SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 6
                                       สรุ ป และข้ อเสนอแนะ

       การฝึ กประสบการณ์วชาชีพที่ทางสาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ได้
                          ิ
กาหนดให้นกศึกษาต้องผ่านการฝึ กประสบการณ์วชาชีพก่อนสาเร็ จการศึกษาครั้งนี้ ผูรายงานได้
            ั                              ิ                                ้
ดาเนินการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพครบตามกาหนดและได้รวบรวมข้อมูล ตามรายละเอียด ดังนี้
       1. สรุ ป
       2. สรุ ปปัญหาและอุปสรรคจากการฝึ กประสบการณ์วชาชีพ
                                                    ิ
       3. ข้อเสนอแนะต่อโปรแกรมวิชาและต่อสถาบัน

6.1 สรุ ป
          จากการฝึ กประสบการณ์ วิชาชี พ ที่ทางสาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครสวรรค์
ได้กาหนดให้นกศึกษาต้องผ่านการฝึ กประสบการณ์วิชาชี พก่อนจะจบการศึกษาจากสถาบันไป ซึ่ ง
                    ั
การฝึ กประสบการณ์ในครั้งนี้ ได้ทาการฝึ กประสบการณ์วิชาชี พที่หน่วยงานราชการ คือ สานักงาน
อุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์ ตั้งอยู่ที่ ถนนสวรรค์วิถี ตาบลนครสวรรค์ตก อาเภอเมือง จังหวัด
นครสวรรค์ 60000 โดยมีระยะเวลาในการฝึ กประสบการณ์วิชาชี พ ตั้งแต่วนที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ.
                                                                              ั
2555-28 กุ ม ภาพันธ์ พ.ศ. 2556 และได้ส าเร็ จลุ ล่ วงไปได้ด้วยดี โดยได้ท าการฝึ กประสบการณ์
วิชาชีพที่ฝ่ายส่ งเสริ มอุตสาหกรรมของสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์ โดยมีเจ้าหน้าที่ผู้
คอยให้คาแนะนาคือ นางสาวนภาพร อรุ ณเจริ ญยิ่ง ตาแหน่ ง หัวหน้าฝ่ ายส่ งเสริ มอุ ตสาหกรรม
และเจ้า พนั ก งานวิ เ คราะห์ น โยบายและแผนด้ ว ย ที่ ค อยฝึ กหั ด งานให้ ต ลอดระยะการฝึ ก
ประสบการณ์วชาชีพ  ิ
          การฝึ กประสบการณ์ วิช าชี พ ครั้ งนี้ ท าให้ ไ ด้นาความรู ้ ค วามสามารถที่ ไ ด้ศึ ก ษามาตาม
หลักสู ตรไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ได้จริ งในชี วิตประจาวัน ซึ่ งจากการฝึ กประสบการณ์วิชาชี พใน
ฝ่ ายส่ งเสริ มอุ ตสาหกรรมของ สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์ นั้นก็มีท้ งปั ญหาและ    ั
อุปสรรคบ้างในบางครั้งทั้งที่เกิดจากตัวของผูที่ฝึกประสบการณ์ วิชาชี พเองและจากหน่วยงานของ
                                                ้
สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์บางในบางครั้ง เช่น การประสานงานที่สื่อสารกันแต่ไม่
                                             ้
เข้า ใจระหว่า งผูฝึ กประสบการณ์ วิ ช าชี พ เองกับ เจ้า หน้า ที่ ข องส านัก งานอุ ต สาหกรรมจัง หวัด
                      ้
นครสวรรค์ จนงานผิ พ ลาดไปบ้า งแต่ ก็ ส ามารถแก้ ปั ญ หาไปได้ และกรณี ที่ ท างส านัก งาน
อุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์ มีการผิดพลาดมาก่อนแล้วจึงทาให้งานล่าช้าไปบ้าง ซึ่ งก็ทาให้ผฝึก          ู้
ประสบการณ์ วิชาชี พได้ฝึกการสื่ อสารหรื อการประสานงานในหน่ วยงานที่ จะต้องมี ความเข้าใจ
109



