SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
Blogger
Blog มาจากศัพท์คาว่า WeBlog บางคนอ่านคา ๆ นี้ว่า We Blog บางคนอ่านว่าWeb Log แต่
ทั้งนี้ทั้งนั้น ทั้งสองคาบ่งบอกถึงความหมายเดียวกัน ว่านั่นคือบล็อก (Blog)
ความหมายของคาว่า Blog ก็คือการบันทึกบทความของตนเอง (Personal Journal) ลงบน
เว็บไซต์ โดยเนื้อหาของ blog นั้นจะครอบคลุมได้ทุกเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องราวส่วนตัว หรือเป็น
บทความเฉพาะด้านต่าง ๆ เช่น เรื่องการเมือง เรื่องกล้องถ่ายรูป เรื่องกีฬา เรื่องธุรกิจ เป็นต้น
โดยจุดเด่นที่ทาให้บล็อกเป็นที่นิยมก็คือ ผู้เขียนบล็อก จะมีการแสดงความคิดเห็นของตนเองใส่
ลงไปในบทความนั้น ๆ โดยบล็อกบางแห่ง จะมีอิทธิพลในการโน้มน้าวจิตใจผู้อ่านสูงมาก แต่
ในขณะเดียวกัน บางบล็อกก็จะเขียนขึ้นมาเพื่อให้อ่านกันในกลุ่มเฉพาะ เช่นกลุ่มเพื่อน ๆ หรือ
ครอบครัวตนเอง
มีหลายครั้งที่เกิดความเข้าใจกันผิดว่า Blog เป็นได้แค่ไดอารี่ออนไลน์ แต่ในความเป็นจริงแล้ว
ไดอารี่ออนไลน์เปรียบเสมือน เนื้อหาประเภทหนึ่งของบล็อกเท่านั้น เพราะบล็อกมีเนื้อหาที่
หลากหลายประเภท ตั้งแต่การบันทึกเรื่องส่วนตัวอย่างเช่นไดอารี่ หรือการบันทึกบทความที่
ผู้เขียนบล็อกสนใจในด้านอื่นด้วย ที่เห็นชัดเจนคือ เนื้อหาบล็อกประเภท วิจารณ์การเมือง หรือ
การรีวิวผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ตัวเองเคยใช้ หรือซื้อมานั่นเอง อีกทั้งยังสามารถแตกแขนงไปใน
เนื้อหาในประเภทต่าง ๆ อีกมากมาย ตามแต่ที่เจ้าของบล็อกจะเป็นคนที่ถนัดในด้านไหน ก็
มักจะเขียนบทความเรื่องที่ตนเองถนัด หรือสนใจเป็นต้น
และจุดเด่นที่สุดของ Blog ก็คือ มันสามารถเป็นเครื่องมือสื่อสารชนิดหนึ่ง ที่สามารถสื่อถึงความ
เป็นกันเองระหว่างผู้เขียนบล็อก และผู้อ่านบล็อกที่เป็นกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจนของบล็อกนั้น ๆ
ผ่านทางระบบ comment ของบล็อกนั่นเอง
ในอดีตแรกเริ่ม คนที่เขียน Blog นั้นยังทากันในระบบ Manualคือเขียนเว็บเองทีละหน้า แต่ใน
ปัจจุบันนี้ มีเครื่องมือหรือซอฟท์แวร์ให้เราใช้ในการเขียน Blog ได้มากมาย เช่น WordPress,
Movable Type เป็นต้น
ผู้คนหลายล้านคนจากทั่วทุกมุมโลก หันมาเขียน Blog กันอย่างแพร่หลาย ตั้งแต่นักเรียน อาจารย์
นักเขียน ตลอดจนถึงระดับบริษัทยักษ์ใหญ่ในตลาดหุ้น NasDaq
เมื่อสองสามปีที่ผ่านมา Blog เริ่มต้นมาจากการเขียนเป็นงานอดิเรกของกลุ่มสื่ออิสระต่าง ๆ
หลาย ๆ แห่งกลายเป็นแหล่งข่าวสาคัญให้กับหนังสือพิมพ์หรือสานักข่าวชั้นนา จวบจนกระทั่งปี
2004 คนเขียน Blog ก็ได้รับการยอมรับจากสื่อและสานักข่าวต่าง ๆ ถึงความรวดเร็วในการให้
ข้อมูลตั้งแต่เรื่องการเมืองไปจนกระทั่งเรื่องราวของการประชุมระดับชาติ
และจากเหตุการณ์เหล่านี้ นับได้ว่า Blog เป็นสื่อชนิดหนึ่งที่ไม่ต่างจาก วีดีโอ , สิ่งพิมพ์ ,
โทรทัศน์ หรือแม้กระทั่งวิทยุ เราสามารถเรียกได้ว่า Blog ได้เข้ามาเป็นสื่อชนิดใหม่ที่สาคัญ
อย่างแท้จริง
สรุปให้ง่าย ๆ สั้น ๆ ก็คือ Blog คือเว็บไซต์ที่มีรูปแบบเนื้อหาเป็นเหมือนบันทึกส่วนตัวออนไลน์
มีส่วนของการcommentsและก็จะมีlink ไปยังเว็บอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องอีกด้วย
โครงสร้างของ Blog
มาดูเรื่องกายวิภาคของ Blog กันดีกว่า ว่า blog นั้นมีส่วนประกอบที่สาคัญอะไรบ้าง จะได้รู้ว่า
เราจะใช้ประโยชน์จากส่วนต่าง ๆ ของ blog นั้นได้อย่างเต็มที่
1. ชื่อบล็อก (Blog Title) ส่วนของBlog Title นี้ก็จะเป็นชื่อบล็อกนั้น ๆ ครับ
2. แท็กไลน์ (Subtitle หรือ Tag line)ตรงส่วนนี้จะเป็นคาจากัดความของเว็บ หรือสโลแกนเก๋ ๆ
ที่ใช้อธิบายถึงตัวบล็อกโดยรวม โดยตัวแท็กไลน์นี้ จะมีก็ได้ หรือไม่มีก็ได้ เพราะมันไม่สาคัญ
