SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
BIPOLAR
ชือโครงงาน : โรคไบโพลาร์
ประเภทโครงงาน : พัฒนาเพือการศึกษา
ผู้จัดทํา
นางสาว สาธิณี เลามุ่ง เลขที18
นาย ณัฐชนนท์ กันทา เลขที 38
ครูทีปรึกษา
ครู เขือนทอง มูลวรรณ์
PRESENTATIOM TOPICS
-วัตถุประสงค์
-ทีมาและความสําคัญ
-ระยะของโรคไบโพลาร์
-สาเหตุ
-อาการ
-แนวทางการรักษา
-ผลทีคาดว่าจะได้รับ
วัตถุประสงค์
เพือใช้เปนแนวทางการศึกษาสําหรับผู้
ทีอยากมีความรู้เกียวกับโรคไบโพลาร์
และตรวจสอบว่าเราเข้าข่ายอาการของ
โรคนีรึเปล่า
ทีมาและความสําคัญ
โรคไบโพลาร์ เปนโรคทีคนยุคใหม่เปน
โดยไม่รู้ตัวเนืองจากแรงกดดัน สังคม
แวดล้อมลักษณะโรคคือการทีคนคน
หนึงมีอารมณ์สองขัว ถ้ามีความสุขก็จะ
มีจนทีสุด ถ้าเศร้าก็เศร้าแบบโรคซึม
เศร้า ผู้ปวยส่วนมากมีปญหาเกียวกับ
อารมณ์ ผู้จัดทําโครงงานจึงตังใจจะนํา
เสนอให้รู้จักเกียวกับโรคนีมากขึน เพือ
เข้าใจ และรับมือกับผู้ปวยได้
โรคอารมณ์แปรปรวนสองขัว (BIPOLAR DISORDER) คือ อะไรโรคอารมณ์
แปรปรวนสองขัว หรือโรคไบโพลาร์ (BIPOLAR DISORDER) เปนความผิด
ปกติทางอารมณ์อย่างหนึง ซึงผู้ปวยทีเปนโรคนีจะมีลักษณะอารมณ์ที
เปลียนแปลงไปมา ระหว่างอารมณ์ซึมเศร้า (MAJOR DEPRESSIVE
EPISODE) สลับกับช่วงทีอารมณ์ดีมากกว่าปกติ (MANIA หรือ
HYPOMANIA) โดยอาการในแต่ละช่วงอาจเปนอยู่นานเปนสัปดาห์ หรือ
หลาย ๆ เดือนก็ได้ ซึงอาการเหล่านีจะส่งผลกระทบต่อการดําเนินชีวิตของผู้
ปวยทังในด้านการงาน การประกอบอาชีพ ความสัมพันธ์กับบุคคลอืน และ
การดูแลตนเองอย่างมาก ทําให้ไม่สามารถดําเนินชีวิตประจําวันได้อย่างเปน
ปกติ 
BIPOLAR DISORDER อาจแบ่งกลุ่มกว้าง ๆ ออกได้เปนBIPOLAR
I DISORDER คือ มีอาการเมเนีย สลับกับช่วงซึมเศร้า หรืออาจมี
อาการเมเนียเพียงอย่างเดียวก็ได้BIPOLAR II DISORDER คือ มี
อาการซึมเศร้า สลับกับช่วงไฮโปเมเนีย (HYPOMANIA)พบว่าความ
ชุกชัวชีวิตของ BIPOLAR DISORDER นีโดยรวมทีสํารวจใน
ประชากรทัวไป พบได้สูงถึงร้อยละ 1.5 -5 ซึงอัตราการเกิดโรคครัง
แรกพบบ่อยทีสุดทีช่วงอายุ 15-19 ป และรองลงมา คือ อายุ 20-24