รอบคอบและแม่นยา มีความอดทน ความรับผิดชอบต่อตัวเองต่อหน้าที่ และต่อสังคม จึงจะทาให้
งานที่รับผิดชอบอยู่เกิดความผิดพลาดน้อยที่สุด ซึ่ งการฝึ กประสบการณ์ วิชาชี พทาให้ได้สัมผัสกับ
การท างานจริ งๆ การใช้อุป กรณ์ สานักงานจริ งๆในการทางานที่ ส านัก งานอุตสาหกรรมจังหวัด
นครสวรรค์ ซึ่ งเป็ นการทดสอบความรู้ ความสามารถของเราที่ ได้ศึกษามานาไปใช้งานได้จริ งๆ
ตามที่ศึกษามา และได้เรี ยนรู ้การทางานภายในของหน่วยงานราชการที่บุคคลภายนอกไม่สามารถ
สัมผัสได้ง่ายๆ โดยงานที่ได้รับมอบหมายให้ทาเป็ นประจาในฝ่ ายส่ งเสริ มอุตสาหกรรมจะเน้นไปที่
งานธุรการ ในการฝึ กประสบการณ์วชาชีพครั้งนี้ ก็เช่น งานออกเลขหนังสื อราชการ งานลงทะเบียน
                                       ิ
รับหนังสื อราชการ งานลงรับหนังสื อราชการ งานรับคาร้อ งทัวไป งานเช็คสิ นค้า งานที่เกี่ ยวกับ
                                                                   ่
หนัง สื อ ราชการที่ ต้อ งแก้ไ ข หรื อ ตรวจเช็ ค เป็ นต้น โดยงานเหล่ า นี้ จะท าในระบบโปรแกรม
สาเร็ จรู ปของสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเอง และมีงานที่ตองใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ บาง เช่น
                                                                 ้                            ้
งานลงรับแบบ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) จะเป็ นการใช้ โปรแกรม Microsoft Excel งาน
พิมพ์หนังสื อราชการ ก็ใช้โปรแกรม Microsoft Word นอกจากนั้นก็จะเป็ นงานที่ ใช้อุปกรณ์
สานักงานทัวไปเช่น ถ่ายเอกสาร ส่ งแฟ็ กซ์ รับโทรศัพท์ และงานรับหนังสื อจากหัวหน้าฝ่ ายส่ งเสริ ม
               ่
อุตสาหกรรมไปส่ งตามฝ่ ายต่างๆ ซึ่ งงานเหล่านี้จะทาเป็ นประจาทุกวัน
           นอกจากนี้ส่วนของการทางานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด
นครสวรรค์ ครั้งแรกๆที่ได้ทาก็ยงไม่ค่อยเข้าใจในระบบงานเท่าไรนัก แต่เมื่อได้ต้ งใจศึกษาเก็บเกี่ยว
                                  ั                                               ั
ให้ได้มากที่สุดงานตัวไหนที่ไม่ค่อยเข้าใจก็ขอคาแนะนาจากเจ้าหน้าที่ท่ีคอยให้คาปรึ กษาแล้วทา
การจดบันทึกไว้แล้วทาความเข้าใจ จนเข้าใจรายละเอียดของงานมากขึ้น พอฝึ กงานแล้วเรี ยนรู ้มาได้
สัก 2 สัปดาห์ เริ่ มจะเป็ นงานบ้างแล้วเจ้าหน้าที่ ก็เริ่ มปล่ อยให้ทาเองบ้างเป็ นบางงาน จนฝึ กได้ 2
เดือนก็สามารถทาเองได้มากขึ้น จากการฝึ กประสบการณ์วิชาชี พที่สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด
นครสวรรค์ ทาให้ได้รู้ระบบงานในหน่วยงานว่ามีข้ นตอนการดาเนินงานที่เป็ นระบบ ซึ่ งสามารถนา
                                                     ั
                                                                            ั
ประสบการณ์ในการฝึ ก ประสบการณ์วิชาชีพในครั้งนี้ ไปประยุกต์ใช้ได้กบหน่วยงานอื่นๆได้ และ
ยังทาให้รู้ถึงจดบกพร่ องของตัวเองในการทางานและนาไปปรับปรุ งแก้ไขได้ รวมทั้งข้อดี ในการ
                                                         ่
ทางานของตัวเองไปพัฒนาให้ดียงขึ้นต่อไป ทาให้รู้วาการทางานต้องมีความรับผิดชอบ รู ้หน้าที่ของ
                                    ิ่
ตัวเอง และต้องมีความตั้งใจในการทางานที่ตนรับผิดชอบอยู่
           สุ ดท้ายนี้ การฝึ กประสบการณ์ วิชาชี พนั้นเป็ นหลักสู ตรที่สาคัญโดยทางมหาวิทยาลัยราช
ภัฏนครสวรรค์ได้บรรจุเข้าไปในหลักสู ตรที่นกศึกษาทุกคนต้องผ่านหลักสู ตรนี้ ไปจึงจะเป็ นสิ่ งที่
                                                 ั
                    ่
รับประกันว่าได้ผานการฝึ กงานจากสถานที่ทางานจริ งๆ และจบหลักสู ตรการศึกษาไปอย่างสมบูรณ์
แบบ ตามที่ ผูรายงานได้ผ่านการฝึ กประสบการณ์ วิช าชี พ จากหน่ วยงานราชการ คื อ ส านัก งาน
                 ้
อุ ต สาหกรรมจัง หวัด นครสวรรค์ ถ้า ผู ้ที่ ไ ม่ ผ่า นการฝึ กประสบการณ์ วิ ช าชี พ นี้ ไปก็ จ ะไม่ รู้ ถึ ง
110



