทียมถูกใช้มากในชนบท การส่งสัญญาณ Internet เป็นดาวเทียมประเภท Geo ซึ่งมีความสูงอยู่ที่ 22,300 ไมล์
ดาวเทียมชนิดนี้จะไม่มีการหมุนรอบโลก แต่จะอยู่นิ่งๆกับที่ ซึ่งแตกต่างกับดาวเทียมแบบ Meo กับ Leo จะเป็นดาวเทียมที่หมุนตามโลก
เพราะอยู่ในวงโคจร โดย Meo จะถูกใช้กับสัญญาณ GPS เช่น ในผลิตภัณฑ์ของ GARMIN เป็นต้น
 การส่งสัญญาณแบบ point to point จะเป็นการส่งสัญญาณระหว่างเครื่องส่งสัญญาณที่อยู่บนตึกสูง
2. Cellular Network เป็นการเชื่อมต่อ Internet ผ่านทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยจะแบ่งแต่ละพื้นที่ออกเป็น Cell ซึ่งในแต่ละ Cell จะมีเสาสัญญาณ
โทรศัพท์ทาหน้าที่เป็นตัวส่งสัญญาณให้กับผู้ใช้ที่อยู่ใน Cell นั้นๆ ซึ่งกระบวนการการเคลื่อนที่จาก Cell หนึ่งไปยังอีก Cell หนึ่งจะถูกเรียกว่า Hand
off
3. Wi-Fi ย่อมาจาก Wireless Fidelity ซึ่งเป็นที่นิยมใช้มากที่สุดในปัจจุบัน มี 4 มาตราาน ชื่อที่เป็น Code name ของ Wi-Fi คือ 802.11 ถูกตั้งขึ้นโดย
สถาบัน IEEE ซึ่งเป็นสถาบันที่ควบคุมดูแลเกี่ยวกับมาตราานด้านวิศวกรรมไฟฟ้า โครงสร้างของ Wi-Fi มีอุปกรณ์สาคัญคือ Router เพื่อเชื่อมต่อกับ
Internet และ Access point หรือ จุดกระจายสัญญาณ ซึ่งอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต้องมีอุปกรณ์ Wireless Nic เพื่อใช้ในการเชื่อมต่อ และต้องมีมาตราาน
เดียวกับ Access point จึงจะสามารถใช้งานได้
มาตรฐานของ Wi-Fi มี 4 อย่างดังนี้
1. 802.11a มีคลื่นความถี่อยู่ที่ 5GHz และมีความเร็วอยู่ที่ 54 Mbps
2. 802.11b ซึ่งเกิดขึ้นพร้อมๆ กับแบบ a แต่ไม่สามารถใช้งานร่วมกันได้เนื่องจากมีคลื่นความถี่ที่แตกต่างกัน โดยมีคลื่นความถี่อยู่ที่ 2.4 GHz และมี
ความเร็วอยู่ที่ 11 Mbps ถึงแม้b จะมีความเร็วที่ต่ากว่า แต่ก็ถูกใช้มากกว่า เนื่องมาจากการครอบคลุมพื้นที่การให้บริการได้กว้างไกลกว่า
3. 802.11g ถูกพัฒนามาจากรุ่น b ซึ่งสามารถใช้งานร่วมกับ b ได้โดยมีคลื่นความถี่อยู่ที่ 2.4 GHz และมีความเร็วอยู่ที่ 54 Mbps
4. 802.11n เพิ่งถูกเปิดตัวในปี 2011 ที่ผ่านมา สามารถใช้งานร่วมกับทั้ง a, b และ g ได้ โดยมี 2 คลื่นความถี่คือ 2.4 GHz และ 5GHz และมีความเร็ว
สูงสุดอยู่ที่ 600 Mbps แต่ถึงแม้จะมีความเร็วสูงมาก แต่ปัจจัยสาคัญที่จะทาให้ผู้ใช้ได้เข้าถึงความเร็วนั้น คือความเร็วที่ Router สามารถรองรับได้ ส่วน
ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งอินเตอร์เน็ตแบบมีสายก็เสียค่าใช้จ่ายมากกว่าแบบไร้สาย เพราะต้องเสียค่าอุปกรณ์มากกว่า เช่น การเดินสาย ค่าบารุงรักษา เป็น
ต้น และยังปลอดภัยกว่าแบบไร้สายที่ถูกดักจับข้อมูลได้ง่าย และยังสามารถควบคุมความเร็วได้ดีกว่าอีกด้วย
4
Navigation Device
คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการนาส่งข้อมูลในระบบเครือข่าย
1. Network Navigation Device
 Hub เดิมเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในระบบPeer to Peer ใช้ในการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ต่างๆในระบบเครือข่ายเข้าด้วยกัน แต่ปัจจุบันไม่นิยมใช้
เพราะ Hub จะรับส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งแล้วส่งให้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง
 Switch and bridges เป็นอุปกรณ์แบบเดียวกับ Hub ที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้บริหารคอมพิวเตอร์ภายในระบบเครือข่ายเดียวกัน ดีกว่า Hub เพราะ
มันรู้ว่าเมื่อรับข้อมูลมาแล้วจะต้องส่งข้อมูลนี้ที่เครื่องไหน โดยจะไม่ส่งไปให้ทุกเครื่องเหมือน Hub
2. Connecting Network
คือ เมื่อใดก็ตามที่มีการเชื่อมต่อเครือข่ายหนึ่งกับอีกเครือข่ายหนึ่งเข้าด้วยกันต้องใช้Routerเป็นตัวเชื่อมต่อ
3. Network Adapters
คือ เครื่องมือสาหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย อาจเป็นการ์ด Wireless หรือสายต่างๆ แต่เป็นองค์ประกอบสาคัญที่ต้องมี
ปัจจุบันนิยมใช้NICs (Network interface cards) ในการรับส่งข้อมูลในระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่าย แบ่งได้เป็น 4 ประเภทหลักๆ ตามขนาดของเครือข่าย
1. LANs (Local area network) เป็นระบบขนาดเล็กที่ใช้อยู่ในแค่ชั้นหนึ่งชั้นหรือตึกหนึ่งตึก แบ่งเป็น
1.1 Ethernetเป็นมาตราานหลักที่ใช้ในปัจจุบัน โดยมีความเร็วสูงสุดอยู่ที่ 10 Gbps
5
1.2 Wireless LAN (Wi-Fi)
2. MANs (Metropolitan area network) เป็นระบบเครือข่ายที่ครอบคลุมในระดับเมือง หมายถึง Wi-Fi ที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกันในระดับเมือง อย่างเช่น
TRUE Wi-Fi จะเป็น MANs หรืออาจจะเป็นอีกเทคโนโลยีหนึ่ง เช่น WiMax ซึ่งมีรัศมีครอบคลุม 1 เสา/50 กิโลเมตร แต่ WiMax เหมาะกับการใช้งาน
อยู่กับที่ หากมีการเคลื่อนไหวความเร็วจะตกลงเหมือนกับWi-Fi คือ น่าจะมาแทนที่ DSL เพราะครอบคลุมพื้นที่กว้างเหมาะกับชนบทที่ต้องมีต้นทุน
ในการติดตั้งและเดินสายสูง
3. WANs (Wide area network) เป็นระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ที่ครอบคลุมภูมิภาค, ประเทศ หรือระหว่างประเทศ มักใช้เชื่อมโยงผ่านดาวเทียมหรือ
ทางสายเคเบิลใต้ทะเล ส่วนใหญ่ใช้เชื่อมต่อระหว่างองค์กรขนาดใหญ่หรือระหว่าง ISP
6
4. PANs (Personal, Private area network) คือ ระบบเครือข่ายที่เล็กที่สุด ครอบคลุมระยะเพียง 3-4 เมตรเท่านั้น เช่น Bluetooth, Barcode, Infrared,
RFID แต่ที่นิยมใช้คือ Bluetooth และ RFID
RFID (Radio frequency identification)
เป็นเทคโนโลยีที่ใช้แทน Barcode มีข้อดีคือ เครื่องอ่านกับTagไม่จาเป็นต้องอยู่ในระนาบเดียวกันก็สามารถอ่านข้อมูลได้ และยังสามารถ
อ่าน Tag หลายๆ Tag พร้อมกันได้โดย RFID แบ่งเป็น
 Active เก็บข้อมูลได้มากกว่า, มีระยะอ่านข้อมูลในระยะไกลกว่าอาจมีระยะถึง 100 เมตร ตัวอย่างเช่น บัตร Easy pass
 Passiveมีราคาถูกกว่า ที่ WalMart ใช้มีราคาเพียง 7-8 cent แต่ก็มีระยะอ่านสั้นและไม่มีแบตเตอรี่ในตัว
ตัวอย่างการใช้RFID ใน WalMart ทาให้ลดปัญหาเรื่องการเข้าคิวเพื่อรอชาระเงิน ซึ่งทาให้เกิดการรอคอย และแน่นอนว่าหากทาสาเร็จ
อาชีพแคชเชียร์จะต้องตกงาน
RFID ยังสามารถใช้กับโทรศัพท์มือถือ เช่น TRUE TouchSIM หรือการใช้บริหารคลังสินค้าคงคลังในตอนนี้ยังใช้กับ Tag ของ Pallet หรือ
กล่อง แต่หากราคาของ RFID มีราคาถูกลงก็อาจขยับการใช้งานลงไปในระดับ item
7
อินเตอร์เน็ต (Internet)
เป็นระบบ WANs ที่ใช้มาตราาน TCP/IP
ประวัติของ Internet
เริ่มจากโครงการกระทรวงกลาโหมสหรัาที่วิตกเรื่องสงครามนิวเคลียร์ เพราะหากศูนย์ข้อมูลโดนโจมตี ข้อมูลก็อาจเสียหายได้
จึงต้องพยายามสร้างระบบเชื่อมโยงข้อมูลกัน
วิวัฒนาการของ Internet
1. ช่วงนวัตกรรม ปี 1964-1974 เกิดระบบเครือข่ายขึ้น แต่ยังทาอยู่คนละมาตราานกัน
2. ช่วงสถาบัน ปี 1975-1995 เริ่มมีการใช้มาตราาน TCP/IP
3. ช่วงพาณิชย์ปี 1995-ปัจจุบัน คือ ช่วงนี้เริ่มตั้งแต่มีการใช้ภาษา HTML โดยอินเตอร์เน็ตเป็นพื้นาานหลักในการทาธุรกิจ
องค์ประกอบหลักของอินเตอร์เน็ต
Circuit switching เป็นระบบที่ใช้ในโทรศัพท์บ้าน โดยมีรูปแบบคือ เมื่อมีการติดต่อสื่อสารขึ้นในช่องทางนั้น การสื่อสารอื่นๆ