ป โดยกว่าครึงหนึงของผู้ปวยจะมีอาการครังแรกก่อนอายุ 20
ป นอกจากนี BIPOLAR DISORDER ถือเปนโรคทีมีการดําเนินโรค
ในระยะยาวเรือรัง และเปนโรคทีมีโอกาสกลับเปนซําได้สูง ประมาณ
70-90%
ระยะของโรคไบโพลาร์
3 ระยะ
MAJOR
DEPRESSIVE
EPISODE
A. มีอาการดังต่อไปนีห้าอาการ (หรือมากกว่า) ร่วมกันอยู่นาน 2
สัปดาห์ และแสดงถึงการเปลียนแปลงในด้านต่าง ๆ ไปจากแต่ก่อน:
โดยมีอาการอย่างน้อยหนึงข้อของ
(1) อารมณ์ซึมเศร้า
(2) เบือหน่าย ไม่มีความสุขมีอารมณ์ซึมเศร้าเปนส่วนใหญ่ของวัน
แทบทุกวัน โดยได้จากการบอกเล่าของผู้ปวย (เช่น รู้สึกเศร้า หรือว่าง
เปล่า) หรือจากการสังเกตของผู้อืน (เช่น เห็นว่าร้องให้)
หมายเหตุ: ในเด็กและวัยรุ่นเปนอารมณ์หงุดหงิดก็ได้ความสนใจหรือ
ความสุขใจในกิจกรรมต่าง ๆ ทังหมดหรือแทบทังหมดลดลงอย่างมาก
เปนส่วนใหญ่ของวัน แทบทุกวัน (โดยได้จากการบอกเล่าของผู้ปวย
หรือจากการสังเกตของผู้อืน
3)นําหนักลดลงโดยมิได้เปนจากการคุมอาหาร หรือเพิมขึนอย่างมี
ความสําคัญ (ได้แก่นําหนักเปลียนแปลงมากกว่าร้อยละ 5 ต่อเดือน)
หรือมีการเบืออาหารหรือเจริญอาหารแทบทุกวัน หมายเหตุ: ในเด็ก ดู
ว่านําหนักไม่เพิมขึนตามทีควรจะเปนนอนไม่หลับ หรือหลับมากไปแทบ
ทุกวันกระสับกระส่าย (psychomotor agitation) หรือ เชืองข้า
(retardation) แทบทุกวัน (จากการสังเกตของผู้อืน มิใช่เพียงจาก
ความรู้สึกของผู้ปวยว่ากระวนกระวายหรือช้าลง)
ManicEpisode
A. มีช่วงทีมีอารมณ์คึกคัก แสดงความรู้สึกโดยไม่รัง หรืออารมณ์หงุดหงิดทีผิด
ปกติและคงอยู่ตลอดอย่างชัดเจนนานอย่างน้อย 1 สัปดาห์ (หรือนานเท่าใดก็ได้
หากต้องอยู่ในโรงพยาบาล)
 B. ในช่วงทีมีความผิดปกติด้านอารมณ์นี พบมีอาการดังต่อไปนีอยู่ตลอด อย่าง
น้อย 3 อาการ (หรือ 4 อาการหากมีเพียงอารมณ์หงุดหงิด) และอาการเหล่านี
รุนแรงอย่างมีความสําคัญ
D. ความผิดปกติด้านอารมณ์ทีเกิดขึนรุนแรงจนทําให้มีความบกพร่องอย่างมาก
ในด้านการงาน หรือกิจกรรมทางสังคมตามปกติ หรือสัมพันธภาพกับผู้อืน หรือ
ทําให้ต้องอยู่ในโรงพยาบาลเพือปองกันอันตรายต่อตนเองหรือผู้อืน หรือมี
อาการโรคจิต 
E. อาการมิได้เปนจากผลโดยตรงด้านสรีรวิทยาจากสาร (เช่น สารเสพติด ยา