ความสาคัญของการฝึ กประสบการณ์วิชาชี พ ที่จะให้ประโยชน์แก่ตวนักศึกษาเองเมื่อจบการศึกษา
                                                          ั
                                                                        ั
ไปและจะเอื้ออานวยต่อการหางานทาที่ตวเองถนัดซึ่ งจะเป็ นการสร้ างโอกาสให้กบตัวเองในการ
                                  ั
ทางานมากขึ้นต่อไป

6.2 สรุ ปปัญหาและอุปสรรคจากการฝึ กประสบการณ์ วชาชี พ    ิ
           ปั ญหาและอุ ป สรรคในการฝึ กประสบการณ์ วิชาชี พ ที่ ส านัก งานอุ ตสาหกรรมจังหวัด
นครสวรรค์ คือในบางครั้งการสื่ อสารการประสานงานกับเจ้าหน้าที่เกิดการเข้าใจผิดกับเนื้ องานจน
ทาให้งานผิดพลาดเกิ ดความล่าช้าบ้าง เวลาทางานเครื่ องคอมพิวเตอร์ ไม่พอใช้เวลามีงานด่วนมา
                                                                                      ่
เยอะๆก็จะทาให้เกิดความล่าช้า และบางครั้งระบบโปรแกรมสาเร็ จรู ปที่จะต้องทางานอยูประจาเกิด
ความล่ าช้าจนทางานไม่ได้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ทางานก็ค่อนข้างจะเก่ าทางานบางครั้ งก็เกิ ด
                                                                         ่
ปัญหาขัดข้อง และในบางครั้งหนังสื อราชการที่รับมาจากภายนอกก็ไม่รู้วาจะส่ งไปยังฝ่ ายใดเพราะ
ในหนังสื อไม่ได้ระบุอย่างชัดเจน ทาให้มีการส่ งเอกสารให้ผิดบ้าง การที่จะต้องจดจารายละเอียด
ก ากับ ในหน่ วยงานส านัก งานอุ ตสาหกรรมจัง หวัดนครสวรรค์ ใ ห้ไ ด้ท้ ัง หมดเพื่ อจะต้องไปส่ ง
เอกสารให้ถูกต้อง
           นอกจากนี้ อุ ป สรรคในการฝึ กประสบการณ์ วิช าชี พ ที่ ส านัก งานอุ ต สาหกรรมจังหวัด
นครสวรรค์ คือ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ไม่พอใช้ ระบบของโปรแกรมสาเร็ จรู ปล่าช้า เครื่ องคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สานักงานอื่นๆที่ใช้งานอยูประจาก็เก่ามาก ในบางครั้งไม่ค่อยมีงานเข้ามาทาให้รู้สึกเบื่อเกิด
                                      ่
อาการง่วงไม่ กระตือรื อร้น ในการทางานในบางครั้ง และการที่มีงานเข้ามาไม่ค่อยแน่ใจว่าจะส่ งไป
                                                                       ่
ยังฝ่ ายไหนเพราะไม่ได้ระบุฝ่ายมาในเวลาที่เจ้าหน้าที่งานที่คอยดูแลไม่อยูทาให้งานล่าช้า
           ส่ วนประโยชน์ที่ได้รับจากการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพใน สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด
นครสวรรค์ นั้นได้นาความรู ้ ที่ศึกษาเล่าเรี ยนมาตามหลักสู ตรไปประยุกต์ใช้ในชี วิตประจาวันได้
                                                                              ่
อย่างถูกต้องพร้อมกันนั้นยังได้เป็ นการพัฒนาความรู ้ความสามารถที่ตนเองมีอยูไปใช้ในการทางาน
ได้ดียิ่งขึ้ น และทาให้ได้รู้ถึงข้อดี -ข้อเสี ย ของตนเองในการทางาน การปรับตัวเองในการทางาน
ร่ วมกับผูอื่นในสังคมการทางาน เป็ นการสร้ างความรั บผิดชอบในหน้าที่ ของตัวเองว่าดี พอหรื อ
             ้
เหมาะสมหรื อยัง และเป็ นการฝึ กความอดทนของตัวเองไปด้วย แล้วยังทาให้ได้ความรู้ความชานาญ
ในงานทางด้านคอมพิวเตอร์ งานด้านเอกสารและความรู ้ใหม่ท่ีมีเข้ามาในแต่ละวัน ได้ความรู ้ในการ
ทางานกับหน่วยงานราชการ ได้ประสบการณ์ในการเข้าสังคมการทางาน รู ้จกคนมากขึ้น โดยเฉพาะ
                                                                           ั
ผูที่เป็ นหัวหน้างาน และยังทาให้ได้รู้จกกฎระเบียบการทางาน การบริ หารเวลาในการทางานการ
   ้                                       ั
ตรงต่ อ เวลาในการท างาน ซึ่ งจะเป็ นประสบการณ์ ที่ ติ ด ตัว ไปสามารถน าไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ก ับ
111