เท่ากับชื่อบล็อกครับ
3. วันที่และเวลา (Date & Time Stamp)เป็นวันที่ และบางทีอาจมีเวลากากับอยู่ด้วย ตัววันที่และ
เวลานี้ จะเป็นตัวบอกว่าบทความในบล็อกนั้นเขียนขึ้นมาเมื่อไหร่ บางครั้งอาจมีวันที่ระบุอยู่ใน
ส่วนของcommentด้วย ซึ่งจะเป็นการบ่งบอกว่าcommentนั้นเขียนเข้ามาเมื่อไหร่เช่นกัน
4. ชื่อบทความ (Entry Title)ชื่อเรื่องของบทความที่เขียนในบล็อก
5. ตัวเนื้อหาบทความ (Entry’s Main Body)อาจเป็นตัวหนังสือ หรืออาจเป็นรูปภาพ วีดีโอ หรืออ
นิเมชั่น เป็นต้น โดยส่วนประกอบเหล่านี้จะรวมเป็นส่วนเนื้อหาของบทความ
6. ชื่อผู้เขียน (Blog Author)บางบล็อก อาจมีการระบุชื่อผู้เขียนไว้ในบล็อกด้วยครับ โดย
ตาแหน่งที่จะใส่ชื่อผู้เขียนนั้น สามารถไว้ที่ตาแหน่งใดก็ได้ เช่นด้านข้าง (sidebar) หรืออยู่ในตัว
บทความก็ได้
7. คอมเม้นต์ (Comment tag)เป็นลิงค์ที่ให้ผู้อ่านคลิกไปเพื่อกรอกคอมเม้นต์ให้กับบล็อกนั้น ๆ
ได้
8. ลิงค์ถาวร (Permalink)เรียกชื่อไทยแล้วเขิ้นเขิน เราสามารถเรียกทับศัพท์ก็ได้ครับว่า เพอร์มา
ลิ้งค์ เจ้าลิงค์ตัวนี้คือลิงค์ที่ไปหา url ของบทความนั้น ๆ โดยตรงครับ มีประโยชน์สาหรับ
bloggerคนอื่น ๆ ที่อยากจะทาลิงค์หาบทความของเราโดยตรง ก็จะสามารถหา permalink ได้
อย่างง่ายดายครับ โดย urlของ permalink นี้จะไม่เปลี่ยนไปตามวันและเวลาเหมือน link ของ
หน้าแรกของบล็อกที่บทความจะเปลี่ยนไปเรื่อย ๆ ครับ นี่แหละครับที่เค้าเรียกว่า ลิงค์ถาวร
9. ปฎิทิน (Calendar)บล็อกบางแห่งอาจมีปฎิทินอยู่ด้วย โดยในปฎิทินนั้นสามารกคลิกตามวันที่
เพื่ออ่านบทความของวันที่นั้น ๆ ได้สะดวกครับ
10. บทความย้อนหลัง (Archives)บทความเก่า หรือบทความย้อนหลัง อาจมีการจัดเตรียมไว้โดย
เจ้าของบล็อก โดยบล็อกแต่ละแห่งอาจจัดเรียงบทความย้อนหลัง ไม่เหมือนกัน เช่นจัดเรียงราย
เดือน รายสัปดาห์ รายวัน หรือจะ list บทความทั้งหมดออกมาเลยก็ได้
11. ลิงค์ไปยังเว็บอื่น (Links)เป็นจุดเด่นและความสนุกของบล็อกอีกอย่างหนึ่งเลยทีเดียวครับ
โดยบล็อกแต่ละแห่ง อาจมีลิงค์ไปยังเว็บอื่นหลากหลายเว็บ บางครั้งเราสามารถเรียก link พวกนี้
ว่า blogroll ก็ได้ครับ
12. RSS หรือ XML ตัว RSS นี้อาจมีเตรียมไว้ให้เราโดยอัตโนมัติ ขึ้นอยู่กับ Blogware หรือ
Blog Hostที่เราเลือกใช้ เช่น WordPress หรือ MovableType นั้นจะมี RSS ลิงค์ไว้ให้เราโดย
อัตโนมัติ โดยเจ้า RSS Feed นี้จะช่วยให้ผู้อ่านเข้าถึงบทความของเราได้ง่ายขึ้น โดยการใช้
โปรแกรมช่วยอ่าน Feed ได้ด้วย บางครั้งนักเขียน Blog คนอื่น ก็อาจใช้ RSS Feed นี้เพื่อ
ประโยชน์ในการดึงข้อมูลไปแสดงในเว็บ หรือบล็อกของตนได้
7 เทคนิคของการสร้าง Blog
ถ้าต้องการสร้างบล็อกให้เป็นอย่างมืออาชีพ คุณต้องไม่ลืมที่จะใส่ใจในสิ่งเหล่านี้
1. ใส่ใจกับรูปแบบดีไซน์ของ blog ลองสังเกตดูง่าย ๆ สาหรับบล็อกชั้นนาของโลก ต่างก็ไม่ได้
ใช้ template แจกฟรีที่มีกันทั่วไป แต่บล็อกชั้นนาเหล่านี้ ต่างก็ออกแบบดีไซน์ของบล็อกขึ้นมา
เองทั้งหมด ทาให้บล็อกนั้นดูมีความแตกต่าง และมีความเป็นมืออาชีพมากยิ่งขึ้น
2. ใส่ใจกับเนื้อหาของบล็อก ก่อนที่คุณจะสร้างบล็อกขึ้นมาซักแห่งหนึ่ง ลองวางแนวทางของ
เนื้อหาในบล็อกดูก่อน ว่าเราต้องการจะนาเสนอบทความรูปแบบไหน เราจะมีวิธีนาเสนอไป
ในทางใด สิ่งเหล่านี้ จะทาให้คุณไม่หลุดประเด็น จากที่คุณตั้งใจไว้ตั้งแต่แรก เช่น บล็อกของ
keng.com ต้องการจะเป็น บล็อกที่นาเสนอข้อมูลด้านการทาบล็อก ดังนั้นควรวางแนวทางไว้ว่า
ต้องมีข่าวสารวงการบล็อกทั่วโลก มาให้ผู้อ่านได้อ่านกัน และยังต้องมีเทคนิคการทาบล็อก
สาหรับมือใหม่ เช่นบทความเรื่อง “blog คืออะไร?” และมีเทคนิคสาหรับขั้นผู้เชี่ยวชาญ เช่นการ