หรือการรักษาอืน) หรือจากภาวะความเจ็บปวยทางกาย (เช่น ไทรอยด์เปนพิษ)
HYPOMANIC EPISODE
A. มีช่วงทีมีอารมณ์คึกคัก แสดงความรู้สึกโดยไม่รัง หรือ
อารมณ์หงุดหงิดทีผิดปกติและคงอยู่ตลอดอย่างชัดเจนนาน
อย่างน้อย 4 วัน โดยเห็นชัดว่าต่างจากช่วงอารมณ์ปกติทีไม่ซึม
เศร้า 
B. ในช่วงทีมีความผิดปกติด้านอารมณ์นี พบมีอาการดังต่อไปนี
อยู่ตลอด อย่างน้อย 3 อาการ (หรือสีอาการหากมีเพียงอารมณ์
หงุดหงิด) และอาการเหล่านีรุนแรงอย่างมีความสําคัญมีความ
เชือมันตัวเองเพิมขึนมาก หรือมีความคิดว่าตนยิงใหญ่ มีความ
สามารถ (grandiosity)ความต้องการนอนลดลง (เช่น ได้นอนแค่
3 ชัวโมงก็รู้สึกว่าเพียงพอแล้ว)พูดคุยมากกว่าปกติ หรือต้องการ
พูดอย่างไม่หยุดความคิดแล่น คิดมากหลายเรืองพร้อมๆ กัน
หรือผู้ปวยรู้สึกว่าความคิดแล่นเร็ววอกแวก (distractibility)
(ได้แก่ ถูกดึงความสนใจได้ง่าย แม้สิงเร้าภายนอกจะไม่สําคัญ
หรือไม่เกียวเนืองกับสิงทีสนใจอยู่ในขณะนัน)มีกิจกรรมซึงมีจุด
หมาย เพิมขึนมาก (ไม่ว่าจะเปนด้านสังคม การงานหรือการเรียน
หรือด้านเพศ) หรือ กระสับกระส่ายหมกมุ่นอย่างมากกับกิจกรรม
ทีทําให้เพลิดเพลิน แต่มีโอกาสสูงทีจะก่อให้เกิดความยุ่งยาก
ติดตามมา (เช่น ใช้จ่ายไม่ยัง ไม่ยับยังใจเรืองเพศ หรือลงทุนทํา
ธุรกิจอย่างโง่เขลา)
C. ระยะทีมีอาการมีความสัมพันธ์กับการเปลียนแปลงในด้านต่าง ๆ ซึงมิใช่
ลักษณะประจําของบุคคลนันขณะไม่มีอาการอย่างเห็นได้ชัด 
D. ผู้อืนสังเกตเห็นความผิดปกติด้านอารมณ์และการเปลียนแปลงในด้าน
ต่าง ๆ นี 
E. ระยะทีมีอาการไม่รุนแรงถึงกับทําให้กิจกรรมด้านสังคม หรือการงาน
บกพร่องลงมาก หรือทําให้ต้องอยู่โรงพยาบาล และไม่มีอาการโรคจิต 
F. อาการมิได้เปนจากผลโดยตรงด้านสรีรวิทยาจากสาร (เช่น สารเสพติด
ยา หรือการรักษาอืน) หรือจากภาวะความเจ็บปวยทางกาย (เช่น ไทรอยด์
เปนพิษ) หมายเหตุ: ระยะอาการคล้าย hypomania ทีเห็นชัดว่าเปนจากการ
รักษาทางกายภาพของภาวะซึมเศร้า (เช่น การใช้ยา การรักษาด้วยไฟฟา
การรักษาด้วยแสงสว่าง) ไม่ควรรวมอยู่ในการวินิจฉัยของ Bipolar II
Disorder
สาเหตุการเกิด?