หน่ วยงานอื่ นๆได้เป็ นอย่างดี และเป็ นการสร้ างโอกาสในการหางานที่ มีค วามได้เปรี ยบกว่าผูที่
                                                                                          ้
       ่
ไม่ได้ผานการฝึ กประสบการณ์วชาชีพิ

6.3 ข้ อเสนอแนะต่ อโปรแกรมวิชาและต่ อสถาบัน
          ในการฝึ กประสบการณ์ วิ ช าชี พ นั้ น ท าให้ ไ ด้ รั บ ประโยชน์ ม ากมายในการที่ จ ะน า
ประสบการณ์ ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชี วิตประจาวันและยังเป็ นการทบทวนนาความรู้ ที่ตวเองได้         ั
ศึกษามาตามหลักสู ตรไปประยุกต์ใช้ในชี วิตประจาวันได้อย่างเต็มที่และยังเป็ นการพัฒนาความรู ้
ความสามารถของตัวเองในหลายด้าน มีดงนี้             ั
          1. การพัฒนาตนเองด้านพฤติกรรม
          2. การพัฒนาตนเองด้านการทางาน
          3. การพัฒนาตนเองด้านการบริ หารงาน
          4. การพัฒนาตนเองด้านการปฏิบติตว           ั ั
          5. การพัฒนาตนเองด้านการดาเนินชีวิตประจาวัน
          และสิ่ ง ที่ ค วรค านึ ง ถึ ง คื อ สถานที่ ที่ จะไปขอฝึ กประสบการณ์ วิ ช าชี พ ต้องพยายามหา
หน่วยงานที่ประกอบการตรงตามหลักสู ตรที่ศึกษามาให้มากที่สุดเพื่อจะเป็ นการนาความรู ้ท่ีศึกษา
มาใช้ได้จริ งๆ จะทาให้สนุ ก ทั้งยังกระตือรื อร้ นในการทางานมากขึ้นไม่น่าเบื่อ สิ่ งที่สาคัญเลยใน
การออกไปฝึ กประสบการณ์วชาชีพนั้นผูฝึกประสบการณ์วชาชีพจะต้องตั้งใจไขว่คว้าความรู ้ในการ
                                   ิ            ้                  ิ
ทางานที่ ได้รับมอบหมายให้มากที่ สุด และพยายามเก็บเกี่ ยวความรู ้ และประสบการณ์ ในการฝึ ก
ประสบการณ์ วิชาชี พให้ได้มากที่สุดรับรองว่าจะเป็ นประโยชน์อย่างมากแก่ผูท่ีฝึกประสบการณ์้
วิชาชีพในการจบจากสถาบันออกไปทางานกับสถานที่ขางนอกจริ งๆ        ้

More Related Content

Similar to Chapter 6

Smart teacher khemjira5410305-h
Smart teacher khemjira5410305-hSmart teacher khemjira5410305-h
Smart teacher khemjira5410305-h
Khemjira_P
 
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์siratanap
 
แผ่นพับประชาสัมพันธ์ ปริญญาตรีเทคโนโลยีแม่พิมพ์
แผ่นพับประชาสัมพันธ์ ปริญญาตรีเทคโนโลยีแม่พิมพ์แผ่นพับประชาสัมพันธ์ ปริญญาตรีเทคโนโลยีแม่พิมพ์
แผ่นพับประชาสัมพันธ์ ปริญญาตรีเทคโนโลยีแม่พิมพ์
Totsaporn Inthanin
 
Co-operative Eduction in SUT
Co-operative Eduction in SUTCo-operative Eduction in SUT
Co-operative Eduction in SUT
b4870579
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
Intangible Mz
 