ก็จะไม่สามารถใช้งานได้จนกว่าคู่สายนั้นจะหยุดการใช้งาน ระบบนี้จึงใช้กับโทรศัพท์บ้านเป็นหลัก ซึ่งตรงนี้ทาให้มีการการันตีว่า ถ้ามี
การใช้งานเกิดขึ้น คนอื่นๆจะไม่สามารถเข้ามาใช้งานได้นั่นคือจไม่ถูกรบกวนจากผู้อื่น
องค์ประกอบหลักและเทคโนโลยีที่ใช้เป็นพื้นฐานของอินเตอร์เน็ต
1. Packet Switching Network
2. TCP/IP
3. Client Server
8
1. Packet Switching Network
ข้อมูลจะถูกแปลงออกมาเป็น Digital หลังจากนั้นจะถูกแปลงออกมาเป็น Packet ในแต่ละ Packet จะถูกส่งไปยัง
เส้นทางต่างๆ ที่แตกต่างกันหรือเหมือนกันก็ได้ และถูกรวมเป็นข้อมูลส่วนเดียวที่ปลายทาง ขนาดของ Packet ขึ้นอยู่กับ
ประเภทของเครือข่าย เช่น ใน LAN ขนาดของ Packet อยู่ที่ 1024 Bits สมมติว่าเรามีข้อมูลอยู่ประมาณ 3000 Bits ข้อมูลนั้นก็
จะถูกแปลงออกมาเป็น 3 Packet เนื่องจากในแต่ละ packetมีข้อมูลได้ประมาณ 1000bitsและถูกส่งไปคนละเส้นทางในแต่ละ
Packet มันจะเหมือนกับซองจดหมาย จะมีตัวเนื้อหา ที่อยู่ของผู้ส่ง และที่อยู่ของผู้รับ ในเครือข่ายจะมี router ทาหน้าที่เหมือน
บุรุษไปรษณีย์คอยทาหน้าที่นาส่งแต่ละ Packet เมื่อไปถึงปลายทางก็จะถูก check ว่ามาถึงครบถ้วนหรือไม่ จากนั้นก็เข้ามา
รวมกันเป็นข้อมูลส่วนเดียวดังเดิม
Packet-Switching Network
ข้อดีของ Packet Switching Network คือ ในแต่ละ communication line สามารถนาส่ง Packet ร่วมกัน สามารถ
แชร์เส้นทางร่วมกันได้ซึ่งแตกต่างจาก Circuit Switching Network ซึ่งถ้าเรากาลังใช้ทางเส้นนั้นอยู่ คนอื่นจะไม่สามารถใช้ทาง
เส้นนั้นได้เลย จะใช้ได้ก็ต่อเมื่อข้อมูลที่อยู่ใน line ไปถึงจุดหมายแล้ว
ซึ่งการรับส่งข้อมูลทุกอย่างในระบบ Internet ไม่ว่าจะเป็น รูปภาพ วีดีโอ ข้อความ เพลง e-mail จะต้องตั้งอยู่ใน
รูปแบบ Packet Switching Network
9
2. TCP/IP
คือ เครื่องมือที่ใช้ในการแบ่งข้อมูลออกมาเป็น IP Packet หลังจากนั้นนาส่งแต่ละ Packet จากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่
ส่งข้อมูลไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ที่รับข้อมูล
หน้าที่ของ TCP (Transitions control protocol) คือ เป็นมาตราานในการใช้แบ่งข้อมูลออกมาเป็น Packet และทา
หน้าที่คอย check ว่าแต่ละ Packet ที่มีการนาส่งมาถึงปลายทางครบหรือไม่
หน้าที่ของ IP (Internet Protocol) คือ ทาหน้าที่ในการนาส่ง Packet จากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ส่งข้อมูลไปยังเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่หมาย
รูป TCP/IP
TCP/IPเป็นการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์บนเครือข่าย internet มี 4 layers ดังนี้
 Application Layer เช่น การใช้ Web browser, E-mail, Games Online Application และส่งข้อมูลไปยังชั้น
Transport
 Transport Layer หน้าที่หลัก คือ เป็น TCP ทาหน้าที่ในการแบ่งข้อมูลออกมาเป็น Packet และให้ number
ของ Packet จากนั้นก็ส่ง Packet ไปที่ชั้น internet
 Internet Layer หน้าที่หลัก คือ เป็น IP ทาหน้าที่ในการนาส่ง Packet จากเครื่อง A ไปยังเครื่อง B
 Network Interface Layer เป็นชั้นที่ Packet ถูกแปลงออกมาให้อยู่ในรูปสื่อใดสื่อหนึ่ง ถ้าเป็น twisted pair
cable ก็อยู่ในรูปกระแสไฟฟ้า ถ้าเป็น Fiber-Optic cable ก็เป็นแสง ถ้าเป็นรูปแบบของสัญญาณเครือข่ายไร้
สายก็เป็นสัญญาณวิทยุ และเมื่อไปถึงปลายทางจากรูปแบบกระแสไฟฟ้าหรือรูปแบบอื่นๆ ก็ถูกแปลงออกมา
เป็น IP Packet ซึ่งในแต่ละ IP Packet ก็จะถูก check ที่ชั้น transport ว่าข้อมูลมาครบถ้วนหรือไม่
รูป การแบ่งชั้นของTCP/IP
10
Path or Subdirectory
IP Address
IP Address (Internet Protocol Address) คือ หมายเลขประจาเครื่องคอมพิวเตอร์หรือตัวเลขที่ใช้แทนที่อยู่ของเครื่องคอมพิวเตอร์ (รวมถึง
iPhone, iPad, tablet etc.)บนระบบเครือข่าย IP Address จะไม่ซ้ากันในทุกๆอุปกรณ์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด มีเครื่องหมายจุดขั้นระหว่างชุดเช่น
192.168.1.1 โดยเวอร์ชั่น IP Address ในปัจจุบันคือ version 4 หรือ IPv4 ซึ่งมีทั้งหมด 32 bit หรือ 4 byte ซึ่งแต่ละชุดมีตัวเลขเริ่มตั้งแต่ 0-255 โดย
IPv4 สามารถมีเลข IP Address ได้ประมาณ 4 พันล้าน IP Address ซึ่งในปัจจุบันเริ่มไม่เพียงพอต่อการใช้งานเนื่องจากประชากรบนโลกมีประมาณ 7
พันล้านคนและแต่ละคนยังมีอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตมากกว่า 1 เครื่อง จึงได้เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงจาก IPv4 ไปเป็น IPv6 ซึ่งมี 128 bit และมี
การคาดการณ์ว่า IPv6 นี้สามารถรองรับการใช้งานได้อย่างเพียงพอไปอีกเป็น 100 ปี
IP Address มี 2 ประเภท
 Static address คือ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง IP addressส่วนใหญ่ใช้กับเครื่อง Server
 Dynamic address คือ IP Address จะมีการเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละครั้งเมื่อมีการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย เมื่อเราเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่าย
ISP (Internet Service Providers) จะทาการสุ่มหมายเลข IP Address ให้เรา
DomainNames
Domain Names คือ ชื่อของเว็บไซท์ที่ใช้แทน IP Address เนื่องจาก IP Address จะเป็นชุดของตัวเลข ทาให้จดจาได้ยาก จึงมีการใช้
Domain Name แทนการใช้IP Address
DomainNames System (DNS)
Domain Names System คือ ระบบที่จับคู่ IP Address กับ Domain Name นั่นคือเมื่อเราพิมพ์ชื่อเว็บไซท์ที่เป็นภาษาอังกฤษ DNS จะทาการ
จับคู่หรือค้นหาชื่อเว็บไซท์นั่นว่ามีการใช้เลข IP Address อะไร เพื่อระบุ Address ของเครื่องคอมพิวเตอร์บนระบบเครือข่าย
UniformResource Locators (URL)
URL เป็นเสมือนที่อยู่ของเอกสารบนเว็บไซท์ โดยเอกสารจะต้องมี URL เป็นของตัวเอง URL เป็นสิ่งที่ใช้ในการระบุที่อยู่ของเอกสารนั้น
แต่ละ URL ประกอบไปด้วยส่วนพื้นาาน 3 ส่วน คือ Protocol, Domain name, Subdirectory เช่น
Domain Names มีด้วยกันหลาย Levelดังตัวอย่าง
Top Level DomainName คือ คาที่อยู่หลัง (.) เช่น .com, .th, .org และอื่นๆ ซึ่งมีอยู่ 3 ประเภทหลักๆ คือ
 Unsponsored Top Level DomainName คือ Top level Domain Name ที่ใครๆ ก็สามารถนาไปใช้ได้อย่างเช่น .com ที่มาคือ commercial
จะเน้นไปในทางการค้า แต่ปัจจุบันแม้ไม่ได้ทาการค้าก็สามารถใช้ได้
http://translate.google.com
Sub Domain Name
Second LevelDomain
Name
Top LevelDomain Name
http://www.nytimes.com/pages/cartoons
Protocol Domain Name
11
 Sponsored Top Level Domain Name คือ จะต้องเป็นสมาชิกขององค์กรถึงสามารถนาไปใช้ได้ อย่างเช่น .asia จะต้องเป็นสามารถชิกที่
อยู่ในทวีปเอเชียถึงจะสามารถนาไปใช้ได้หรือ .museum ก็จะต้องเป็นพิพิธภัณฑ์เป็นต้น
 Country Top Level DomainName คือ ในแต่ละประเทศจะมีการระบุ Top Level Domain Name อย่างประเทศไทยก็คือ .th, ประเทศ
อังกฤษ .uk, ประเทศมาเลเซีย .my เป็นต้น
ICANN (Internet Corporation for Assign Names and Numbers) เป็นองค์กรที่ระบุและจัดการDomain Name