ปจจุบันเชือว่าโรคไบโพลาร์เกิดได้จากหลายสาเหตุ อาทิ
พันธุกรรมทีผิดปกติทังทีเกิดจากการถ่ายทอดจาก
บรรพบุรุษและเกิดใหม่ช่วงเปนทารกในครรภ์ เนืองจากพบ
ว่าผู้ทีมีบุคคลในครอบครัวปวยด้วยโรคนีหรือโรคทางจิต
เวชอืนๆ จะมีโอกาสเปนโรคไบโพลาร์มากกว่าคนทัวไป
นอกจากนียังอาจเกิดจากการทํางานทีผิดปกติของสมอง
โดยมีสารสือประสาททีไม่สมดุล และจากสภาพแวดล้อม
ของผู้ปวย เช่น การเลียงดูในวัยเด็ก หรือความเครียดใน
ชีวิตประจําวันทีกระตุ้นให้โรคแสดงอาการ รวมถึงเกิดจาก
โรคบางอย่าง เช่น ความผิดปกติของไทรอยด์ฮอร์โมน
ปจจัยทางชีวภาพ
อาการของโรคไบโพลาร์จะ
เกิดขึนเมือมีสารสือประสา
ทนอร์อะดรีนาลีน เซโรโทนิน
และโดปามีน ในระดับทีไม่
สมดุลกัน ซึงจะทําให้มี
อารมณ์ดี อยู่ในภาวะร่าเริง
ผิดปกติ และจะมีภาวะซึม
เศร้า เบือหน่าย สลับกันไป
โดยสารสือประสาทในสมอง
ทีส่งผลต่อการเกิดโรคนี
ปจจัยทางกรรมพันธุ์ผู้ปวย
ไบโพลาร์มักมีญาติทีปวย
เปนโรคนีหรือโรคทีเกียวข้อง
กับความผิดปกติทาง
อารมณ์ โดยเฉพาะญาติทีมี
ความใกล้ชิดเชือมโยงกัน
ทางสายเลือดอย่างพ่อแม่ พี
หรือน้อง แม้จะยังไม่มีงาน
วิจัยสนับสนุนทีแน่ชัด แต่ก็
ยังคงมีการศึกษายีนส์ที
เกียวข้องกับการเกิดโรคนี
อยู่อย่างต่อเนือง
ปจจัยอืน ๆผู้ปวยอาจได้รับ
แรงกระตุ้นจากปจจัย
ภายนอกทีกระทบกระเทือน
ต่อสภาพจิตใจ เช่น ความผิด
หวัง ความเสียใจอย่าง
รุนแรงหรือฉับพลัน การเจ็บ
ปวยทางร่างกาย ปญหา
ความสัมพันธ์กับบุคคลใกล้
ชิด ความเครียดจากการ
เรียนและการทํางาน เปนต้น
ปจจัยทีทําให้เกิดโรค
การวินิจฉัย
ม่มีการตรวจพิเศษเพือช่วยในการวินิจฉัยโรคนี ข้อมูลหลักในการ
วินิจฉัยคือ การซักประวัติอาการ ความเปนไปของโรค ความเจ็บปวย
ทางจิตในญาติ การใช้ยาและสารต่างๆ หรือโรคประจําตัว เพราะยา
บางขนานหรือโรคทางร่างกายบางโรคอาจมีอาการทางจิตเหมือน
กับโรคอารมณ์สองขัวได้ แพทย์จะนําข้อมูลได้จากผู้ทีเปนและญาติ
ร่วมไปกับการตรวจร่างกายและตรวจสภาพจิตมาประมวลกันเพือ
การวินิจฉัย
ความเปนไปของโรค
อาการระยะเมเนียมักเกิดขึนเร็ว และเปนมากขึนเรือยๆ จนภายใน 2-3 สัปดาห์
อาการจะเต็มทีอารมณ์รุนแรง ก้าวร้าวจนญาติจะรับไม่ไหวต้องพามาโรงพยาบาล
อาการในครังแรกๆ จะเกิดหลังมีเรืองกดดัน แต่หากเปนหลายๆ ครังก็มักเปนขึน
มาเองโดยทีไม่มีปญหาอะไรมากระตุ้นเลย ข้อสังเกตประการหนึงคือคนทีอยู่ใน