ใส่ Tag หรือการ Ping ไปยัง blog search engine เป็นต้น ตัวอย่างข้างต้น ดังเช่นตัวอย่างบทความ
ที่ได้เขียนขึ้นมาเหล่านี้ เป็นแนวทาง ในการกาหนดทิศทางของบล็อก
3. ใส่ใจผู้อ่าน มากกว่าใส่ใจตัวเอง เนื้อหาของบล็อกเป็นสิ่งที่ผู้อ่านใส่ใจใคร่รู้ ไม่ใช่ป้ายโฆษณา
ที่เราวางระเกะระกะในเว็บไซต์แต่อย่างใด ดังนั้นการจัดรูปแบบโฆษณา ต้องคานึงถึงจิตใจ
ผู้อ่านด้วย ว่าถ้าเป็นเราเอง ไปอ่านบล็อกคนอื่น แล้วมีโฆษณามาเกะกะในตัวบทความ เราชอบ
หรือไม่ โดยทั่วไปแล้ว ถ้าบทความของเราเขียนได้ดี ผู้อ่านก็จะมาอ่านซ้าแล้วซ้าอีก และอาจมี
ผู้อ่านมากขึ้นทุก ๆ วัน หลังจากนั้นแล้ว รายได้จากค่าโฆษณาจะตามมาเอง โดยที่เราไม่ต้องไป
ใส่โฆษณา แทรกลงไปในตัวบทความอีกด้วย
4. ใส่ใจ comment ที่มีเข้ามา บล็อกสามารถใช้ประโยชน์ของการสื่อสาร ได้ด้วยระบบ comment
ในตัวเอง ซึ่งโปรแกรมสร้างบล็อก (Blogware)ส่วนใหญ่ มีระบบ comment ติดมาให้ด้วยอยู่
แล้ว ลองใช้ระบบนี้ให้เกิดประโยชน์ ไม่ว่าจะเป็นการอ่าน commentการตอบ commentต่าง ๆ
บางครั้งเราอาจได้ประโยชน์จากการดึงประเด็นเด็ด ๆ จาก comment มาใช้เขียนบทความก็
เป็นได้ ดังนั้น ทุก ๆ วันควรที่จะตรวจสอบว่ามี comment ใดเข้ามาบ้าง เพื่อที่จะได้ตอบได้
ทันท่วงที เมื่อเราตอบได้เร็ว ผู้อ่านมีอารมณ์ร่วมในการสื่อสาร ทั้งสองฝ่ายก็แฮปปี้ และจุดสาคัญ
อีกอย่างหนึ่งถ้าเราตรวจสอบ commentทุกวันก็คือ เราสามารถลบพวก spam commentออกได้
อย่างทันควันไงครับ
5. ใส่ใจในมาตรฐานของเว็บไซต์ ไม่มีใครรู้ว่าบล็อกของเราจะมีคนเข้ามาอ่านมากแค่ไหน
บางครั้งเราอาจต้องมีการปรับปรุงเว็บไซต์ หรือบางครั้งเราอาจต้องมีการปรับแต่งดีไซน์ เพื่อ
รองรับการขยายตัวอย่างที่เราไม่คาดฝัน ลองมองไปถึงการดีไซน์บล็อกด้วย มาตรฐานของ
เว็บไซต์ (Web Standard)ซึ่งจะสามารถทาให้บล็อกของเรา แสดงผลได้ดีในทุก ๆ browserและ
ลองพยายามใช้ css ในทุก ๆ ส่วนที่คุณทาได้ เพราะตัว cssนี้มีความยืดหยุ่นสูง ถ้าเราต้องมีการ
เปลี่ยนแปลงดีไซน์ต่าง ๆ เราจะได้ปรับเฉพาะแค่ไฟล์ css แทนที่จะไปแก้html ในแต่ละหน้า
ลองนึกดูว่า ถ้าวันใดที่มีบทความประมาณ 1,000 บทความ แต่ต้องมานั่งแก้สีของกรอบรูปภาพ
ที่เคยเขียนโค๊ดใส่ borderเข้าไปที่โค๊ดของรูปภาพโดยตรง แทนที่จะแก้ไขที่ไฟล์ css แค่บรรทัด
เดียว
6. จัดตารางเวลาในการเขียนให้เหมาะสม เมื่อตอนเริ่มเขียนบล็อก อาจใช้เวลาไม่มากนักในการ
เขียนบทความ แต่เมื่อเขียนมากขึ้นเรื่อย ๆ จากวันเป็นเดือน จากเดือนเป็นปี แน่นอนว่าคงต้องมี
การกระทบกับเวลาการทางานอื่น ๆ เช่นกัน ดังนั้นลองจัดสรรเวลาสาหรับเขียนบล็อก อาจจะ
ตื่นเช้าสักหน่อย ใช้เวลาในช่วงเช้าก่อนไปทางาน เขียนบทความสักหนึ่งตอนหรือจะเขียน
บทความในช่วงดึก ๆ ก่อนนอนก็ได้ ตรงนี้แล้วแต่คน ว่าจะสะดวกแบบไหน หรือมีเวลาว่างใน
ตอนอื่น ๆ ลองปรับให้เหมาะสมกับตัวเอง
7. ใส่ใจเรื่องขนาดของภาพประกอบบทความ ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่งฉันท์ใด บล็อก
ย่อมงามเพราะดีไซน์และภาพประกอบ ลองทาความรู้จักกับรูปแบบของไฟล์ภาพชนิดต่าง ๆ
เช่นไฟล์ที่มีนามสกุลเป็น .gif นั้น สามารถแสดงผลได้สูงสุด 256 สี แต่ไฟล์ภาพที่เป็นนามสกุล
.jpg นั้นสามารถแสดงผลได้สูงสุด 16ล้านสี ดังนั้นการเลือกที่จะเซฟภาพเป็นไฟล์นามสกุล
อะไรนั้น เป็นสิ่งจาเป็นอย่างมาก เพราะหากเลือกชนิดไฟล์ผิด ภาพที่ออกมาจะไม่สวย และไฟล์
อาจมีขนาดใหญ่ผิดปกติ นั่นจะเป็นสิ่งที่กินทรัพยากรของระบบ และบล็อกมากขึ้นไปอีก เพราะ
ถ้ามีผู้อ่านเยอะ แต่ต้องรอโหลดภาพที่ใหญ่ผิดปกติ ผู้อ่านบางท่านอาจจะเลิกรอเลย วิธีง่าย ๆ ใน
การเซฟภาพมีดังนี้ หากเป็นภาพถ่าย แนะนาให้ใช้เป็น jpg ส่วนถ้าเป็นไฟล์โลโก้ หรือภาพที่มี
จานวนสีน้อย ๆ ลองใช้เป็น gif