Creatinga good domainname โดยมีเว็บไซท์ที่ช่วยในการตั้งชื่อ Domain name คือhttp://www.wordoid.com โดยจะนาชื่อต่างๆ ที่เราสนใจมาผสม
กันให้เป็นชื่อที่น่าสนใจได้
ISP (Internet Service Providers)
คือ ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต ส่วนใหญ่มักมาจากบริษัทโทรศัพท์หรือบริษัทเคเบิ้ลทีวี เนื่องจากมีโครงสร้างพื้นาานอยู่แล้ว ซึ่งจะมี
Narrowband กับ Broadband
Internet, Intranets และ Extranets
Internet, Intranetsและ Extranetsเหมือนกันที่เครือข่ายใช้มาตราานเดียวกันคือ TCP/IP และแตกต่างกันที่การเข้าถึงข้อมูล ดังนี้
 Internet : เป็นระบบสาธารณะ สามารถเข้าถึงได้ทุกคน
 Intranets : เป็นระบบเครือข่ายภานในองค์กร สามารถเข้าถึงได้เฉพาะคนในองค์กร เช่น ระบบอีเมล์ของนิด้า
 Extranets : เป็นระบบเครือข่ายระหว่างองค์กร สามารถเข้าถึงได้ระหว่างองค์กร หรือองค์กรกับลูกค้า
12
Business Internet Connectivity
ธุรกิจที่ต้องการความปลอดภัยจะใช้สายเช่า เช่น T1 Lines 1.544 Mbps และ T3 Lines 45 Mbps ที่มีราคาที่สูง หรือระบบโครงข่ายที่
เรียกว่า Asynchronous transfer mode (ATM) เหล่านี้เป็นระบบเครือข่ายที่ให้บริการเข้าถึงอินเตอร์เน็ตความเร็วที่สูงและความปลอดภัยก็สูง
เช่นเดียวกัน จึงมีราคาที่สูงมากในการใช้
ในด้านของการเชื่อมต่อ แนวโน้มในอนาคตที่มีการพูดถึง เช่น การใช้กระแสไฟฟ้ าหรือการเสียบปลั๊กไฟ ที่ทาให้สามารถเชื่อมต่อ
อินเตอร์เน็ตได้มีการทดลองอยู่ที่ 1-3 เมกะบิต ต่อวินาที
ข้อดี คือ สามารถใช้โครงสร้างที่มีอยู่ปัจจุบันได้เลย
WiMax เป็นอีกอันที่ เป็นแนวโน้มในการเข้าถึงอินเตอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตนั้นไม่มีใครเป็นเจ้าของ แต่มีหน่วยงานที่มีการกากับมาตราานต่างๆ การกาหนดมาตราานของเทคโนโลยีบนอินเตอร์เน็ต
เช่น XML ซึ่งมาจาก World Wide Web Consortium
Web กับ อินเตอร์เน็ต มีความแตกต่างกัน คือ Web เป็น Application ที่ใช้บน อินเตอร์เน็ต เริ่มต้นมาจาก Tim Berners Lee สร้างภาษา html
ขึ้นและ Marc Andreessen ได้สร้างเว็บบราวเซอร์แรกของโลกขึ้นชื่อ MOSAIC แต่ไม่ถูกนามาใช้ในเชิงพาณิชย์ ต่อมาถูกนามาใช้ในเชิงพาณิชย์ครั้ง
แรกในปี 1994 นั่นคือ Netscape ตั้งแต่ออก Windows 95 พร้อมกับ IE (Internet Explorer) เลยทาให้IE ได้ส่วนแบ่งการตลาดมากที่สุด
Web clientก็คือ Web browserที่เราใช้กันอยู่ ทาหน้าที่ในการร้องขอข้อมูลไปยัง Web server
ประโยชน์ของ Web ปัจจุบันมากจากการที่เอกสารต่างๆ มันสามารถเชื่อมต่อกันได้ผ่านทาง Hypertext
Web browsers ต่างๆ ในปัจจุบัน
Internet Explorer มีส่วนแบ่งการตลาดสูงที่สุด ถึง 73% รองลงมาคือ Firefox 19% ที่เหลือเป็นของ Opera Safari (for Apple) และ Google
chrome
Trends
Trends ของอินเตอร์เน็ตปัจจุบัน
Trends อันแรกที่ร้อนแรงที่สุดในปัจจุบัน คือ Cloud Computing เป็นการให้บริการข้อมูลต่างๆ จากเดิมที่การให้บริการอยู่ในองค์กรใด
องค์กรหนึ่ง ได้ถูกย้ายไปอยู่บน Cloud ซึ่ง Cloud ก็คือ อินเตอร์เน็ต โดยบทบาทของ Cloud ก็คือ จะเปลี่ยนรูปแบบการใช้ทรัพยากร ต่างๆ เช่น
Software จากเดิมที่องค์กรจะต้องมีการลงทุนในเรื่องของ Software และ Hardware โดยเปลี่ยนรูปแบบจากการซื้อมาเป็นการเช่าแทน ซึ่งทาให้องค์กร
สามารถที่จะจับคู่ด้าน Demand และ Capacity ที่ต้องใช้ภายในองค์กรได้
13
รูปแบบการให้บริการ Cloud service แบ่งเป็น3 ประเภทหลัก ได้แก่
1. Software as a service ให้บริการในด้านของ Application software เช่น Google Soho
2. Platform as a service ผู้ให้บริการจะสร้าง platform ก็คือระบบปฏิบัติการ เพื่อให้องค์กรหรือผู้พัฒนา สร้าง Application บน
Platform นั้น เช่น Microsoft assurance
3. Infrastructure as a service ให้บริการในเรื่องของ Infrastructure เช่น ในเรื่องของการเก็บข้อมูลในการประมวลผลต่างๆ เช่น
Amazon Cloud
ตัวของ Cloud ยังมีทั้ง Public Cloud และ Private Cloud โดย Public Cloud ให้บริการโดย Provider ส่วน Private Cloud ก็เป็น Cloud
ที่ใช้ภายในองค์กร เช่น Chevron
Cloud Computing
เหมาะกับองค์กรที่มีสาขาแยกกันอยู่ในที่ต่างๆ ซึ่งแต่ละสาขามีความต้องการในการเข้าถึงข้อมูลเหมือนๆกัน ตัวของ Cloud ยังมีทั้งใน
รูปแบบของ Hybrid Cloud ข้อมูลบางส่วนจะถูกเก็บไว้ในองค์กร และบางส่วนก็เก็บไว้บน Cloud
Cloud computing เข้ามามีบทบาทเนื่องจากว่า เป็นการช่วยลดต้นทุนและค่าใช้จ่ายในการลงทุน ขององค์กร เนื่องจากองค์กรไม่จาเป็นต้อง
ลงทุนใน Software และ Hardware เอง รวมไปถึงเรื่องของการบารุงรักษา เพราะมีการเปลี่ยนโมเดลจากการซื้อมาเป็นการเช่า แต่ปัจจุบันก็ยังมีข้อโต้ถี
ยงในเรื่องความปลอดภัย และประเด็นของการเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตตลอดเวลาเพราะประเทศไทยยังมีปัญหาในเรื่องของความเร็วและความเสถียร
ของอินเตอร์เน็ต
GridComputing
ในไทยยังไม่มีการนามาใช้ส่วนในต่างประเทศ เป็นการสร้างการประมวลผลระดับสูง โดยนาเอาการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
จานวนมากมาช่วยในการประมวลผลแทน Super Computer ตัวอย่างจาก setI@home เป็น Project ของมหาวิทยาลัย ใน แคลลิฟฟอร์เนีย
IP Convergence
เป็นอีกแนวโน้มหนึ่ง โดยอุปกรณ์ต่างๆ อย่าง สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต ก็สามารถเชื่อต่ออินเตอร์เน็ตได้ และทางานร่วมกันได้โดยจะมี IP
Address เป็นที่อยู่ในการรับส่งข้อมูล
VoIP Technology
แนวโน้มในเรื่องของเสียงอาจจะมีการให้บริการฟรี เพราะมันจะรวมกับโครงสร้างพื้นาานของอินเตอร์เน็ต เช่น Face time, Skype, Line,
VDO conference
Green Computing
เป็นอีกแนวโน้มหนึ่งในการใช้ IT มีการทา Virtual machine ใส่ระบบปฏิบัติการได้หลายระบบ ในเครื่องHardware เครื่องใดเครื่องหนึ่ง
โดยเฉพาะ ช่วยให้องค์กรประหยัดต้นทุน
14
ประเด็นต่างๆในปัจจุบัน
 มีคาถามที่ว่าเราจะอนุญาตให้พนักงานใช้อินเตอร์เน็ตเวลาทางานหรือไม่? มี 2 ความเห็น คือ ควร เพราะพนักงานงานสามารถใช้เป็น
ประโยชน์กับการทางานได้ ในส่วนของ ไม่ควร คือ เกรงว่าพนักงาน จะใช้อินเตอร์เน็ต ในทางส่วนตัว
 Internet addiction ขาดอินเตอร์เน็ตไม่ได้จึงกลายเป็นโรคทางจิตวิทยา
 Network Neutrality การคิดราคาการให้บริการอินเตอร์เน็ต มี 2 แบบ ควรคิดตามการใช้งานจริง หรือ คิดราคาเดียวกันหมด ไม่ว่าจะใช้งาน
อย่างไร เป็นประเด็นในด้านของการตั้งราคาค่าบริการ
 Laws and Regulations เรื่องของกฎหมาย เพราะ อินเตอร์เน็ตเป็น Global system เพราะบางอย่างในบางประเทศเป็นสิ่งที่ผิด แต่บาง
ประเทศกลับเป็นสิ่งที่ถูก
 Digital Divide ความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงเข้าถึงดิจิตอล มีการแบ่งคนออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
๐ คนที่มีโอกาสเข้าถึง
๐ คนที่ไม่สามารถเข้าถึง
ความแตกต่างกันนี้นาไปสู่ความแตกต่างกันในด้านอื่นๆ เช่น ในเรื่องของการศึกษา ความแตกต่างในด้านการหางาน สถานภาพทาง
เศรษากิจ Digital Divide ในไทยค่อนข้างสูง มีหลายมิติ เช่น ในเขตเมืองสามารถเข้าถึงได้ง่ายกว่ารวมไปถึงด้านอายุ คนที่อายุเยอะจะกลัวในการใช้
เทคโนโลยี