ใบงานที่2 3
ใบงานที่2 3ใบงานที่2 3
ใบงานที่2 3Arisara Yawichai
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)Noot Ting Tong
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)Noot Ting Tong
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)Noot Ting Tong
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)Noot Ting Tong
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)Noot Ting Tong
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)Noot Ting Tong
 
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
ใบงานที่2 16
ใบงานที่2   16ใบงานที่2   16
ใบงานที่2 16PrinceKs
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”Justice MengKing
 
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์siratanap
 

Similar to Chapter 6 (20)

K3
K3K3
K3
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
Smart teacher khemjira5410305-h
Smart teacher khemjira5410305-hSmart teacher khemjira5410305-h
Smart teacher khemjira5410305-h
 
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แผ่นพับประชาสัมพันธ์ ปริญญาตรีเทคโนโลยีแม่พิมพ์
แผ่นพับประชาสัมพันธ์ ปริญญาตรีเทคโนโลยีแม่พิมพ์แผ่นพับประชาสัมพันธ์ ปริญญาตรีเทคโนโลยีแม่พิมพ์
แผ่นพับประชาสัมพันธ์ ปริญญาตรีเทคโนโลยีแม่พิมพ์
 
Co-operative Eduction in SUT
Co-operative Eduction in SUTCo-operative Eduction in SUT
Co-operative Eduction in SUT
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
ใบงานที่2 3
ใบงานที่2 3ใบงานที่2 3
ใบงานที่2 3
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
 
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 2.1วิธีการดำเนินการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่2 16
ใบงานที่2   16ใบงานที่2   16
ใบงานที่2 16
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
 