More Related Content

What's hot (6)

ความหมาย Blog
ความหมาย Blogความหมาย Blog
ความหมาย Blog
 
Comsoee
ComsoeeComsoee
Comsoee
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
Wp
WpWp
Wp
 
เขียนบล็อกบน facebook.pdf
เขียนบล็อกบน facebook.pdfเขียนบล็อกบน facebook.pdf
เขียนบล็อกบน facebook.pdf
 

Viewers also liked

แผนสินค้าการเกษตร
แผนสินค้าการเกษตรแผนสินค้าการเกษตร
แผนสินค้าการเกษตรdongdiamond
 
Fortifying-the-close-to-disclose-process
Fortifying-the-close-to-disclose-processFortifying-the-close-to-disclose-process
Fortifying-the-close-to-disclose-processBill Velasco
 
Sustainable Architectures
Sustainable Architectures Sustainable Architectures
Sustainable Architectures MrsAlways RigHt
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ktiz0123
 

Viewers also liked (6)

1113016100053 mazidah qurrotuaini
1113016100053 mazidah qurrotuaini1113016100053 mazidah qurrotuaini
1113016100053 mazidah qurrotuaini
 
แผนสินค้าการเกษตร
แผนสินค้าการเกษตรแผนสินค้าการเกษตร
แผนสินค้าการเกษตร
 
Fortifying-the-close-to-disclose-process
Fortifying-the-close-to-disclose-processFortifying-the-close-to-disclose-process
Fortifying-the-close-to-disclose-process
 
Sustainable Architectures
Sustainable Architectures Sustainable Architectures
Sustainable Architectures
 
1113016100053 mazidah qurrotuaini
1113016100053 mazidah qurrotuaini1113016100053 mazidah qurrotuaini
1113016100053 mazidah qurrotuaini
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to Blogger (20)

