SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Brugia malayi
จัดทำโดย
นำงสำว สรัญญำ ภักดีรำช รหัส
55040280111
Brugia malayi
จัดอยู่ใน
Kingdom: Animalia
Phylum: Nematoda
Class: Secernentea
Order: Spirurida
Family: Filariidae
Genus: Brugia
Species: B. malayi
Brugia malayi
 Brugia malayi เป็น Nematode (พยาธิตัวกลม) ทาให้เกิดโรค
Malayan filariasis หรือโรคเท้าช้าง (Elephantiasis) พบใน
แถบชายฝั่งตะวันออกของภาคใต้ 6 จังหวัด ได้แก่ ชุมพร สุราษฎร์ธานี
นครศรีธรรมราช พัทลุง ปัตตานี และนราธิวาส โดยมียุงเป็นพาหะ คือ
Mansonia sp. เป็น Main vector ได้แก่ M. indiana, M.
uniformis, M. bonneae, และ M. annulata
M.
indiana
M.
uniformis
M.
bonneae
M.
annulata
ที่มา:
http://www.boldsystems.org/index.php/Taxbrowser_T
axonpage?taxid=6442
 ลักษณะคล้ายพยาธิตัวกลมทั่วไป มีลาตัวกลมยาว คล้ายเส้นด้าย
 มีคราบหุ้มตัว มี Stylets ที่หัว 2 อัน ช่องว่างส่วนหัวยาว โดยมีอัตราส่วน
ของความกว้างของช่องต่อความยาวของช่อง = 1:2 กลุ่มของนิวเคลียสใน
ลาตัว (Nuclear column) เรียงตัวไม่เป็นระเบียบซ้อนทับกันเป็นปื้น
(Overlapping) ปลายสุดหางแยกไป 2 อัน (2 Discrete
nuclei) ลาตัวหงิกงอโค้งไม่สวย
 รูปแบบการเคลื่อนที่มีลักษณะเป็นรูปตัว S
ลักษณะทั่วไป
ลักษณะทั่วไป
Brugia
malayi
ที่มา:
Adult worms
range in
length from 2
to 3.5 cm for
males and 5 to
7 cm for
females. Both
are no more
than 0.5 mmที่มา:
พยาธิ Brugia malayi ระยะ microfilaria ย้อมด้วยสี
Hematoxylin ขนาด 200-275 * 5-6 ไมครอน มี
ลักษณะขดๆงอๆ มีปลอกหุ้มตัว ช่องว่างส่วนหัวมีความกว้างต่อ
ความยาว 1:2 นิวเคลียสรูปร่างไม่แน่นอนขนาดเล็กกระจายซ้อน
กัน ที่ปลายหางมีนิวเคลียส 2 อันห่างกัน เรียก Terminal
nuclei
B. malayi ระยะ
microfilaria
แสดงให้เห็น
terminal
nuclei
พยาธิ B.malayi
ระยะ
microfilaria
ย้อมด้วยสี
Giemsa จะเห็น
ปลอกหุ้มตัวติด สี
ชมพูเข้มที่มา:
http://www.tm.mahidol.ac.th/hospital/hospital-
วงจรชีวิต
การวินิจฉัย
 การตรวจวินิจฉัยโรคในระยะที่ยังไม่ปรากฏอาการอวัยวะบวมโต มีวิธีการดังนี้
ซักประวัติการเข้าไปในพื้นที่ระบาด, ประวัติอาการหลอดน้าเหลืออักเสบ
เจาะเลือดผู้ป่วยไปตรวจหาไมโครฟิลาเรีย
ตรวจหาไมโครฟิลาเรียจากน้าเหลืองหรือปัสสาวะ
การตรวจทางภูมิคุ้มกันวิทยา
พยาธิสภาพ
 แบ่งเป็น 4 กลุ่มหลัก ดังนี้
ผู้ป่วยที่ไม่มีอาการแสดงและตรวจไม่พบไมโครฟิลาเรียในกระแสเลือด
(Asymptomatic amicrofilaremics)
ผู้ป่วยที่ไม่มีอาการแสดง แต่สามารถตรวจพบไมโครฟิลาเรียในกระแสเลือด
(Asymptomatic microfilaremics)
กลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการระยะเฉียบพลับ (Acute manifestations)
กลุ่มผู้ป่วยที่มีระยะอาการเรื้อรัง (Chronic mannifestations)
การป้องกันและรักษา
 ป้ องกันไม่ให้ยุงกัด กาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง และหากต้องเข้าไปในถิ่นระบาดของ
โรค ควรใช้ยาทาตัวกันยุงกัด รักษาประชากรในแหล่งระบาดไม่ให้มีเชื้อในกระแส
เลือด เพื่อลดการแพร่พันธุ์ของเชื้อ
 การรักษาผู้ป่วยที่ยังไม่มีอาการรับประทานยา Albendazole ขนาด 400
มิลลิกรัมร่วมกับ Hetrazan (diethylcarbamazine, DEC)
ขนาด 6 มิลลิกรัมต่อน้าหนักตัว 1 กิโลกรัม 1 ครั้งต่อปี ส่วนผู้ป่วยที่แสดง
อาการของโรคเท้าช้างแล้ว นอกจากให้ผู้ป่วยรับประทานยาแล้ว แพทย์จะแนะนา
ให้รักษาความสะอาดบริเวณที่มีอาการของโรคร่วมกับการทากายภาพบาบัด โดย
นวดบริเวณต่อมน้าเหลืองที่บวมโตเพื่อเพิ่มการไหลเวียนของน้าเหลือง ในผู้ป่วย
บางรายแพทย์อาจทาการผ่าตัดให้
เอกสารอ้างอิง
 http://www.med.cmu.ac.th/dept/parasite/public/Filariasis.htm
 http://www.cdc.gov/dpdx/lymphaticFilariasis/index.html
 http://www.reuters.com/article/2007/09/20/us-elephantiasis-
genome-idUSN2042109920070920
 http://www.tm.mahidol.ac.th/hospital/hospital-p-filariasis-
th.php
 http://en.wikipedia.org/wiki/Brugia_malayi#Adult
 digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51923001/chapter2.pdf
สืบค้นเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2558