ระยะเมเนียจะไม่คิดว่าตัวเองผิดปกติ มองว่าช่วงนีตัวเองอารมณ์ดีหรือใครๆ ก็
ขยันกันได้ ในขณะทีหากเปนระยะซึมเศร้าคนทีเปนจะพอบอกได้ว่าตนเองเปลียน
ไปจากเดิม ในระยะซึมเศร้าหากคนใกล้ชิดสนใจมักสังเกตไม่ยากเพราะเขาจะซึมลง
ดูอมทุกข์ แต่อาการแบบเมเนียจะบอกยากโดยเฉพาะในระยะแรกๆ ทีอาการยังไม่
มาก เพราะดูเหมือนเขาจะเปนแค่คนขยันอารมณ์ดีเท่านันเอง แต่ถ้าสังเกตจริงๆ
ก็จะเห็นว่าลักษณะแบบนีไม่ใช่ตัวตนของเขา เขาจะดู เวอร์ กว่าปกติไปมาก
ผู้ปวยไบโพลาร์จะมีอารมณ์แปรปรวนสลับกันระหว่าง
อารมณ์ดีหรือก้าวร้าวผิดปกติ กับอารมณ์ซึมเศร้าผิด
ปกติโดยไม่ขึนอยู่กับสถานการณ์ใดๆ ในช่วงทีอารมณ์
ซึมเศร้า ผู้ปวยมักเบือหน่าย ท้อแท้ ไม่อยากทําอะไร
อ่อนเพลีย มองทุกอย่างในแง่ลบ บางรายมีความคิด
อยากตายซึงอาจนําไปสู่การฆ่าตัวตายจริงๆ ได้
สําหรับช่วงทีอารมณ์ดีหรือก้าวร้าวผิดปกติ ผู้ปวยมักมี
อาการดังต่อไปนี คือรู้สึกว่าตนมีความสําคัญหรือมี
ความสามารถมากนอนน้อยกว่าปกติมาก โดยไม่มี
อาการเพลียหรือต้องการนอนเพิมพูดเร็ว พูดมาก พูด
ไม่ยอมหยุดความคิดแล่นเร็ว มีหลายความคิดเข้ามาใน
สมองสมาธิลดลง เปลียนความสนใจอย่างรวดเร็ว
ตอบสนองต่อสิงเร้าง่ายมีกิจกรรมมากผิดปกติ  แต่
มักทําได้ไม่ดีการตัดสินใจเสีย เช่น ใช้จ่ายเงินฟุมเฟอย
ทําเรืองทีเสียงอันตรายหรือผิดกฎหมาย ไม่ยับยังชังใจ
ในเรืองเพศ
อาการมีอะไรบ้าง ?
ระยะซึมเศร้า
ในระยะซึมเศร้า ผู้ทีเปนจะรู้สึกเบือหน่ายไปหมด จากเดิมชอบอ่านหนังสือพิมพ์ ติดละคร หรือดู
ข่าว ก็ไม่สนใจติดตาม อะไรๆ ก็ไม่เพลินใจไปหมด คุณยายบางคนหลานๆ มาเยียมจากต่าง
จังหวัดแทนทีจะดีใจกลับรู้สึกเฉยๆ บางคนจะมีอาการซึมเศร้า อารมณ์อ่อนไหวง่าย ร้องไห้เปน
ว่าเล่น บางคนจะหงุดหงิด ขวางหูขวางตาไปหมด ทนเสียงดังไม่ได้ ไม่อยากให้ใครมาวุ่นวาย
อาการเบือเปนมากจนแม้แต่อาหารการกินก็ไม่สนใจ บางคนนําหนักลดฮวบฮาบสัปดาห์ละ 2-3
กก.ก็มี เขาจะนังอยู่เฉยๆ ได้เปนชัวโมงๆ ความจําก็แย่ลง มักหลงๆ ลืมๆ เพราะใจลอย ตัดสิน
ใจอะไรก็ไม่ได้ เพราะไม่มันใจไปเสียหมด เขาจะมองสิงต่างๆ ในแง่ลบไปหมด คิดว่าตัวเองเปน
ภาระของคนอืน ไม่มีใครสนใจตนเอง ถ้าตายไปคงจะดีจะพ้นทุกข์เสียที หากญาติหรือคนใกล้ชิด
เห็นเขามีท่าทีบ่นไม่รู้จะอยู่ไปทําไม หรือพูดทํานองฝากฝง สังเสีย อย่ามองข้ามหรือต่อว่าเขาว่า