Worksheet 2 ความรู้เรื่อง blog
Worksheet 2 ความรู้เรื่อง blogWorksheet 2 ความรู้เรื่อง blog
Worksheet 2 ความรู้เรื่อง blog
 
Blog คืออะไร
Blog คืออะไรBlog คืออะไร
Blog คืออะไร
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Blogger คืออะไร
Blogger คืออะไรBlogger คืออะไร
Blogger คืออะไร
 
ความรู้เรื่อง บล็อก
ความรู้เรื่อง บล็อกความรู้เรื่อง บล็อก
ความรู้เรื่อง บล็อก
 
ใบงานที่ 2-blog (1)
ใบงานที่ 2-blog (1)ใบงานที่ 2-blog (1)
ใบงานที่ 2-blog (1)
 
ความรู้เรื่อง Blog
ความรู้เรื่อง Blogความรู้เรื่อง Blog
ความรู้เรื่อง Blog
 
Work2
Work2Work2
Work2
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
ความรู้เรื่อง Blog 33
ความรู้เรื่อง Blog 33ความรู้เรื่อง Blog 33
ความรู้เรื่อง Blog 33
 
ความรู้เรื่อง Blog
ความรู้เรื่อง Blogความรู้เรื่อง Blog
ความรู้เรื่อง Blog
 
Work3 605 11
Work3 605 11Work3 605 11
Work3 605 11
 
Pittakamon 605 11
Pittakamon 605 11Pittakamon 605 11
Pittakamon 605 11
 
บล็อกคืออะไร
บล็อกคืออะไรบล็อกคืออะไร
บล็อกคืออะไร
 
Blog คืออะไร
Blog คืออะไรBlog คืออะไร
Blog คืออะไร
 
1111
11111111
1111
 
blogger
bloggerblogger
blogger
 
blogger
bloggerblogger
blogger
 

Blogger

  • 1. Blogger Blog มาจากศัพท์คาว่า WeBlog บางคนอ่านคา ๆ นี้ว่า We Blog บางคนอ่านว่าWeb Log แต่ ทั้งนี้ทั้งนั้น ทั้งสองคาบ่งบอกถึงความหมายเดียวกัน ว่านั่นคือบล็อก (Blog) ความหมายของคาว่า Blog ก็คือการบันทึกบทความของตนเอง (Personal Journal) ลงบน เว็บไซต์ โดยเนื้อหาของ blog นั้นจะครอบคลุมได้ทุกเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องราวส่วนตัว หรือเป็น บทความเฉพาะด้านต่าง ๆ เช่น เรื่องการเมือง เรื่องกล้องถ่ายรูป เรื่องกีฬา เรื่องธุรกิจ เป็นต้น โดยจุดเด่นที่ทาให้บล็อกเป็นที่นิยมก็คือ ผู้เขียนบล็อก จะมีการแสดงความคิดเห็นของตนเองใส่ ลงไปในบทความนั้น ๆ โดยบล็อกบางแห่ง จะมีอิทธิพลในการโน้มน้าวจิตใจผู้อ่านสูงมาก แต่ ในขณะเดียวกัน บางบล็อกก็จะเขียนขึ้นมาเพื่อให้อ่านกันในกลุ่มเฉพาะ เช่นกลุ่มเพื่อน ๆ หรือ ครอบครัวตนเอง มีหลายครั้งที่เกิดความเข้าใจกันผิดว่า Blog เป็นได้แค่ไดอารี่ออนไลน์ แต่ในความเป็นจริงแล้ว ไดอารี่ออนไลน์เปรียบเสมือน เนื้อหาประเภทหนึ่งของบล็อกเท่านั้น เพราะบล็อกมีเนื้อหาที่ หลากหลายประเภท ตั้งแต่การบันทึกเรื่องส่วนตัวอย่างเช่นไดอารี่ หรือการบันทึกบทความที่ ผู้เขียนบล็อกสนใจในด้านอื่นด้วย ที่เห็นชัดเจนคือ เนื้อหาบล็อกประเภท วิจารณ์การเมือง หรือ การรีวิวผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ตัวเองเคยใช้ หรือซื้อมานั่นเอง อีกทั้งยังสามารถแตกแขนงไปใน เนื้อหาในประเภทต่าง ๆ อีกมากมาย ตามแต่ที่เจ้าของบล็อกจะเป็นคนที่ถนัดในด้านไหน ก็ มักจะเขียนบทความเรื่องที่ตนเองถนัด หรือสนใจเป็นต้น และจุดเด่นที่สุดของ Blog ก็คือ มันสามารถเป็นเครื่องมือสื่อสารชนิดหนึ่ง ที่สามารถสื่อถึงความ เป็นกันเองระหว่างผู้เขียนบล็อก