More Related Content

What's hot

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ARAM Narapol
 
ระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ตระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ต
Wanphen Wirojcharoenwong
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Wanphen Wirojcharoenwong
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
Tophit Sampootong
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์GRimoho Siri
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Narathip Limkul
 
Basic network
Basic networkBasic network
Basic networkkruniid
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์Krusine soyo
 
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407Pitchayut Wongsriphuak
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
Morn Suwanno
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นNoomim
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Weina Fomedajs
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Sirinat Sansom
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
Morn Suwanno
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
อรยา ม่วงมนตรี
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ดุลยวัต วิไลพันธุ์
 

What's hot (18)

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ตระบบอินเตอร์เน็ต
ระบบอินเตอร์เน็ต
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Basic network
Basic networkBasic network
Basic network
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
 
Lan 01
Lan 01Lan 01
Lan 01
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Home network
Home networkHome network
Home network
 

Viewers also liked

C chap2
C chap2C chap2
"โรงเรียน ICU" ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทย
"โรงเรียน ICU" ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทย"โรงเรียน ICU" ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทย
"โรงเรียน ICU" ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทย
PR OBEC
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4Mevenwen Singollo
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2Mevenwen Singollo
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์supatra2011
 
แนวข้อสอบ คอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบ คอมพิวเตอร์แนวข้อสอบ คอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบ คอมพิวเตอร์Jinwara Sriwichai
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศLupin F'n
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์konkamon
 

Viewers also liked (8)

C chap2
C chap2C chap2
C chap2
 
"โรงเรียน ICU" ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทย
"โรงเรียน ICU" ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทย"โรงเรียน ICU" ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทย
"โรงเรียน ICU" ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาไทย
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
แนวข้อสอบ คอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบ คอมพิวเตอร์แนวข้อสอบ คอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบ คอมพิวเตอร์
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 

Similar to Computer network & internet

Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
Jenchoke Tachagomain
 
4wire-wireless.ppt
4wire-wireless.ppt4wire-wireless.ppt
4wire-wireless.ppt
PawachMetharattanara
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)
Theruangsit
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
Suchat Bon
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
Suchat Bon
 
Network System
Network SystemNetwork System
Network System
Nattawut Pornonsung
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
Tophit Sampootong
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ปิยะดนัย วิเคียน
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
ninjung
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์Tata Sisira
 
บทที่9
บทที่9บทที่9
บทที่9
Jaohjaaee
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
galswen
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
junniemellow
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
katuckkt
 
บทที่9
บทที่9บทที่9
บทที่9
pasanozzterr
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
Min Jidapa
 
Computer
ComputerComputer

Similar to Computer network & internet (20)

Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
4wire-wireless.ppt
4wire-wireless.ppt4wire-wireless.ppt
4wire-wireless.ppt
 
4wire-wireless.ppt
4wire-wireless.ppt4wire-wireless.ppt
4wire-wireless.ppt
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Network System
Network SystemNetwork System
Network System
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9
บทที่9บทที่9
บทที่9
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
บทที่9
บทที่9บทที่9
บทที่9
 
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
บทที่9 ม 6_6เลขที่10_28_44_สมบูรณ์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Computerkamolaporn
ComputerkamolapornComputerkamolaporn
Computerkamolaporn
 

More from Mevenwen Singollo

C chap1
C chap1C chap1
Information
InformationInformation
Information
Mevenwen Singollo
 
C lab5 2
C lab5 2C lab5 2
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet11.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
Mevenwen Singollo
 
Dreamweaver
DreamweaverDreamweaver
Dreamweaver
Mevenwen Singollo
 
ตกลงราคา Manual e-GP
ตกลงราคา Manual e-GPตกลงราคา Manual e-GP
ตกลงราคา Manual e-GP
Mevenwen Singollo
 

More from Mevenwen Singollo (12)

C chap1
C chap1C chap1
C chap1
 
Information
InformationInformation
Information
 
C lab5 2
C lab5 2C lab5 2
C lab5 2
 
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet11.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
 
Dreamweaver
DreamweaverDreamweaver
Dreamweaver
 
ตกลงราคา Manual e-GP
ตกลงราคา Manual e-GPตกลงราคา Manual e-GP
ตกลงราคา Manual e-GP
 
Logic
LogicLogic
Logic
 
Chip special network
Chip special networkChip special network
Chip special network
 
Book technic cal_ip
Book technic cal_ipBook technic cal_ip
Book technic cal_ip
 
009 crma sensor-network-wip
009 crma sensor-network-wip009 crma sensor-network-wip
009 crma sensor-network-wip
 
Networks
NetworksNetworks
Networks
 
Christmas
ChristmasChristmas
Christmas
 

Computer network & internet

  • 1. 1 Computer Network &Internet Network  เน็ตเวิร์ค คือ การเชื่อมต่อของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 อุปกรณ์ขึ้นไป ทั้งระบบแบบมีสายและระบบไร้สาย โดยไม่จาเป็นต้องเฉพาะเครื่อง PC ด้วยกัน แต่สามารถใช้ได้ทั้งการเชื่อมต่อของ Mobile กับ Laptop ก็ได้  ประโยชน์ของเน็ตเวิร์ค คือ เพื่อใช้ทรัพยากรร่วมกัน เช่น การแลกเปลี่ยนข้อมูล การใช้โปรแกรมร่วมกัน การใช้ปริ๊นเตอร์ร่วมกัน เป็นต้น ประเภทของเน็ตเวิร์ค  Peer-to-Peer (P2P) คือ การเชื่อมต่อโดยตรงระหว่างคอมพิวเตอร์โดยไม่ผ่านตัวกลาง เช่น การใช้งานในรูปแบบ Home Network การใช้งาน ขององค์กรขนาดเล็ก โดยเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ต่างๆ เพื่อแชร์ไฟล์ แชร์เครือข่าย หรือแชร์อินเตอร์เน็ต Bit torrent ก็เป็นตัวอย่างหนึ่งของ รูปแบบ P2P คอมพิวเตอร์ของเราจะเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์อีกเครื่องบนอินเตอร์เน็ตโดยไม่ผ่าน server  Client/Server คือ ระบบเครือข่ายที่เชื่อมโยงระหว่างแม่ข่าย (server) กับลูกข่าย (client) โดยตัวแม่ข่ายมีหน้าที่ให้ทรัพยากรแก่ลูกข่าย เช่น ไฟล์ โปรแกรม ให้เครื่อง client เพื่อให้client สามารถ request อุปกรณ์เหล่านั้นมาใช้ได้นอกจากนี้ P2P ยังเป็น Client-server ในตัวของมันเอง เช่น โปรแกรม Bit torrent เป็น server ในกรณีส่งข้อมูลให้กับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น และเป็น Client ที่รับบริการข้อมูลจาก server อื่นในเวลา เดียวกัน
  • 2. 2 ประเภทของ Server ขึ้นอยู่กับรูปแบบการให้บริการ ดังนี้ - File Server: ใช้จัดเก็บไฟล์ - Print Server: ใช้บริหารปริ๊นเตอร์ - Web Server:จัดเก็บเว็บเพจ - Authentication Text Server: ใช้เช็คว่าผู้ใช้มีสิทธิในการใช้ระบบหรือไม่ - Database Server: ใช้จัดเก็บข้อมูล - Application Server: ใช้จัดเก็บแอพพลิเคชั่น - Mail Server: ใช้รับส่งอีเมล์ - DNS Server: ใช้แปลงโดเมนให้เป็น IP Address โดยการจับคู่ชื่อเว็ปไซด์กับหมายเลข IP Address ข้อแตกต่างระหว่าง Client/Server กับ Peer-to-Peer Peer-to-Peer การติดตั้งง่ายกว่า ความปลอดภัยต่ากว่า เนื่องจากไม่สามารถควบคุมข้อมูลต่างๆได้ ส่วนClient-Server มีต้นทุนสูงกว่า เนื่องจากมีราคาที่สูงกว่า ใช้ในองค์กรระดับกลางไปจนถึงใหญ่ ส่วน Peer-to-Peer ใช้มากในระดับ home user และ SME Transmission Media คือ สื่อที่ใช้ในการรับส่งข้อมูล มีทั้งแบบมีสายและไม่มีสาย 1. สื่อที่มีสาย  Twisted Pair Cable หรือที่เรียกว่าสายคู่บิดเกลียว คือ สื่อมีสายที่นิยมมากที่สุด ซึ่งพัฒนามาจากระบบสายโทรศัพท์ จนเป็น Local area internet ที่เรียกว่าสาย LAN เพราะใช้ลวดทองแดงในการรับส่งเครือข่าย โดยข้อมูลขั้นต้นจะถูกแปลงให้อยู่ในรูปของกระแสไฟฟ้า ซึ่งเป็นที่ นิยมในธุรกิจ DSL ซึ่ง DSL คือการส่งข้อมูลในรูปแบบของ Voice และ Data สู่โมเด็มในบ้านเรา ความเร็วของ DSLขึ้นอยู่กับความห่าง ระหว่างบ้านเรากับตู้ชุมสาย  Brand width คือ ปริมาณข้อมูลที่สามารถจะรับส่งได้ใน 1 วินาที วัดได้ด้วยหน่วย BPS (บิตต่อวินาที)  Broadband เปรียบเสมือนกับถนนที่ใหญ่ที่รถสามารถวิ่งได้หลายคัน โดย ถนน คือ Broadband และ รถ คือ ข้อมูล  Narrowband คือ อินเตอร์เน็ตความเร็วต่า สาหรับปัจจุบันความเร็วที่ต่ากว่า 1 Mbps ถือว่าเป็นความเร็วที่ต่า  Last Mile การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตระหว่าง ISP กับ Home User ซึ่ง Last Mile ได้ถูกนามาใช้วัดความเจริญของโครงสร้างพื้นาาน IT ของ ประเทศ เช่น เกาหลี Last Mile อยู่ที่ 90 Mbps ของ Home user 2. สื่อไร้สาย  การส่งข้อมูลผ่านทางอากาศ เช่น เครือข่ายเซลลูล่า เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ในการส่งสัญญาณก็จะมี Base station คอยดูแลข้อมูลในพื้นที่ ใดพื้นที่หนึ่งโดยเฉพาะมี 2 ประเภท คือ 1.คลื่นความถี่ที่ต้องใช้ใบอนุญาตในการประกอบการ เช่น 3G 4G WIMAX โดย WIMAX ใช้คลื่น ความถี่คล้ายกับเซลลูล่า 2. ไม่มีใบอนุญาต เช่น บลูทูธ ไวไฟ อินฟราเรด  Coaxial Cable เป็นที่นิยมมากในอเมริกา เป็นสัญญาณ Internet ที่มาพร้อมกับสัญญาณ Cable TV โดยบริษัทที่ให้บริการ Cable TV เป็น ISP เป็นผู้ส่งสัญญาณ เมื่อสัญญาณดังกล่าวถูกส่งมาที่บ้านผู้ใช้ก็จะต้องผ่าน Modem เพื่อแยกสัญญาณ โดยต่อสายหนึ่งจาก Modem เข้า คอมพิวเตอร์ และอีกสายหนึ่งต่อเข้า Box ทีวี ข้อดีคือ มีความเร็วในการดาวน์โหลดสูง แต่มีความเร็วในการอัพโหลดต่า ส่วนข้อเสียคือ ต้อง แชร์ความเร็วกับผู้อื่นที่ใช้สัญญาณร่วมกัน ดังนั้นหากใช้งานในช่วงที่มีคนใช้งานเยอะความเร็วก็จะลดลง
  • 3. 3  Fiber Optic Cable ข้อมูลจะถูกแปลงเป็นแสง จึงทาให้มีความเร็วสูงหลายร้อย Gbps ให้ Bandwidth สูงมาก แต่มีราคาแพง ข้อดีคือ มี คุณภาพสูง ทนทานต่อสภาพแวดล้อม และสัญญาณรบกวนอื่นๆ ในประเทศไทยอาจจะมีใช้ในหมู่บ้านใหม่ๆ ที่ใช้เทคโนโลยี Hi-End แต่ใช้ อย่างแพร่หลายในเกาหลีใต้ Wireless Transmission แบ่งเป็น 1. Microwave หรือ คลื่นวิทยุ มีวิธีการส่งสัญญาณหลักๆ อยู่ 2 วิธี คือ ส่งสัญญาณผ่านทางดาวเทียม หรือแบบ point to point  การส่งสัญญาณผ่านทางดาวเทียมถูกใช้มากในชนบท การส่งสัญญาณ Internet เป็นดาวเทียมประเภท Geo ซึ่งมีความสูงอยู่ที่ 22,300 ไมล์ ดาวเทียมชนิดนี้จะไม่มีการหมุนรอบโลก แต่จะอยู่นิ่งๆกับที่ ซึ่งแตกต่างกับดาวเทียมแบบ Meo กับ Leo จะเป็นดาวเทียมที่หมุนตามโลก เพราะอยู่ในวงโคจร โดย Meo จะถูกใช้กับสัญญาณ GPS เช่น ในผลิตภัณฑ์ของ GARMIN เป็นต้น  การส่งสัญญาณแบบ point to point จะเป็นการส่งสัญญาณระหว่างเครื่องส่งสัญญาณที่อยู่บนตึกสูง 2. Cellular Network เป็นการเชื่อมต่อ Internet ผ่านทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ โดยจะแบ่งแต่ละพื้นที่ออกเป็น Cell ซึ่งในแต่ละ Cell จะมีเสาสัญญาณ โทรศัพท์ทาหน้าที่เป็นตัวส่งสัญญาณให้กับผู้ใช้ที่อยู่ใน Cell นั้นๆ ซึ่งกระบวนการการเคลื่อนที่จาก Cell หนึ่งไปยังอีก Cell หนึ่งจะถูกเรียกว่า Hand off 3. Wi-Fi ย่อมาจาก Wireless Fidelity ซึ่งเป็นที่นิยมใช้มากที่สุดในปัจจุบัน มี 4 มาตราาน ชื่อที่เป็น Code name ของ Wi-Fi คือ 802.11 ถูกตั้งขึ้นโดย สถาบัน IEEE ซึ่งเป็นสถาบันที่ควบคุมดูแลเกี่ยวกับมาตราานด้านวิศวกรรมไฟฟ้า โครงสร้างของ Wi-Fi มีอุปกรณ์สาคัญคือ Router เพื่อเชื่อมต่อกับ Internet และ Access point หรือ จุดกระจายสัญญาณ ซึ่งอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต้องมีอุปกรณ์ Wireless Nic เพื่อใช้ในการเชื่อมต่อ และต้องมีมาตราาน เดียวกับ Access point จึงจะสามารถใช้งานได้ มาตรฐานของ Wi-Fi มี 4 อย่างดังนี้ 1. 