อย่าคิดมาก แต่ให้สนใจพยายามพูดคุยกับเขา รับฟงสิงทีเขาเล่าให้มากๆ ถ้ารู้สึกไม่เข้าใจหรือ
มองแล้วไม่ค่อยดี ขอแนะนําให้รีบพาไปพบแพทย์เพือรักษาโดยเร็ว
ระยะอาการเมเนีย
สําหรับอาการไฮโปเมเนียนัน ผู้ปวยจะมีอาการข้างต้นเช่นเดียวกับเมเนีย แต่จะแตกต่างกับเมเนียคือ อา
การไฮโปเมเนียจะไม่ส่งผลกระทบต่อการทําหน้าที หรือการใช้ชีวิตประจําวันมากนัก และผู้ปวยต้องมีอาการ
อย่างน้อยทีสุดนาน 4 วัน ในระยะเมเนีย เขาจะมีอาการเปลียนไปอีกขัวหนึงเลย เขาจะมันใจตัวเองมาก รู้สึก
ว่าตัวเองเก่ง ความคิดไอเดียต่างๆ แล่นกระฉูด เวลาคิดอะไรจะมองข้ามไป 2-3 ช็อตจนคนตามไม่ทัน การ
พูดจาจะลืนไหลพูดเก่ง คล่องแคล่ว มนุษยสัมพันธ์ดี เรียกว่าเจอใครก็เข้าไปทักไปคุย เห็นใครก็อยากจะ
ช่วย ช่วงนีเขาจะหน้าใหญ่ใจโต ใช้จ่ายเกินตัว ถ้าเปนคุณตาคุณยายก็บริจาคเงินเข้าวัดจนลูกหลานระอา ถ้า
เปนเจ้าของบริษัทก็จัดงานเลียง แจกโบนัส มีโครงการโปรเจคต่างๆ มากมาย พลังของเขาจะมีเหลือเฟอ
นอนดึกเพราะมีเรืองให้ทําเยอะแยะไปหมด ตีสีก็ตืนแล้ว ตืนมาก็ทําโน่นทํานีเลย ด้วยความทีเขาสนใจสิง
ต่างๆ มากมาย จึงทําให้เขาวอกแวกมาก ไม่สามารถอดทนทําเรืองใดเรืองหนึงได้นานๆ เขาทํางานเยอะ แต่
ก็ไม่เสร็จเปนชินเปนอันสักอย่าง ความยับยังชังใจตนเองมีน้อยมากเรียกว่าพอนึกอยากจะทําอะไรต้องทํา
ทันที หากมีใครมาห้ามจะโกรธรุนแรง ในระยะนีหากเปนมากๆ จะพูดไม่หยุด เสียงดัง เอาแต่ใจตัวเอง โกรธ
รุนแรงถึงขันอาละวาดถ้ามีคนขัดขวาง
วิธีรักษา
โรคไบโพลาร์สามารถรักษาได้ด้วยการใช้ยาเปนหลัก โดยแพทย์จะ
ให้ยาทางจิตเวชเพือปรับสารสือประสาทและควบคุมอารณ์ พร้อม
ทังให้คําแนะนําเกียวกับโรคและยา รวมถึงการดูแลตนเองในด้าน
ต่างๆ ควบคู่กันไปด้วย ซึงผู้ปวยส่วนใหญ่จะหายจากอาการผิด
ปกติและกลับไปใช้ชีวิตประจําวันได้เหมือนเดิมภายในเวลา
ประมาณ 2-8 สัปดาห์  สําหรับผู้ปวยบางราย แพทย์อาจแนะนํา
ให้ทําจิตบําบัดร่วมด้วยเพือให้สามารถจัดการกับความเครียดได้ดี
ยิงขึน และลดความขัดแย้งกับคนรอบข้างทีเปนสาเหตุของ
ความเครียดลง  อย่างไรก็ตาม โรคนีมีอัตราการเปนซําสูงมาก
ถึงร้อยละ 90 ดังนัน แพทย์จะแนะนําให้ผู้ปวยรับประทานยาต่อ
เนืองอย่างน้อย 2 ปสําหรับผู้ทีเปนครังแรกเพือปองกันการกลับ
มาเปนซํา และอาจนานกว่านีขึนอยู่กับจํานวนครังทีเคยเปนและ
ความรุนแรงของอาการในครังก่อนๆ.