และผู้อ่านบล็อกที่เป็นกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจนของบล็อกนั้น ๆ ผ่านทางระบบ comment ของบล็อกนั่นเอง ในอดีตแรกเริ่ม คนที่เขียน Blog นั้นยังทากันในระบบ Manualคือเขียนเว็บเองทีละหน้า แต่ใน ปัจจุบันนี้ มีเครื่องมือหรือซอฟท์แวร์ให้เราใช้ในการเขียน Blog ได้มากมาย เช่น WordPress, Movable Type เป็นต้น ผู้คนหลายล้านคนจากทั่วทุกมุมโลก หันมาเขียน Blog กันอย่างแพร่หลาย ตั้งแต่นักเรียน อาจารย์ นักเขียน ตลอดจนถึงระดับบริษัทยักษ์ใหญ่ในตลาดหุ้น NasDaq
  • 2. เมื่อสองสามปีที่ผ่านมา Blog เริ่มต้นมาจากการเขียนเป็นงานอดิเรกของกลุ่มสื่ออิสระต่าง ๆ หลาย ๆ แห่งกลายเป็นแหล่งข่าวสาคัญให้กับหนังสือพิมพ์หรือสานักข่าวชั้นนา จวบจนกระทั่งปี 2004 คนเขียน Blog ก็ได้รับการยอมรับจากสื่อและสานักข่าวต่าง ๆ ถึงความรวดเร็วในการให้ ข้อมูลตั้งแต่เรื่องการเมืองไปจนกระทั่งเรื่องราวของการประชุมระดับชาติ และจากเหตุการณ์เหล่านี้ นับได้ว่า Blog เป็นสื่อชนิดหนึ่งที่ไม่ต่างจาก วีดีโอ , สิ่งพิมพ์ , โทรทัศน์ หรือแม้กระทั่งวิทยุ เราสามารถเรียกได้ว่า Blog ได้เข้ามาเป็นสื่อชนิดใหม่ที่สาคัญ อย่างแท้จริง สรุปให้ง่าย ๆ สั้น ๆ ก็คือ Blog คือเว็บไซต์ที่มีรูปแบบเนื้อหาเป็นเหมือนบันทึกส่วนตัวออนไลน์ มีส่วนของการcommentsและก็จะมีlink ไปยังเว็บอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องอีกด้วย โครงสร้างของ Blog มาดูเรื่องกายวิภาคของ Blog กันดีกว่า ว่า blog นั้นมีส่วนประกอบที่สาคัญอะไรบ้าง จะได้รู้ว่า เราจะใช้ประโยชน์จากส่วนต่าง ๆ ของ blog นั้นได้อย่างเต็มที่ 1. ชื่อบล็อก (Blog Title) ส่วนของBlog Title นี้ก็จะเป็นชื่อบล็อกนั้น ๆ ครับ 2. แท็กไลน์ (Subtitle หรือ Tag line)ตรงส่วนนี้จะเป็นคาจากัดความของเว็บ หรือสโลแกนเก๋ ๆ ที่ใช้อธิบายถึงตัวบล็อกโดยรวม โดยตัวแท็กไลน์นี้ จะมีก็ได้ หรือไม่มีก็ได้ เพราะมันไม่สาคัญ เท่ากับชื่อบล็อกครับ 3. วันที่และเวลา (Date & Time Stamp)เป็นวันที่ และบางทีอาจมีเวลากากับอยู่ด้วย ตัววันที่และ เวลานี้ จะเป็นตัวบอกว่าบทความในบล็อกนั้นเขียนขึ้นมาเมื่อไหร่ บางครั้งอาจมีวันที่ระบุอยู่ใน ส่วนของcommentด้วย ซึ่งจะเป็นการบ่งบอกว่าcommentนั้นเขียนเข้ามาเมื่อไหร่เช่นกัน 4. ชื่อบทความ (Entry Title)ชื่อเรื่องของบทความที่เขียนในบล็อก 5. ตัวเนื้อหาบทความ (Entry’s Main Body)อาจเป็นตัวหนังสือ หรืออาจเป็นรูปภาพ วีดีโอ หรืออ นิเมชั่น เป็นต้น โดยส่วนประกอบเหล่านี้จะรวมเป็นส่วนเนื้อหาของบทความ
  • 3. 6. ชื่อผู้เขียน (Blog Author)บางบล็อก อาจมีการระบุชื่อผู้เขียนไว้ในบล็อกด้วยครับ โดย ตาแหน่งที่จะใส่ชื่อผู้เขียนนั้น สามารถไว้ที่ตาแหน่งใดก็ได้ เช่นด้านข้าง (sidebar) หรืออยู่ในตัว บทความก็ได้ 7. คอมเม้นต์ (Comment tag)เป็นลิงค์ที่ให้ผู้อ่านคลิกไปเพื่อกรอกคอมเม้นต์ให้กับบล็อกนั้น ๆ ได้ 8. ลิงค์ถาวร (Permalink)เรียกชื่อไทยแล้วเขิ้นเขิน เราสามารถเรียกทับศัพท์ก็ได้ครับว่า เพอร์มา ลิ้งค์ เจ้าลิงค์ตัวนี้คือลิงค์ที่ไปหา url ของบทความนั้น ๆ โดยตรงครับ มีประโยชน์สาหรับ bloggerคนอื่น ๆ ที่อยากจะทาลิงค์หาบทความของเราโดยตรง ก็จะสามารถหา permalink ได้ อย่างง่ายดายครับ โดย urlของ permalink นี้จะไม่เปลี่ยนไปตามวันและเวลาเหมือน link ของ หน้าแรกของบล็อกที่บทความจะเปลี่ยนไปเรื่อย ๆ ครับ นี่แหละครับที่เค้าเรียกว่า ลิงค์ถาวร 9. ปฎิทิน (Calendar)บล็อกบางแห่งอาจมีปฎิทินอยู่ด้วย โดยในปฎิทินนั้นสามารกคลิกตามวันที่ เพื่ออ่านบทความของวันที่นั้น ๆ ได้สะดวกครับ 10. บทความย้อนหลัง (Archives)บทความเก่า หรือบทความย้อนหลัง อาจมีการจัดเตรียมไว้โดย เจ้าของบล็อก โดยบล็อกแต่ละแห่งอาจจัดเรียงบทความย้อนหลัง ไม่เหมือนกัน เช่นจัดเรียงราย เดือน รายสัปดาห์ รายวัน หรือจะ list บทความทั้งหมดออกมาเลยก็ได้ 11. ลิงค์ไปยังเว็บอื่น (Links)เป็นจุดเด่นและความสนุกของบล็อกอีกอย่างหนึ่งเลยทีเดียวครับ โดยบล็อกแต่ละแห่ง อาจมีลิงค์ไปยังเว็บอื่นหลากหลายเว็บ บางครั้งเราสามารถเรียก link พวกนี้ ว่า blogroll ก็ได้ครับ 12. RSS หรือ XML ตัว RSS นี้อาจมีเตรียมไว้ให้เราโดยอัตโนมัติ ขึ้นอยู่กับ Blogware หรือ Blog Hostที่เราเลือกใช้ เช่น WordPress หรือ MovableType นั้นจะมี RSS ลิงค์ไว้ให้เราโดย อัตโนมัติ โดยเจ้า RSS Feed นี้จะช่วยให้ผู้อ่านเข้าถึงบทความของเราได้ง่ายขึ้น โดยการใช้ โปรแกรมช่วยอ่าน Feed ได้ด้วย บางครั้งนักเขียน Blog คนอื่น ก็อาจใช้ RSS Feed นี้เพื่อ ประโยชน์ในการดึงข้อมูลไปแสดงในเว็บ หรือบล็อกของตนได้ 7 เทคนิคของการสร้าง Blog
  • 4. ถ้าต้องการสร้างบล็อกให้เป็นอย่างมืออาชีพ คุณต้องไม่ลืมที่จะใส่ใจในสิ่งเหล่านี้ 1. ใส่ใจกับรูปแบบดีไซน์ของ blog ลองสังเกตดูง่าย ๆ สาหรับบล็อกชั้นนาของโลก ต่างก็ไม่ได้ ใช้ template แจกฟรีที่มีกันทั่วไป แต่บล็อกชั้นนาเหล่านี้ ต่างก็ออกแบบดีไซน์ของบล็อกขึ้นมา เองทั้งหมด ทาให้บล็อกนั้นดูมีความแตกต่าง และมีความเป็นมืออาชีพมากยิ่งขึ้น 2. ใส่ใจกับเนื้อหาของบล็อก ก่อนที่คุณจะสร้างบล็อกขึ้นมาซักแห่งหนึ่ง ลองวางแนวทางของ เนื้อหาในบล็อกดูก่อน ว่าเราต้องการจะนาเสนอบทความรูปแบบไหน เราจะมีวิธีนาเสนอไป ในทางใด สิ่งเหล่านี้ จะทาให้คุณไม่หลุดประเด็น จากที่คุณตั้งใจไว้ตั้งแต่แรก เช่น บล็อกของ keng.com ต้องการจะเป็น บล็อกที่นาเสนอข้อมูลด้านการทาบล็อก ดังนั้นควรวางแนวทางไว้ว่า ต้องมีข่าวสารวงการบล็อกทั่วโลก มาให้ผู้อ่านได้อ่านกัน และยังต้องมีเทคนิคการทาบล็อก สาหรับมือใหม่ เช่นบทความเรื่อง “blog คืออะไร?” และมีเทคนิคสาหรับขั้นผู้เชี่ยวชาญ เช่นการ ใส่ Tag หรือการ Ping ไปยัง blog search engine เป็นต้น ตัวอย่างข้างต้น ดังเช่นตัวอย่างบทความ ที่ได้เขียนขึ้นมาเหล่านี้ เป็นแนวทาง ในการกาหนดทิศทางของบล็อก 3. ใส่ใจผู้อ่าน มากกว่าใส่ใจตัวเอง เนื้อหาของบล็อกเป็นสิ่งที่ผู้อ่านใส่ใจใคร่รู้ ไม่ใช่ป้ายโฆษณา ที่เราวางระเกะระกะในเว็บไซต์แต่อย่างใด ดังนั้นการจัดรูปแบบโฆษณา ต้องคานึงถึงจิตใจ ผู้อ่านด้วย ว่าถ้าเป็นเราเอง ไปอ่านบล็อกคนอื่น แล้วมีโฆษณามาเกะกะในตัวบทความ เราชอบ หรือไม่ โดยทั่วไปแล้ว ถ้าบทความของเราเขียนได้ดี ผู้อ่านก็จะมาอ่านซ้าแล้วซ้าอีก และอาจมี ผู้อ่านมากขึ้นทุก