802.11a มีคลื่นความถี่อยู่ที่ 5GHz และมีความเร็วอยู่ที่ 54 Mbps 2. 802.11b ซึ่งเกิดขึ้นพร้อมๆ กับแบบ a แต่ไม่สามารถใช้งานร่วมกันได้เนื่องจากมีคลื่นความถี่ที่แตกต่างกัน โดยมีคลื่นความถี่อยู่ที่ 2.4 GHz และมี ความเร็วอยู่ที่ 11 Mbps ถึงแม้b จะมีความเร็วที่ต่ากว่า แต่ก็ถูกใช้มากกว่า เนื่องมาจากการครอบคลุมพื้นที่การให้บริการได้กว้างไกลกว่า 3. 802.11g ถูกพัฒนามาจากรุ่น b ซึ่งสามารถใช้งานร่วมกับ b ได้โดยมีคลื่นความถี่อยู่ที่ 2.4 GHz และมีความเร็วอยู่ที่ 54 Mbps 4. 802.11n เพิ่งถูกเปิดตัวในปี 2011 ที่ผ่านมา สามารถใช้งานร่วมกับทั้ง a, b และ g ได้ โดยมี 2 คลื่นความถี่คือ 2.4 GHz และ 5GHz และมีความเร็ว สูงสุดอยู่ที่ 600 Mbps แต่ถึงแม้จะมีความเร็วสูงมาก แต่ปัจจัยสาคัญที่จะทาให้ผู้ใช้ได้เข้าถึงความเร็วนั้น คือความเร็วที่ Router สามารถรองรับได้ ส่วน ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งอินเตอร์เน็ตแบบมีสายก็เสียค่าใช้จ่ายมากกว่าแบบไร้สาย เพราะต้องเสียค่าอุปกรณ์มากกว่า เช่น การเดินสาย ค่าบารุงรักษา เป็น ต้น และยังปลอดภัยกว่าแบบไร้สายที่ถูกดักจับข้อมูลได้ง่าย และยังสามารถควบคุมความเร็วได้ดีกว่าอีกด้วย
  • 4. 4 Navigation Device คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการนาส่งข้อมูลในระบบเครือข่าย 1. Network Navigation Device  Hub เดิมเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในระบบPeer to Peer ใช้ในการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ต่างๆในระบบเครือข่ายเข้าด้วยกัน แต่ปัจจุบันไม่นิยมใช้ เพราะ Hub จะรับส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งแล้วส่งให้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง  Switch and bridges เป็นอุปกรณ์แบบเดียวกับ Hub ที่พัฒนาขึ้นเพื่อใช้บริหารคอมพิวเตอร์ภายในระบบเครือข่ายเดียวกัน ดีกว่า Hub เพราะ มันรู้ว่าเมื่อรับข้อมูลมาแล้วจะต้องส่งข้อมูลนี้ที่เครื่องไหน โดยจะไม่ส่งไปให้ทุกเครื่องเหมือน Hub 2. Connecting Network คือ เมื่อใดก็ตามที่มีการเชื่อมต่อเครือข่ายหนึ่งกับอีกเครือข่ายหนึ่งเข้าด้วยกันต้องใช้Routerเป็นตัวเชื่อมต่อ 3. Network Adapters คือ เครื่องมือสาหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย อาจเป็นการ์ด Wireless หรือสายต่างๆ แต่เป็นองค์ประกอบสาคัญที่ต้องมี ปัจจุบันนิยมใช้NICs (Network interface cards) ในการรับส่งข้อมูลในระบบเครือข่าย ระบบเครือข่าย แบ่งได้เป็น 4 ประเภทหลักๆ ตามขนาดของเครือข่าย 1. LANs (Local area network) เป็นระบบขนาดเล็กที่ใช้อยู่ในแค่ชั้นหนึ่งชั้นหรือตึกหนึ่งตึก แบ่งเป็น 1.1 Ethernetเป็นมาตราานหลักที่ใช้ในปัจจุบัน โดยมีความเร็วสูงสุดอยู่ที่ 10 Gbps
  • 5. 5 1.2 Wireless LAN (Wi-Fi) 2. MANs (Metropolitan area network) เป็นระบบเครือข่ายที่ครอบคลุมในระดับเมือง หมายถึง Wi-Fi ที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกันในระดับเมือง อย่างเช่น TRUE Wi-Fi จะเป็น MANs หรืออาจจะเป็นอีกเทคโนโลยีหนึ่ง เช่น WiMax ซึ่งมีรัศมีครอบคลุม 1 เสา/50 กิโลเมตร แต่ WiMax เหมาะกับการใช้งาน อยู่กับที่ หากมีการเคลื่อนไหวความเร็วจะตกลงเหมือนกับWi-Fi คือ น่าจะมาแทนที่ DSL เพราะครอบคลุมพื้นที่กว้างเหมาะกับชนบทที่ต้องมีต้นทุน ในการติดตั้งและเดินสายสูง 3. WANs (Wide area network) เป็นระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ที่ครอบคลุมภูมิภาค, ประเทศ หรือระหว่างประเทศ มักใช้เชื่อมโยงผ่านดาวเทียมหรือ ทางสายเคเบิลใต้ทะเล ส่วนใหญ่ใช้เชื่อมต่อระหว่างองค์กรขนาดใหญ่หรือระหว่าง ISP
  • 6. 6 4. PANs (Personal, Private area network) คือ ระบบเครือข่ายที่เล็กที่สุด ครอบคลุมระยะเพียง 3-4 เมตรเท่านั้น เช่น Bluetooth, Barcode, Infrared, RFID แต่ที่นิยมใช้คือ Bluetooth และ RFID RFID (Radio frequency identification) เป็นเทคโนโลยีที่ใช้แทน Barcode มีข้อดีคือ เครื่องอ่านกับTagไม่จาเป็นต้องอยู่ในระนาบเดียวกันก็สามารถอ่านข้อมูลได้ และยังสามารถ อ่าน Tag หลายๆ Tag พร้อมกันได้โดย RFID แบ่งเป็น  Active เก็บข้อมูลได้มากกว่า, มีระยะอ่านข้อมูลในระยะไกลกว่าอาจมีระยะถึง 100 เมตร ตัวอย่างเช่น บัตร Easy pass  Passiveมีราคาถูกกว่า ที่ WalMart ใช้มีราคาเพียง 7-8 cent แต่ก็มีระยะอ่านสั้นและไม่มีแบตเตอรี่ในตัว ตัวอย่างการใช้RFID ใน WalMart ทาให้ลดปัญหาเรื่องการเข้าคิวเพื่อรอชาระเงิน ซึ่งทาให้เกิดการรอคอย และแน่นอนว่าหากทาสาเร็จ อาชีพแคชเชียร์จะต้องตกงาน RFID ยังสามารถใช้กับโทรศัพท์มือถือ เช่น TRUE TouchSIM หรือการใช้บริหารคลังสินค้าคงคลังในตอนนี้ยังใช้กับ Tag ของ Pallet หรือ กล่อง แต่หากราคาของ RFID มีราคาถูกลงก็อาจขยับการใช้งานลงไปในระดับ item
  • 7. 7 อินเตอร์เน็ต (Internet) เป็นระบบ WANs ที่ใช้มาตราาน TCP/IP ประวัติของ Internet เริ่มจากโครงการกระทรวงกลาโหมสหรัาที่วิตกเรื่องสงครามนิวเคลียร์ เพราะหากศูนย์ข้อมูลโดนโจมตี ข้อมูลก็อาจเสียหายได้ จึงต้องพยายามสร้างระบบเชื่อมโยงข้อมูลกัน วิวัฒนาการของ Internet 1. ช่วงนวัตกรรม ปี 1964-1974 เกิดระบบเครือข่ายขึ้น แต่ยังทาอยู่คนละมาตราานกัน 2. ช่วงสถาบัน ปี 1975-1995 เริ่มมีการใช้มาตราาน TCP/IP 3. ช่วงพาณิชย์ปี 1995-ปัจจุบัน คือ ช่วงนี้เริ่มตั้งแต่มีการใช้ภาษา HTML โดยอินเตอร์เน็ตเป็นพื้นาานหลักในการทาธุรกิจ องค์ประกอบหลักของอินเตอร์เน็ต Circuit switching เป็นระบบที่ใช้ในโทรศัพท์บ้าน โดยมีรูปแบบคือ เมื่อมีการติดต่อสื่อสารขึ้นในช่องทางนั้น การสื่อสารอื่นๆ ก็จะไม่สามารถใช้งานได้จนกว่าคู่สายนั้นจะหยุดการใช้งาน ระบบนี้จึงใช้กับโทรศัพท์บ้านเป็นหลัก ซึ่งตรงนี้ทาให้มีการการันตีว่า ถ้ามี การใช้งานเกิดขึ้น คนอื่นๆจะไม่สามารถเข้ามาใช้งานได้นั่นคือจไม่ถูกรบกวนจากผู้อื่น องค์ประกอบหลักและเทคโนโลยีที่ใช้เป็นพื้นฐานของอินเตอร์เน็ต 1. Packet Switching Network 2. TCP/IP 3. Client Server