More Related Content

What's hot

Coccidian parasites- Cryptosporidiosis
Coccidian parasites- CryptosporidiosisCoccidian parasites- Cryptosporidiosis
Coccidian parasites- CryptosporidiosisSuprakash Das
 
ENTAMOEBA HISTOLYTICA
ENTAMOEBA HISTOLYTICAENTAMOEBA HISTOLYTICA
ENTAMOEBA HISTOLYTICARaNa MB
 
Trypanosoma brucei rhodesiense
Trypanosoma brucei rhodesienseTrypanosoma brucei rhodesiense
Trypanosoma brucei rhodesienseNoe Mendez
 
Dipylidium caninum.pptx
Dipylidium caninum.pptxDipylidium caninum.pptx
Dipylidium caninum.pptxDeborahAR1
 
Lung And Reproductive Trematodes
Lung And  Reproductive  TrematodesLung And  Reproductive  Trematodes
Lung And Reproductive Trematodesraj kumar
 
parasitology Introduction.ppt
parasitology Introduction.pptparasitology Introduction.ppt
parasitology Introduction.pptadisutesfaye21
 
[Micro] hymenolepis nana
[Micro] hymenolepis nana[Micro] hymenolepis nana
[Micro] hymenolepis nanaMuhammad Ahmad
 
Trypanosoma brucei
Trypanosoma bruceiTrypanosoma brucei
Trypanosoma bruceiNoe Mendez
 
Balantidium coli
Balantidium coliBalantidium coli
Balantidium coliMary Mwinga
 
Entamoeba histolytica
Entamoeba histolytica Entamoeba histolytica
Entamoeba histolytica Usman Sarwar
 

What's hot (20)

Strongyloides stercoralis
Strongyloides stercoralisStrongyloides stercoralis
Strongyloides stercoralis
 
Brugia malayi
Brugia malayiBrugia malayi
Brugia malayi
 
Coccidian parasites- Cryptosporidiosis
Coccidian parasites- CryptosporidiosisCoccidian parasites- Cryptosporidiosis
Coccidian parasites- Cryptosporidiosis
 
ENTAMOEBA HISTOLYTICA
ENTAMOEBA HISTOLYTICAENTAMOEBA HISTOLYTICA
ENTAMOEBA HISTOLYTICA
 
Trypanosoma brucei rhodesiense
Trypanosoma brucei rhodesienseTrypanosoma brucei rhodesiense
Trypanosoma brucei rhodesiense
 
Dipylidium caninum.pptx
Dipylidium caninum.pptxDipylidium caninum.pptx
Dipylidium caninum.pptx
 
Echinococcus granulosus
Echinococcus granulosusEchinococcus granulosus
Echinococcus granulosus
 
Lung And Reproductive Trematodes
Lung And  Reproductive  TrematodesLung And  Reproductive  Trematodes
Lung And Reproductive Trematodes
 
parasitology Introduction.ppt
parasitology Introduction.pptparasitology Introduction.ppt
parasitology Introduction.ppt
 
[Micro] hymenolepis nana
[Micro] hymenolepis nana[Micro] hymenolepis nana
[Micro] hymenolepis nana
 