ๆ วัน หลังจากนั้นแล้ว รายได้จากค่าโฆษณาจะตามมาเอง โดยที่เราไม่ต้องไป ใส่โฆษณา แทรกลงไปในตัวบทความอีกด้วย 4. ใส่ใจ comment ที่มีเข้ามา บล็อกสามารถใช้ประโยชน์ของการสื่อสาร ได้ด้วยระบบ comment ในตัวเอง ซึ่งโปรแกรมสร้างบล็อก (Blogware)ส่วนใหญ่ มีระบบ comment ติดมาให้ด้วยอยู่ แล้ว ลองใช้ระบบนี้ให้เกิดประโยชน์ ไม่ว่าจะเป็นการอ่าน commentการตอบ commentต่าง ๆ บางครั้งเราอาจได้ประโยชน์จากการดึงประเด็นเด็ด ๆ จาก comment มาใช้เขียนบทความก็ เป็นได้ ดังนั้น ทุก ๆ วันควรที่จะตรวจสอบว่ามี comment ใดเข้ามาบ้าง เพื่อที่จะได้ตอบได้ ทันท่วงที เมื่อเราตอบได้เร็ว ผู้อ่านมีอารมณ์ร่วมในการสื่อสาร ทั้งสองฝ่ายก็แฮปปี้ และจุดสาคัญ อีกอย่างหนึ่งถ้าเราตรวจสอบ commentทุกวันก็คือ เราสามารถลบพวก spam commentออกได้ อย่างทันควันไงครับ 5. ใส่ใจในมาตรฐานของเว็บไซต์ ไม่มีใครรู้ว่าบล็อกของเราจะมีคนเข้ามาอ่านมากแค่ไหน บางครั้งเราอาจต้องมีการปรับปรุงเว็บไซต์ หรือบางครั้งเราอาจต้องมีการปรับแต่งดีไซน์ เพื่อ
  • 5. รองรับการขยายตัวอย่างที่เราไม่คาดฝัน ลองมองไปถึงการดีไซน์บล็อกด้วย มาตรฐานของ เว็บไซต์ (Web Standard)ซึ่งจะสามารถทาให้บล็อกของเรา แสดงผลได้ดีในทุก ๆ browserและ ลองพยายามใช้ css ในทุก ๆ ส่วนที่คุณทาได้ เพราะตัว cssนี้มีความยืดหยุ่นสูง ถ้าเราต้องมีการ เปลี่ยนแปลงดีไซน์ต่าง ๆ เราจะได้ปรับเฉพาะแค่ไฟล์ css แทนที่จะไปแก้html ในแต่ละหน้า ลองนึกดูว่า ถ้าวันใดที่มีบทความประมาณ 1,000 บทความ แต่ต้องมานั่งแก้สีของกรอบรูปภาพ ที่เคยเขียนโค๊ดใส่ borderเข้าไปที่โค๊ดของรูปภาพโดยตรง แทนที่จะแก้ไขที่ไฟล์ css แค่บรรทัด เดียว 6. จัดตารางเวลาในการเขียนให้เหมาะสม เมื่อตอนเริ่มเขียนบล็อก อาจใช้เวลาไม่มากนักในการ เขียนบทความ แต่เมื่อเขียนมากขึ้นเรื่อย ๆ จากวันเป็นเดือน จากเดือนเป็นปี แน่นอนว่าคงต้องมี การกระทบกับเวลาการทางานอื่น ๆ เช่นกัน ดังนั้นลองจัดสรรเวลาสาหรับเขียนบล็อก อาจจะ ตื่นเช้าสักหน่อย ใช้เวลาในช่วงเช้าก่อนไปทางาน เขียนบทความสักหนึ่งตอนหรือจะเขียน บทความในช่วงดึก ๆ ก่อนนอนก็ได้ ตรงนี้แล้วแต่คน ว่าจะสะดวกแบบไหน หรือมีเวลาว่างใน ตอนอื่น ๆ ลองปรับให้เหมาะสมกับตัวเอง 7. ใส่ใจเรื่องขนาดของภาพประกอบบทความ ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแต่งฉันท์ใด บล็อก ย่อมงามเพราะดีไซน์และภาพประกอบ ลองทาความรู้จักกับรูปแบบของไฟล์ภาพชนิดต่าง ๆ เช่นไฟล์ที่มีนามสกุลเป็น .gif นั้น สามารถแสดงผลได้สูงสุด 256 สี แต่ไฟล์ภาพที่เป็นนามสกุล .jpg นั้นสามารถแสดงผลได้สูงสุด 16ล้านสี ดังนั้นการเลือกที่จะเซฟภาพเป็นไฟล์นามสกุล อะไรนั้น เป็นสิ่งจาเป็นอย่างมาก เพราะหากเลือกชนิดไฟล์ผิด ภาพที่ออกมาจะไม่สวย และไฟล์ อาจมีขนาดใหญ่ผิดปกติ นั่นจะเป็นสิ่งที่กินทรัพยากรของระบบ และบล็อกมากขึ้นไปอีก เพราะ ถ้ามีผู้อ่านเยอะ แต่ต้องรอโหลดภาพที่ใหญ่ผิดปกติ ผู้อ่านบางท่านอาจจะเลิกรอเลย วิธีง่าย ๆ ใน การเซฟภาพมีดังนี้ หากเป็นภาพถ่าย แนะนาให้ใช้เป็น jpg ส่วนถ้าเป็นไฟล์โลโก้ หรือภาพที่มี จานวนสีน้อย ๆ ลองใช้เป็น gif