  • 8. 8 1. Packet Switching Network ข้อมูลจะถูกแปลงออกมาเป็น Digital หลังจากนั้นจะถูกแปลงออกมาเป็น Packet ในแต่ละ Packet จะถูกส่งไปยัง เส้นทางต่างๆ ที่แตกต่างกันหรือเหมือนกันก็ได้ และถูกรวมเป็นข้อมูลส่วนเดียวที่ปลายทาง ขนาดของ Packet ขึ้นอยู่กับ ประเภทของเครือข่าย เช่น ใน LAN ขนาดของ Packet อยู่ที่ 1024 Bits สมมติว่าเรามีข้อมูลอยู่ประมาณ 3000 Bits ข้อมูลนั้นก็ จะถูกแปลงออกมาเป็น 3 Packet เนื่องจากในแต่ละ packetมีข้อมูลได้ประมาณ 1000bitsและถูกส่งไปคนละเส้นทางในแต่ละ Packet มันจะเหมือนกับซองจดหมาย จะมีตัวเนื้อหา ที่อยู่ของผู้ส่ง และที่อยู่ของผู้รับ ในเครือข่ายจะมี router ทาหน้าที่เหมือน บุรุษไปรษณีย์คอยทาหน้าที่นาส่งแต่ละ Packet เมื่อไปถึงปลายทางก็จะถูก check ว่ามาถึงครบถ้วนหรือไม่ จากนั้นก็เข้ามา รวมกันเป็นข้อมูลส่วนเดียวดังเดิม Packet-Switching Network ข้อดีของ Packet Switching Network คือ ในแต่ละ communication line สามารถนาส่ง Packet ร่วมกัน สามารถ แชร์เส้นทางร่วมกันได้ซึ่งแตกต่างจาก Circuit Switching Network ซึ่งถ้าเรากาลังใช้ทางเส้นนั้นอยู่ คนอื่นจะไม่สามารถใช้ทาง เส้นนั้นได้เลย จะใช้ได้ก็ต่อเมื่อข้อมูลที่อยู่ใน line ไปถึงจุดหมายแล้ว ซึ่งการรับส่งข้อมูลทุกอย่างในระบบ Internet ไม่ว่าจะเป็น รูปภาพ วีดีโอ ข้อความ เพลง e-mail จะต้องตั้งอยู่ใน รูปแบบ Packet Switching Network
  • 9. 9 2. TCP/IP คือ เครื่องมือที่ใช้ในการแบ่งข้อมูลออกมาเป็น IP Packet หลังจากนั้นนาส่งแต่ละ Packet จากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ ส่งข้อมูลไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ที่รับข้อมูล หน้าที่ของ TCP (Transitions control protocol) คือ เป็นมาตราานในการใช้แบ่งข้อมูลออกมาเป็น Packet และทา หน้าที่คอย check ว่าแต่ละ Packet ที่มีการนาส่งมาถึงปลายทางครบหรือไม่ หน้าที่ของ IP (Internet Protocol) คือ ทาหน้าที่ในการนาส่ง Packet จากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ส่งข้อมูลไปยังเครื่อง คอมพิวเตอร์ที่หมาย รูป TCP/IP TCP/IPเป็นการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์บนเครือข่าย internet มี 4 layers ดังนี้  Application Layer เช่น การใช้ Web browser, E-mail, Games Online Application และส่งข้อมูลไปยังชั้น Transport  Transport Layer หน้าที่หลัก คือ เป็น TCP ทาหน้าที่ในการแบ่งข้อมูลออกมาเป็น Packet และให้ number ของ Packet จากนั้นก็ส่ง Packet ไปที่ชั้น internet  Internet Layer หน้าที่หลัก คือ เป็น IP ทาหน้าที่ในการนาส่ง Packet จากเครื่อง A ไปยังเครื่อง B  Network Interface Layer เป็นชั้นที่ Packet ถูกแปลงออกมาให้อยู่ในรูปสื่อใดสื่อหนึ่ง ถ้าเป็น twisted pair cable ก็อยู่ในรูปกระแสไฟฟ้า ถ้าเป็น Fiber-Optic cable ก็เป็นแสง ถ้าเป็นรูปแบบของสัญญาณเครือข่ายไร้ สายก็เป็นสัญญาณวิทยุ และเมื่อไปถึงปลายทางจากรูปแบบกระแสไฟฟ้าหรือรูปแบบอื่นๆ ก็ถูกแปลงออกมา เป็น IP Packet ซึ่งในแต่ละ IP Packet ก็จะถูก check ที่ชั้น transport ว่าข้อมูลมาครบถ้วนหรือไม่ รูป การแบ่งชั้นของTCP/IP
  • 10. 10 Path or Subdirectory IP Address IP Address (Internet Protocol Address) คือ หมายเลขประจาเครื่องคอมพิวเตอร์หรือตัวเลขที่ใช้แทนที่อยู่ของเครื่องคอมพิวเตอร์ (รวมถึง iPhone, iPad, tablet etc.)บนระบบเครือข่าย IP Address จะไม่ซ้ากันในทุกๆอุปกรณ์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด มีเครื่องหมายจุดขั้นระหว่างชุดเช่น 192.168.1.1 โดยเวอร์ชั่น IP Address ในปัจจุบันคือ version 4 หรือ IPv4 ซึ่งมีทั้งหมด 32 bit หรือ 4 byte ซึ่งแต่ละชุดมีตัวเลขเริ่มตั้งแต่ 0-255 โดย IPv4 สามารถมีเลข IP Address ได้ประมาณ 4 พันล้าน IP Address ซึ่งในปัจจุบันเริ่มไม่เพียงพอต่อการใช้งานเนื่องจากประชากรบนโลกมีประมาณ 7 พันล้านคนและแต่ละคนยังมีอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตมากกว่า 1 เครื่อง จึงได้เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงจาก IPv4 ไปเป็น IPv6 ซึ่งมี 128 bit และมี การคาดการณ์ว่า IPv6 นี้สามารถรองรับการใช้งานได้อย่างเพียงพอไปอีกเป็น 100 ปี IP Address มี 2 ประเภท  Static address คือ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง IP addressส่วนใหญ่ใช้กับเครื่อง Server  Dynamic address คือ IP Address จะมีการเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละครั้งเมื่อมีการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย เมื่อเราเชื่อมต่อเข้ากับระบบเครือข่าย ISP (Internet Service Providers) จะทาการสุ่มหมายเลข IP Address ให้เรา DomainNames Domain Names คือ ชื่อของเว็บไซท์ที่ใช้แทน IP Address เนื่องจาก IP Address จะเป็นชุดของตัวเลข ทาให้จดจาได้ยาก จึงมีการใช้ Domain Name แทนการใช้IP Address DomainNames System (DNS) Domain Names System คือ ระบบที่จับคู่ IP Address กับ Domain Name นั่นคือเมื่อเราพิมพ์ชื่อเว็บไซท์ที่เป็นภาษาอังกฤษ DNS จะทาการ จับคู่หรือค้นหาชื่อเว็บไซท์นั่นว่ามีการใช้เลข IP Address อะไร เพื่อระบุ Address ของเครื่องคอมพิวเตอร์บนระบบเครือข่าย UniformResource Locators (URL) URL เป็นเสมือนที่อยู่ของเอกสารบนเว็บไซท์ โดยเอกสารจะต้องมี URL เป็นของตัวเอง URL เป็นสิ่งที่ใช้ในการระบุที่อยู่ของเอกสารนั้น แต่ละ URL ประกอบไปด้วยส่วนพื้นาาน 3 ส่วน คือ Protocol, Domain name, Subdirectory เช่น Domain Names มีด้วยกันหลาย Levelดังตัวอย่าง Top Level DomainName คือ คาที่อยู่หลัง (.) เช่น .com, .th, .org และอื่นๆ ซึ่งมีอยู่ 3 ประเภทหลักๆ คือ  Unsponsored Top Level DomainName คือ Top level Domain Name ที่ใครๆ ก็สามารถนาไปใช้ได้อย่างเช่น .com ที่มาคือ commercial จะเน้นไปในทางการค้า แต่ปัจจุบันแม้ไม่ได้ทาการค้าก็สามารถใช้ได้ http://translate.google.com Sub Domain Name Second LevelDomain Name Top LevelDomain Name http://www.nytimes.com/pages/cartoons Protocol Domain Name
  • 11. 11  Sponsored Top Level Domain Name คือ จะต้องเป็นสมาชิกขององค์กรถึงสามารถนาไปใช้ได้ อย่างเช่น .asia จะต้องเป็นสามารถชิกที่ อยู่ในทวีปเอเชียถึงจะสามารถนาไปใช้ได้หรือ .museum ก็จะต้องเป็นพิพิธภัณฑ์เป็นต้น  Country Top Level DomainName คือ ในแต่ละประเทศจะมีการระบุ Top Level Domain Name อย่างประเทศไทยก็คือ .th, ประเทศ อังกฤษ .uk, ประเทศมาเลเซีย .my เป็นต้น ICANN (Internet Corporation for Assign Names and Numbers) เป็นองค์กรที่ระบุและจัดการDomain Name Creatinga good domainname โดยมีเว็บไซท์ที่ช่วยในการตั้งชื่อ Domain name คือhttp://www.wordoid.com โดยจะนาชื่อต่างๆ ที่เราสนใจมาผสม กันให้เป็นชื่อที่น่าสนใจได้ ISP (Internet Service Providers) คือ ผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต ส่วนใหญ่มักมาจากบริษัทโทรศัพท์หรือบริษัทเคเบิ้ลทีวี เนื่องจากมีโครงสร้างพื้นาานอยู่แล้ว ซึ่งจะมี Narrowband กับ Broadband Internet, Intranets และ Extranets Internet, Intranetsและ Extranetsเหมือนกันที่เครือข่ายใช้มาตราานเดียวกันคือ TCP/IP และแตกต่างกันที่การเข้าถึงข้อมูล ดังนี้  Internet : เป็นระบบสาธารณะ สามารถเข้าถึงได้ทุกคน  Intranets : เป็นระบบเครือข่ายภานในองค์กร สามารถเข้าถึงได้เฉพาะคนในองค์กร เช่น ระบบอีเมล์ของนิด้า  Extranets : เป็นระบบเครือข่ายระหว่างองค์กร สามารถเข้าถึงได้ระหว่างองค์กร หรือองค์กรกับลูกค้า