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Chapter 6

  • 1. บทที่ 6 สรุ ป และข้ อเสนอแนะ การฝึ กประสบการณ์วชาชีพที่ทางสาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ได้ ิ กาหนดให้นกศึกษาต้องผ่านการฝึ กประสบการณ์วชาชีพก่อนสาเร็ จการศึกษาครั้งนี้ ผูรายงานได้ ั ิ ้ ดาเนินการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพครบตามกาหนดและได้รวบรวมข้อมูล ตามรายละเอียด ดังนี้ 1. สรุ ป 2. สรุ ปปัญหาและอุปสรรคจากการฝึ กประสบการณ์วชาชีพ ิ 3. ข้อเสนอแนะต่อโปรแกรมวิชาและต่อสถาบัน 6.1 สรุ ป จากการฝึ กประสบการณ์ วิชาชี พ ที่ทางสาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครสวรรค์ ได้กาหนดให้นกศึกษาต้องผ่านการฝึ กประสบการณ์วิชาชี พก่อนจะจบการศึกษาจากสถาบันไป ซึ่ ง ั การฝึ กประสบการณ์ในครั้งนี้ ได้ทาการฝึ กประสบการณ์วิชาชี พที่หน่วยงานราชการ คือ สานักงาน อุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์ ตั้งอยู่ที่ ถนนสวรรค์วิถี ตาบลนครสวรรค์ตก อาเภอเมือง จังหวัด นครสวรรค์ 60000 โดยมีระยะเวลาในการฝึ กประสบการณ์วิชาชี พ ตั้งแต่วนที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. ั 2555-28 กุ ม ภาพันธ์ พ.ศ. 2556 และได้ส าเร็ จลุ ล่ วงไปได้ด้วยดี โดยได้ท าการฝึ กประสบการณ์ วิชาชีพที่ฝ่ายส่ งเสริ มอุตสาหกรรมของสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์ โดยมีเจ้าหน้าที่ผู้ คอยให้คาแนะนาคือ นางสาวนภาพร อรุ ณเจริ ญยิ่ง ตาแหน่ ง หัวหน้าฝ่ ายส่ งเสริ มอุ ตสาหกรรม และเจ้า พนั ก งานวิ เ คราะห์ น โยบายและแผนด้ ว ย ที่ ค อยฝึ กหั ด งานให้ ต ลอดระยะการฝึ ก ประสบการณ์วชาชีพ ิ การฝึ กประสบการณ์ วิช าชี พ ครั้ งนี้ ท าให้ ไ ด้นาความรู ้ ค วามสามารถที่ ไ ด้ศึ ก ษามาตาม หลักสู ตรไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ได้จริ งในชี วิตประจาวัน ซึ่ งจากการฝึ กประสบการณ์วิชาชี พใน ฝ่ ายส่ งเสริ มอุ ตสาหกรรมของ สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์ นั้นก็มีท้ งปั ญหาและ ั อุปสรรคบ้างในบางครั้งทั้งที่เกิดจากตัวของผูที่ฝึกประสบการณ์ วิชาชี พเองและจากหน่วยงานของ ้ สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์บางในบางครั้ง เช่น การประสานงานที่สื่อสารกันแต่ไม่ ้ เข้า ใจระหว่า งผูฝึ กประสบการณ์ วิ ช าชี พ เองกับ เจ้า หน้า ที่ ข องส านัก งานอุ ต สาหกรรมจัง หวัด ้ นครสวรรค์ จนงานผิ พ ลาดไปบ้า งแต่ ก็ ส ามารถแก้ ปั ญ หาไปได้ และกรณี ที่ ท างส านัก งาน อุตสาหกรรมจังหวัดนครสวรรค์ มีการผิดพลาดมาก่อนแล้วจึงทาให้งานล่าช้าไปบ้าง ซึ่ งก็ทาให้ผฝึก ู้ ประสบการณ์ วิชาชี พได้ฝึกการสื่ อสารหรื อการประสานงานในหน่ วยงานที่ จะต้องมี ความเข้าใจ
  • 2. 109 รอบคอบและแม่นยา มีความอดทน ความรับผิดชอบต่อตัวเองต่อหน้าที่ และต่อสังคม จึงจะทาให้ งานที่รับผิดชอบอยู่เกิดความผิดพลาดน้อยที่สุด ซึ่ งการฝึ กประสบการณ์ วิชาชี พทาให้ได้สัมผัสกับ การท างานจริ งๆ การใช้อุป กรณ์ สานักงานจริ งๆในการทางานที่ ส านัก งานอุตสาหกรรมจังหวัด นครสวรรค์ ซึ่ งเป็ นการทดสอบความรู้ ความสามารถของเราที่ ได้ศึกษามานาไปใช้งานได้จริ งๆ ตามที่ศึกษามา และได้เรี ยนรู ้การทางานภายในของหน่วยงานราชการที่บุคคลภายนอกไม่สามารถ สัมผัสได้ง่ายๆ โดยงานที่ได้รับมอบหมายให้ทาเป็ นประจาในฝ่ ายส่ งเสริ มอุตสาหกรรมจะเน้นไปที่ งานธุรการ ในการฝึ กประสบการณ์วชาชีพครั้งนี้ ก็เช่น งานออกเลขหนังสื อราชการ งานลงทะเบียน ิ รับหนังสื อราชการ งานลงรับหนังสื อราชการ งานรับคาร้อ งทัวไป งานเช็คสิ นค้า งานที่เกี่ ยวกับ ่ หนัง สื อ ราชการที่ ต้อ งแก้ไ ข หรื อ ตรวจเช็ ค เป็ นต้น โดยงานเหล่ า นี้ จะท าในระบบโปรแกรม สาเร็ จรู ปของสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเอง และมีงานที่ตองใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ บาง เช่น ้ ้ งานลงรับแบบ มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) จะเป็ นการใช้ โปรแกรม Microsoft Excel งาน พิมพ์หนังสื อราชการ ก็ใช้โปรแกรม Microsoft Word นอกจากนั้นก็จะเป็ นงานที่ ใช้อุปกรณ์ สานักงานทัวไปเช่น ถ่ายเอกสาร ส่ งแฟ็ กซ์ รับโทรศัพท์ และงานรับหนังสื อจากหัวหน้าฝ่ ายส่ งเสริ ม ่ อุตสาหกรรมไปส่ งตามฝ่ ายต่างๆ ซึ่ งงานเหล่านี้จะทาเป็ นประจาทุกวัน นอกจากนี้ส่วนของการทางานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด นครสวรรค์ ครั้งแรกๆที่ได้ทาก็ยงไม่ค่อยเข้าใจในระบบงานเท่าไรนัก แต่เมื่อได้ต้ งใจศึกษาเก็บเกี่ยว ั ั ให้ได้มากที่สุดงานตัวไหนที่ไม่ค่อยเข้าใจก็ขอคาแนะนาจากเจ้าหน้าที่ท่ีคอยให้คาปรึ กษาแล้วทา การจดบันทึกไว้แล้วทาความเข้าใจ จนเข้าใจรายละเอียดของงานมากขึ้น พอฝึ กงานแล้วเรี ยนรู ้มาได้ สัก 2 สัปดาห์ เริ่ มจะเป็ นงานบ้างแล้วเจ้าหน้าที่ ก็เริ่ มปล่ อยให้ทาเองบ้างเป็ นบางงาน จนฝึ กได้ 2 เดือนก็สามารถทาเองได้มากขึ้น จากการฝึ กประสบการณ์วิชาชี พที่สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด นครสวรรค์ ทาให้ได้รู้ระบบงานในหน่วยงานว่ามีข้ นตอนการดาเนินงานที่เป็ นระบบ ซึ่ งสามารถนา ั ั ประสบการณ์ในการฝึ ก ประสบการณ์วิชาชีพในครั้งนี้ ไปประยุกต์ใช้ได้กบหน่วยงานอื่นๆได้ และ ยังทาให้รู้ถึงจดบกพร่ องของตัวเองในการทางานและนาไปปรับปรุ งแก้ไขได้ รวมทั้งข้อดี ในการ ่ ทางานของตัวเองไปพัฒนาให้ดียงขึ้นต่อไป ทาให้รู้วาการทางานต้องมีความรับผิดชอบ รู ้หน้าที่ของ ิ่ ตัวเอง และต้องมีความตั้งใจในการทางานที่ตนรับผิดชอบอยู่ สุ ดท้ายนี้ การฝึ กประสบการณ์ วิชาชี พนั้นเป็ นหลักสู ตรที่สาคัญโดยทางมหาวิทยาลัยราช ภัฏนครสวรรค์ได้บรรจุเข้าไปในหลักสู ตรที่นกศึกษาทุกคนต้องผ่านหลักสู ตรนี้ ไปจึงจะเป็ นสิ่ งที่ ั ่ รับประกันว่าได้ผานการฝึ กงานจากสถานที่ทางานจริ งๆ และจบหลักสู ตรการศึกษาไปอย่างสมบูรณ์ แบบ ตามที่ ผูรายงานได้ผ่านการฝึ กประสบการณ์ วิช าชี พ จากหน่ วยงานราชการ คื อ ส านัก งาน ้ อุ ต สาหกรรมจัง หวัด นครสวรรค์ ถ้า ผู ้ที่ ไ ม่ ผ่า นการฝึ กประสบการณ์ วิ ช าชี พ นี้ ไปก็ จ ะไม่ รู้ ถึ ง
  • 3. 110 ความสาคัญของการฝึ กประสบการณ์วิชาชี พ ที่จะให้ประโยชน์แก่ตวนักศึกษาเองเมื่อจบการศึกษา ั ั ไปและจะเอื้ออานวยต่อการหางานทาที่ตวเองถนัดซึ่ งจะเป็ นการสร้ างโอกาสให้กบตัวเองในการ ั ทางานมากขึ้นต่อไป 6.2 สรุ ปปัญหาและอุปสรรคจากการฝึ กประสบการณ์ วชาชี พ ิ ปั ญหาและอุ ป สรรคในการฝึ กประสบการณ์ วิชาชี พ ที่ ส านัก งานอุ ตสาหกรรมจังหวัด นครสวรรค์ คือในบางครั้งการสื่ อสารการประสานงานกับเจ้าหน้าที่เกิดการเข้าใจผิดกับเนื้ องานจน ทาให้งานผิดพลาดเกิ ดความล่าช้าบ้าง เวลาทางานเครื่ องคอมพิวเตอร์ ไม่พอใช้เวลามีงานด่วนมา ่ เยอะๆก็จะทาให้เกิดความล่าช้า และบางครั้งระบบโปรแกรมสาเร็ จรู ปที่จะต้องทางานอยูประจาเกิด ความล่ าช้าจนทางานไม่ได้ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ทางานก็ค่อนข้างจะเก่ าทางานบางครั้ งก็เกิ ด ่ ปัญหาขัดข้อง และในบางครั้งหนังสื อราชการที่รับมาจากภายนอกก็ไม่รู้วาจะส่ งไปยังฝ่ ายใดเพราะ ในหนังสื อไม่ได้ระบุอย่างชัดเจน ทาให้มีการส่ งเอกสารให้ผิดบ้าง การที่จะต้องจดจารายละเอียด ก ากับ ในหน่ วยงานส านัก งานอุ ตสาหกรรมจัง หวัดนครสวรรค์ ใ ห้ไ ด้ท้ ัง หมดเพื่ อจะต้องไปส่ ง เอกสารให้ถูกต้อง นอกจากนี้ อุ ป สรรคในการฝึ กประสบการณ์ วิช าชี พ ที่ ส านัก งานอุ ต สาหกรรมจังหวัด นครสวรรค์ คือ เครื่ องคอมพิวเตอร์ ไม่พอใช้ ระบบของโปรแกรมสาเร็ จรู ปล่าช้า เครื่ องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์สานักงานอื่นๆที่ใช้งานอยูประจาก็เก่ามาก ในบางครั้งไม่ค่อยมีงานเข้ามาทาให้รู้สึกเบื่อเกิด ่ อาการง่วงไม่ กระตือรื อร้น ในการทางานในบางครั้ง และการที่มีงานเข้ามาไม่ค่อยแน่ใจว่าจะส่ งไป ่ ยังฝ่ ายไหนเพราะไม่ได้ระบุฝ่ายมาในเวลาที่เจ้าหน้าที่งานที่คอยดูแลไม่อยูทาให้งานล่าช้า ส่ วนประโยชน์ที่ได้รับจากการฝึ กประสบการณ์วิชาชีพใน สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด นครสวรรค์ นั้นได้นาความรู ้ ที่ศึกษาเล่าเรี ยนมาตามหลักสู ตรไปประยุกต์ใช้ในชี วิตประจาวันได้ ่ อย่างถูกต้องพร้อมกันนั้นยังได้เป็ นการพัฒนาความรู ้ความสามารถที่ตนเองมีอยูไปใช้ในการทางาน ได้ดียิ่งขึ้ น และทาให้ได้รู้ถึงข้อดี -ข้อเสี ย ของตนเองในการทางาน การปรับตัวเองในการทางาน ร่ วมกับผูอื่นในสังคมการทางาน เป็ นการสร้ างความรั บผิดชอบในหน้าที่ ของตัวเองว่าดี พอหรื อ ้ เหมาะสมหรื อยัง และเป็ นการฝึ กความอดทนของตัวเองไปด้วย แล้วยังทาให้ได้ความรู้ความชานาญ ในงานทางด้านคอมพิวเตอร์ งานด้านเอกสารและความรู ้ใหม่ท่ีมีเข้ามาในแต่ละวัน ได้ความรู ้ในการ ทางานกับหน่วยงานราชการ ได้ประสบการณ์ในการเข้าสังคมการทางาน รู ้จกคนมากขึ้น โดยเฉพาะ ั ผูที่เป็ นหัวหน้างาน และยังทาให้ได้รู้จกกฎระเบียบการทางาน การบริ หารเวลาในการทางานการ ้ ั ตรงต่ อ เวลาในการท างาน ซึ่ งจะเป็ นประสบการณ์ ที่ ติ ด ตัว ไปสามารถน าไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ก ับ
  • 4. 111 หน่ วยงานอื่ นๆได้เป็ นอย่างดี และเป็ นการสร้ างโอกาสในการหางานที่ มีค วามได้เปรี ยบกว่าผูที่ ้ ่ ไม่ได้ผานการฝึ กประสบการณ์วชาชีพิ 6.3 ข้ อเสนอแนะต่ อโปรแกรมวิชาและต่ อสถาบัน ในการฝึ กประสบการณ์ วิ ช าชี พ นั้ น ท าให้ ไ ด้ รั บ ประโยชน์ ม ากมายในการที่ จ ะน า ประสบการณ์ ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชี วิตประจาวันและยังเป็ นการทบทวนนาความรู้ ที่ตวเองได้ ั ศึกษามาตามหลักสู ตรไปประยุกต์ใช้ในชี วิตประจาวันได้อย่างเต็มที่และยังเป็ นการพัฒนาความรู ้ ความสามารถของตัวเองในหลายด้าน มีดงนี้ ั 1. การพัฒนาตนเองด้านพฤติกรรม 2. การพัฒนาตนเองด้านการทางาน 3. การพัฒนาตนเองด้านการบริ หารงาน 4. การพัฒนาตนเองด้านการปฏิบติตว ั ั 5. การพัฒนาตนเองด้านการดาเนินชีวิตประจาวัน และสิ่ ง ที่ ค วรค านึ ง ถึ ง คื อ สถานที่ ที่ จะไปขอฝึ กประสบการณ์ วิ ช าชี พ ต้องพยายามหา หน่วยงานที่ประกอบการตรงตามหลักสู ตรที่ศึกษามาให้มากที่สุดเพื่อจะเป็ นการนาความรู ้ท่ีศึกษา มาใช้ได้จริ งๆ จะทาให้สนุ ก ทั้งยังกระตือรื อร้ นในการทางานมากขึ้นไม่น่าเบื่อ สิ่ งที่สาคัญเลยใน การออกไปฝึ กประสบการณ์วชาชีพนั้นผูฝึกประสบการณ์วชาชีพจะต้องตั้งใจไขว่คว้าความรู ้ในการ ิ ้ ิ ทางานที่ ได้รับมอบหมายให้มากที่ สุด และพยายามเก็บเกี่ ยวความรู ้ และประสบการณ์ ในการฝึ ก ประสบการณ์ วิชาชี พให้ได้มากที่สุดรับรองว่าจะเป็ นประโยชน์อย่างมากแก่ผูท่ีฝึกประสบการณ์้ วิชาชีพในการจบจากสถาบันออกไปทางานกับสถานที่ขางนอกจริ งๆ ้