การรักษาด้วยยา
ผู้ปวยต้องใช้ยาเพือปรับสารสือประสาทในสมองให้กลับสู่สภาวะปกติ ควบคุมสารไม่ให้สูงหรือตําจน
ทําให้เกิดภาวะอารมณ์ดีผิดปกติหรือภาวะซึมเศร้า แม้อาการจะดีขึนแล้ว แต่ผู้ปวยต้องใช้ยาตามคํา
สังแพทย์อย่างต่อเนืองหรือจนกว่าแพทย์จะสังให้หยุดใช้ รวมทังมาพบแพทย์ตามนัดเพือติดตาม
ผลการรักษาอย่างสมําเสมอ เพราะหากหยุดใช้ยาอย่างกะทันหันหรือขาดการรักษาอย่างต่อเนือง จะ
เพิมความเสียงต่อการกลับไปมีอาการของโรคซําอีก หรืออาจมีอาการรุนแรงกว่าทีเคยเปน
ยากลุ่มลิเทียม
ใช้รักษาระยะยาวภายใต้การ
ดูแลของแพทย์ และต้อง
ควบคุมยาให้อยู่ในปริมาณที
เหมาะสมต่อร่างกายเสมอ เพือ
ลดการเกิดผลข้างเคียง โดยผู้
ปวยทีใช้ยาลิเทียมต้องรับการ
ตรวจเลือด ตรวจการทํางาน
ของไตและต่อมไทรอยด์ และ
ตรวจระดับลิเทียมในเลือดเปน
ระยะ
ยารักษาโรคลมชัก
เปนยาทีใช้รักษาอารมณ์
แปรปรวนในระยะยาว ซึงอาจ
ใช้ควบคู่กับยาลิเทียมตาม
ดุลยพินิจของแพทย์ด้วย โดย
มีตัวอย่างยา เช่น วาลโปร
เอท คาร์บามาซีปน และลาโม
ไตรจีน เปนต้น
ยารักษาอาการทางจิต (ANTIPSYCHOTIC) ใช้รักษากลุ่มอาการ
ทางจิตทีเกิดขึนในขณะเปนโรคอารมณ์สองขัว เช่น อะริพิพรา
โซล โอแลนซาปน เควทาเอปน และเรสเพอริโดน เปนต้น
ยาต้านเศร้า (Antidepressant) ใช้รักษาร่วมกับยาอืนในกรณีทีผู้ปวยอยู่ในภาวะซึมเศร้า
เพือปรับสภาวะทางอารมณ์ให้มันคง เช่น ฟลูออกซิทีน เปนต้นยาคลายกังวล (Anti-
Anxiety) ช่วยคลายความวิตกกังวล ความคิดฟุงซ่าน และบรรเทาปญหาด้านการนอนที
เกิดขึนกับผู้ปวยไบโพลาร์อย่างอาการนอนไม่หลับ เช่น เบนโซไดอะซีปน เปนต้น
นอกเหนือจากการรักษาฟนฟูทางร่างกาย ผู้ปวยไบโพลาร์ต้องเข้า
รับการบําบัดจากจิตแพทย์อย่างต่อเนืองด้วย ซึงประกอบไปด้วย
การรับคําปรึกษาและการบําบัดทางจิต (Psychotherapy) การ
เข้าร่วมกลุ่มบําบัดกับผู้ปวยคนอืน ๆ และการศึกษาเกียวกับโรค
ความผิดปกติทางจิตและอารมณ์ทีตนเปนอยู่ เพือให้รับมืออาการ
ต่าง ๆ ทีเกิดขึนได้ดียิงขึน
การบําบัดรักษา
ภาวะแทรกซ้อนของ
โรคไบโพลาร์
โรคไบโพลาร์เพิมความเสียงต่อการปวยเปน
โรคอืน ๆ ตามมาได้ เช่น โรคความผิดปกติ
ด้านการกิน โรคทางจิต โรคไมเกรน โรคเบา
หวาน โรคหัวใจ โรคสมาธิสัน และโรคอ้วน
เปนต้นนอกจากนี พฤติกรรมหรืออาการทีเกิด
จากอารมณ์แปรปรวนมักจะก่อปญหาให้กับ