Trypanosoma brucei
Trypanosoma bruceiTrypanosoma brucei
Trypanosoma brucei
 
Ancylostoma duodenale
Ancylostoma duodenaleAncylostoma duodenale
Ancylostoma duodenale
 
Leishmania donovani
Leishmania donovaniLeishmania donovani
Leishmania donovani
 
Trypanosomiasis
TrypanosomiasisTrypanosomiasis
Trypanosomiasis
 
Giardia lamblia
Giardia lamblia Giardia lamblia
Giardia lamblia
 
Balantidium coli
Balantidium coliBalantidium coli
Balantidium coli
 
Tissue nematodes
Tissue nematodesTissue nematodes
Tissue nematodes
 
Fasciolopsis buski
Fasciolopsis buskiFasciolopsis buski
Fasciolopsis buski
 
Nematodes
NematodesNematodes
Nematodes
 
Entamoeba histolytica
Entamoeba histolytica Entamoeba histolytica
Entamoeba histolytica
 

Viewers also liked

Viewers also liked (20)

Wuchereria bancrofti y Brugia malayi
Wuchereria bancrofti y Brugia malayiWuchereria bancrofti y Brugia malayi
Wuchereria bancrofti y Brugia malayi
 
Wuchereria Bancrofti
Wuchereria BancroftiWuchereria Bancrofti
Wuchereria Bancrofti
 
Wuchereria bancrofti
Wuchereria bancroftiWuchereria bancrofti
Wuchereria bancrofti
 
Cdc health and parasitology
Cdc health and parasitologyCdc health and parasitology
Cdc health and parasitology
 
Filariasis limfatik
Filariasis limfatikFilariasis limfatik
Filariasis limfatik
 
Brugia malayi
Brugia malayiBrugia malayi
Brugia malayi
 
Brugia malayi
Brugia malayiBrugia malayi
Brugia malayi
 
Elisa
ElisaElisa
Elisa
 
Ppt filariasis
Ppt filariasisPpt filariasis
Ppt filariasis
 
Mansonella ozzardi
Mansonella ozzardiMansonella ozzardi
Mansonella ozzardi
 
Sandwich ELISA Protocol
Sandwich ELISA ProtocolSandwich ELISA Protocol
Sandwich ELISA Protocol
 
Mansonella ozzardi
Mansonella ozzardiMansonella ozzardi
Mansonella ozzardi
 
ELISA Vs ELISPOT - Principle, Procedure, Advantages
ELISA Vs ELISPOT - Principle, Procedure, AdvantagesELISA Vs ELISPOT - Principle, Procedure, Advantages
ELISA Vs ELISPOT - Principle, Procedure, Advantages
 
Immunochemicaltechniques
ImmunochemicaltechniquesImmunochemicaltechniques
Immunochemicaltechniques
 
Filariasis
FilariasisFilariasis
Filariasis
 
Inmunología Radioinmunoensayo, ELISA, ELISPOT, Western Blotting, Citometría d...
Inmunología Radioinmunoensayo, ELISA, ELISPOT, Western Blotting, Citometría d...Inmunología Radioinmunoensayo, ELISA, ELISPOT, Western Blotting, Citometría d...
Inmunología Radioinmunoensayo, ELISA, ELISPOT, Western Blotting, Citometría d...
 
Loa loa
Loa loaLoa loa
Loa loa
 
Loa-Loa in Microbiology & Parasitology
Loa-Loa in Microbiology & ParasitologyLoa-Loa in Microbiology & Parasitology
Loa-Loa in Microbiology & Parasitology
 
Elephantiasis.ppt
Elephantiasis.pptElephantiasis.ppt
Elephantiasis.ppt
 
Loa loa(1)
Loa loa(1)Loa loa(1)
Loa loa(1)
 