  • 12. 12 Business Internet Connectivity ธุรกิจที่ต้องการความปลอดภัยจะใช้สายเช่า เช่น T1 Lines 1.544 Mbps และ T3 Lines 45 Mbps ที่มีราคาที่สูง หรือระบบโครงข่ายที่ เรียกว่า Asynchronous transfer mode (ATM) เหล่านี้เป็นระบบเครือข่ายที่ให้บริการเข้าถึงอินเตอร์เน็ตความเร็วที่สูงและความปลอดภัยก็สูง เช่นเดียวกัน จึงมีราคาที่สูงมากในการใช้ ในด้านของการเชื่อมต่อ แนวโน้มในอนาคตที่มีการพูดถึง เช่น การใช้กระแสไฟฟ้ าหรือการเสียบปลั๊กไฟ ที่ทาให้สามารถเชื่อมต่อ อินเตอร์เน็ตได้มีการทดลองอยู่ที่ 1-3 เมกะบิต ต่อวินาที ข้อดี คือ สามารถใช้โครงสร้างที่มีอยู่ปัจจุบันได้เลย WiMax เป็นอีกอันที่ เป็นแนวโน้มในการเข้าถึงอินเตอร์เน็ต อินเตอร์เน็ตนั้นไม่มีใครเป็นเจ้าของ แต่มีหน่วยงานที่มีการกากับมาตราานต่างๆ การกาหนดมาตราานของเทคโนโลยีบนอินเตอร์เน็ต เช่น XML ซึ่งมาจาก World Wide Web Consortium Web กับ อินเตอร์เน็ต มีความแตกต่างกัน คือ Web เป็น Application ที่ใช้บน อินเตอร์เน็ต เริ่มต้นมาจาก Tim Berners Lee สร้างภาษา html ขึ้นและ Marc Andreessen ได้สร้างเว็บบราวเซอร์แรกของโลกขึ้นชื่อ MOSAIC แต่ไม่ถูกนามาใช้ในเชิงพาณิชย์ ต่อมาถูกนามาใช้ในเชิงพาณิชย์ครั้ง แรกในปี 1994 นั่นคือ Netscape ตั้งแต่ออก Windows 95 พร้อมกับ IE (Internet Explorer) เลยทาให้IE ได้ส่วนแบ่งการตลาดมากที่สุด Web clientก็คือ Web browserที่เราใช้กันอยู่ ทาหน้าที่ในการร้องขอข้อมูลไปยัง Web server ประโยชน์ของ Web ปัจจุบันมากจากการที่เอกสารต่างๆ มันสามารถเชื่อมต่อกันได้ผ่านทาง Hypertext Web browsers ต่างๆ ในปัจจุบัน Internet Explorer มีส่วนแบ่งการตลาดสูงที่สุด ถึง 73% รองลงมาคือ Firefox 19% ที่เหลือเป็นของ Opera Safari (for Apple) และ Google chrome Trends Trends ของอินเตอร์เน็ตปัจจุบัน Trends อันแรกที่ร้อนแรงที่สุดในปัจจุบัน คือ Cloud Computing เป็นการให้บริการข้อมูลต่างๆ จากเดิมที่การให้บริการอยู่ในองค์กรใด องค์กรหนึ่ง ได้ถูกย้ายไปอยู่บน Cloud ซึ่ง Cloud ก็คือ อินเตอร์เน็ต โดยบทบาทของ Cloud ก็คือ จะเปลี่ยนรูปแบบการใช้ทรัพยากร ต่างๆ เช่น Software จากเดิมที่องค์กรจะต้องมีการลงทุนในเรื่องของ Software และ Hardware โดยเปลี่ยนรูปแบบจากการซื้อมาเป็นการเช่าแทน ซึ่งทาให้องค์กร สามารถที่จะจับคู่ด้าน Demand และ Capacity ที่ต้องใช้ภายในองค์กรได้
  • 13. 13 รูปแบบการให้บริการ Cloud service แบ่งเป็น3 ประเภทหลัก ได้แก่ 1. Software as a service ให้บริการในด้านของ Application software เช่น Google Soho 2. Platform as a service ผู้ให้บริการจะสร้าง platform ก็คือระบบปฏิบัติการ เพื่อให้องค์กรหรือผู้พัฒนา สร้าง Application บน Platform นั้น เช่น Microsoft assurance 3. Infrastructure as a service ให้บริการในเรื่องของ Infrastructure เช่น ในเรื่องของการเก็บข้อมูลในการประมวลผลต่างๆ เช่น Amazon Cloud ตัวของ Cloud ยังมีทั้ง Public Cloud และ Private Cloud โดย Public Cloud ให้บริการโดย Provider ส่วน Private Cloud ก็เป็น Cloud ที่ใช้ภายในองค์กร เช่น Chevron Cloud Computing เหมาะกับองค์กรที่มีสาขาแยกกันอยู่ในที่ต่างๆ ซึ่งแต่ละสาขามีความต้องการในการเข้าถึงข้อมูลเหมือนๆกัน ตัวของ Cloud ยังมีทั้งใน รูปแบบของ Hybrid Cloud ข้อมูลบางส่วนจะถูกเก็บไว้ในองค์กร และบางส่วนก็เก็บไว้บน Cloud Cloud computing เข้ามามีบทบาทเนื่องจากว่า เป็นการช่วยลดต้นทุนและค่าใช้จ่ายในการลงทุน ขององค์กร เนื่องจากองค์กรไม่จาเป็นต้อง ลงทุนใน Software และ Hardware เอง รวมไปถึงเรื่องของการบารุงรักษา เพราะมีการเปลี่ยนโมเดลจากการซื้อมาเป็นการเช่า แต่ปัจจุบันก็ยังมีข้อโต้ถี ยงในเรื่องความปลอดภัย และประเด็นของการเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตตลอดเวลาเพราะประเทศไทยยังมีปัญหาในเรื่องของความเร็วและความเสถียร ของอินเตอร์เน็ต GridComputing ในไทยยังไม่มีการนามาใช้ส่วนในต่างประเทศ เป็นการสร้างการประมวลผลระดับสูง โดยนาเอาการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ จานวนมากมาช่วยในการประมวลผลแทน Super Computer ตัวอย่างจาก setI@home เป็น Project ของมหาวิทยาลัย ใน แคลลิฟฟอร์เนีย IP Convergence เป็นอีกแนวโน้มหนึ่ง โดยอุปกรณ์ต่างๆ อย่าง สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต ก็สามารถเชื่อต่ออินเตอร์เน็ตได้ และทางานร่วมกันได้โดยจะมี IP Address เป็นที่อยู่ในการรับส่งข้อมูล VoIP Technology แนวโน้มในเรื่องของเสียงอาจจะมีการให้บริการฟรี เพราะมันจะรวมกับโครงสร้างพื้นาานของอินเตอร์เน็ต เช่น Face time, Skype, Line, VDO conference Green Computing เป็นอีกแนวโน้มหนึ่งในการใช้ IT มีการทา Virtual machine ใส่ระบบปฏิบัติการได้หลายระบบ ในเครื่องHardware เครื่องใดเครื่องหนึ่ง โดยเฉพาะ ช่วยให้องค์กรประหยัดต้นทุน
  • 14. 14 ประเด็นต่างๆในปัจจุบัน  มีคาถามที่ว่าเราจะอนุญาตให้พนักงานใช้อินเตอร์เน็ตเวลาทางานหรือไม่? มี 2 ความเห็น คือ ควร เพราะพนักงานงานสามารถใช้เป็น ประโยชน์กับการทางานได้ ในส่วนของ ไม่ควร คือ เกรงว่าพนักงาน จะใช้อินเตอร์เน็ต ในทางส่วนตัว  Internet addiction ขาดอินเตอร์เน็ตไม่ได้จึงกลายเป็นโรคทางจิตวิทยา  Network Neutrality การคิดราคาการให้บริการอินเตอร์เน็ต มี 2 แบบ ควรคิดตามการใช้งานจริง หรือ คิดราคาเดียวกันหมด ไม่ว่าจะใช้งาน อย่างไร เป็นประเด็นในด้านของการตั้งราคาค่าบริการ  Laws and Regulations เรื่องของกฎหมาย เพราะ อินเตอร์เน็ตเป็น Global system เพราะบางอย่างในบางประเทศเป็นสิ่งที่ผิด แต่บาง ประเทศกลับเป็นสิ่งที่ถูก  Digital Divide ความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงเข้าถึงดิจิตอล มีการแบ่งคนออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ๐ คนที่มีโอกาสเข้าถึง ๐ คนที่ไม่สามารถเข้าถึง ความแตกต่างกันนี้นาไปสู่ความแตกต่างกันในด้านอื่นๆ เช่น ในเรื่องของการศึกษา ความแตกต่างในด้านการหางาน สถานภาพทาง เศรษากิจ Digital Divide ในไทยค่อนข้างสูง มีหลายมิติ เช่น ในเขตเมืองสามารถเข้าถึงได้ง่ายกว่ารวมไปถึงด้านอายุ คนที่อายุเยอะจะกลัวในการใช้ เทคโนโลยี