Brugia malayi

  • 1. Brugia malayi จัดทำโดย นำงสำว สรัญญำ ภักดีรำช รหัส 55040280111
  • 2. Brugia malayi จัดอยู่ใน Kingdom: Animalia Phylum: Nematoda Class: Secernentea Order: Spirurida Family: Filariidae Genus: Brugia Species: B. malayi
  • 3. Brugia malayi  Brugia malayi เป็น Nematode (พยาธิตัวกลม) ทาให้เกิดโรค Malayan filariasis หรือโรคเท้าช้าง (Elephantiasis) พบใน แถบชายฝั่งตะวันออกของภาคใต้ 6 จังหวัด ได้แก่ ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง ปัตตานี และนราธิวาส โดยมียุงเป็นพาหะ คือ Mansonia sp. เป็น Main vector ได้แก่ M. indiana, M. uniformis, M. bonneae, และ M. annulata
  • 5.  ลักษณะคล้ายพยาธิตัวกลมทั่วไป มีลาตัวกลมยาว คล้ายเส้นด้าย  มีคราบหุ้มตัว มี Stylets ที่หัว 2 อัน ช่องว่างส่วนหัวยาว โดยมีอัตราส่วน ของความกว้างของช่องต่อความยาวของช่อง = 1:2 กลุ่มของนิวเคลียสใน ลาตัว (Nuclear column) เรียงตัวไม่เป็นระเบียบซ้อนทับกันเป็นปื้น (Overlapping) ปลายสุดหางแยกไป 2 อัน (2 Discrete nuclei) ลาตัวหงิกงอโค้งไม่สวย  รูปแบบการเคลื่อนที่มีลักษณะเป็นรูปตัว S ลักษณะทั่วไป
  • 7. Adult worms range in length from 2 to 3.5 cm for males and 5 to 7 cm for females. Both are no more than 0.5 mmที่มา:
  • 8. พยาธิ Brugia malayi ระยะ microfilaria ย้อมด้วยสี Hematoxylin ขนาด 200-275 * 5-6 ไมครอน มี ลักษณะขดๆงอๆ มีปลอกหุ้มตัว ช่องว่างส่วนหัวมีความกว้างต่อ ความยาว 1:2 นิวเคลียสรูปร่างไม่แน่นอนขนาดเล็กกระจายซ้อน กัน ที่ปลายหางมีนิวเคลียส 2 อันห่างกัน เรียก Terminal nuclei B. malayi ระยะ microfilaria แสดงให้เห็น terminal nuclei พยาธิ B.malayi ระยะ microfilaria ย้อมด้วยสี Giemsa จะเห็น ปลอกหุ้มตัวติด สี ชมพูเข้มที่มา: http://www.tm.mahidol.ac.th/hospital/hospital-
  • 10. การวินิจฉัย  การตรวจวินิจฉัยโรคในระยะที่ยังไม่ปรากฏอาการอวัยวะบวมโต มีวิธีการดังนี้ ซักประวัติการเข้าไปในพื้นที่ระบาด, ประวัติอาการหลอดน้าเหลืออักเสบ เจาะเลือดผู้ป่วยไปตรวจหาไมโครฟิลาเรีย ตรวจหาไมโครฟิลาเรียจากน้าเหลืองหรือปัสสาวะ การตรวจทางภูมิคุ้มกันวิทยา
  • 11. พยาธิสภาพ  แบ่งเป็น 4 กลุ่มหลัก ดังนี้ ผู้ป่วยที่ไม่มีอาการแสดงและตรวจไม่พบไมโครฟิลาเรียในกระแสเลือด (Asymptomatic amicrofilaremics) ผู้ป่วยที่ไม่มีอาการแสดง แต่สามารถตรวจพบไมโครฟิลาเรียในกระแสเลือด (Asymptomatic microfilaremics) กลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการระยะเฉียบพลับ (Acute manifestations) กลุ่มผู้ป่วยที่มีระยะอาการเรื้อรัง (Chronic mannifestations)
  • 12.
  • 13. การป้องกันและรักษา  ป้ องกันไม่ให้ยุงกัด กาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง และหากต้องเข้าไปในถิ่นระบาดของ โรค ควรใช้ยาทาตัวกันยุงกัด รักษาประชากรในแหล่งระบาดไม่ให้มีเชื้อในกระแส เลือด เพื่อลดการแพร่พันธุ์ของเชื้อ  การรักษาผู้ป่วยที่ยังไม่มีอาการรับประทานยา Albendazole ขนาด 400 มิลลิกรัมร่วมกับ Hetrazan (diethylcarbamazine, DEC) ขนาด 6 มิลลิกรัมต่อน้าหนักตัว 1 กิโลกรัม 1 ครั้งต่อปี ส่วนผู้ป่วยที่แสดง อาการของโรคเท้าช้างแล้ว นอกจากให้ผู้ป่วยรับประทานยาแล้ว แพทย์จะแนะนา ให้รักษาความสะอาดบริเวณที่มีอาการของโรคร่วมกับการทากายภาพบาบัด โดย นวดบริเวณต่อมน้าเหลืองที่บวมโตเพื่อเพิ่มการไหลเวียนของน้าเหลือง ในผู้ป่วย บางรายแพทย์อาจทาการผ่าตัดให้
  • 14. เอกสารอ้างอิง  http://www.med.cmu.ac.th/dept/parasite/public/Filariasis.htm  http://www.cdc.gov/dpdx/lymphaticFilariasis/index.html  http://www.reuters.com/article/2007/09/20/us-elephantiasis- genome-idUSN2042109920070920  http://www.tm.mahidol.ac.th/hospital/hospital-p-filariasis- th.php  http://en.wikipedia.org/wiki/Brugia_malayi#Adult  digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/51923001/chapter2.pdf สืบค้นเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2558