ชีวิตผู้ปวยอยู่เสมอ เช่น มีปญหาความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคล เกิดผลกระทบต่อประสิทธิภาพ
ในการเรียน การทํางาน และการตัดสินใจต่าง
ๆ ติดสุราหรือยาเสพติด เกิดปญหา
อาชญากรรม ตลอดจนมีความคิดหรือ
พยายามฆ่าตัวตาย เปนต้น
แม้จะไม่มีวิธีทีแน่นอนในการปองกันโรคไบโพลาร์ แต่อาจปองกัน
ปจจัยเสียงต่าง ๆ หรือปองกันการเกิดอาการรุนแรงและภาวะ
แทรกซ้อนอืน ๆ ได้ เช่นดูแลสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงสมบูรณ์
ระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุรักษาสุขภาพจิตให้ดี หลีกเลียงการ
เผชิญความเครียดต่าง ๆเข้ารับการรักษาอย่างสมําเสมอ และกินยา
ตามคําสังของแพทย์ เพือให้สภาวะทางอารมณ์คงที และปองกันการ
เกิดอารมณ์แปรปรวนทีควบคุมไม่ได้ไม่หยุดการรักษา และไม่เลิกกิน
ยากลางคันเพราะคิดว่าอาการดีขึนแล้ว เนืองจากมีความเสียงสูงที
อาการจะกลับมา หรืออาการอาจกําเริบหนักกว่าเดิมระมัดระวังเรือง
การใช้ยาชนิดอืน ๆ ทีอาจส่งผลกระทบต่อระดับสารเคมีในสมองทีมี
ผลต่อการเปลียนแปลงของอารมณ์สังเกตอาการทีเปนสัญญาณ
สําคัญของโรคหรืออาการแทรกซ้อนต่าง ๆ แล้วรีบไปพบแพทย์เพือ
เข้ารับการรักษาอย่างเหมาะสมหากพบความผิดปกติ
การปองกันโรคไบโพลาร์
การปฏิบัติตัวของผู้ปวยและญาติ
สําหรับผู้ปวย ควรปฏิบัติตัวตาม
คําแนะนําของแพทย์ซึงได้แก่
นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอดู
แลสุขภาพทัวไป เช่น ออกกําลัง
กายอย่างสมําเสมอ รับประทาน
อาหารทีถูกสุขลักษณะ หลีก
เลียงเครืองดืมแอลกอฮอล์และ
สารเสพติดมีกิจกรรมทีช่วย
คลายเครียด ทําจิตใจให้สบาย
รับประทานยาตามทีแพทย์สัง
หากพบผลข้างเคียงจากการใช้
ยาควรปรึกษาแพทย์ ไม่ควร
หยุดยาเองหมันสังเกตอารมณ์
ของตนเอง เรียนรู้อาการเริม
แรกของโรค และรีบไปพบ
แพทย์ก่อนทีจะมีอาการมากขึน
แจ้งให้คนใกล้ชิดทราบถึง
อาการเริมแรกของโรค เพือให้
ช่วยสังเกตและพาไปพบแพทย์
เข้าใจว่าอารมณ์และพฤติกรรม
ทีผิดปกติเปนความเจ็บปวย
ไม่ใช่นิสัยทีแท้จริงของผู้ปวย
ช่วยดูแลให้ผู้ปวยรับประทานยา
และปฏิบัติตามคําแนะนําของ
แพทย์อย่างเคร่งครัดสังเกตุ
อารมณ์ของผู้ปวย เรียนรู้
อาการเริมแรกของโรคและรีบ
พาผู้ปวยไปพบแพทย์ก่อนทีจะ
มีอาการมากขึนช่วยควบคุม
เรืองการใช้จ่ายและพฤติกรรม
ทีเสียงต่ออันตรายเมือผู้ปวยมี
อาการดีขึน ควรให้กําลังใจเพือ
ให้ผู้ปวยสามารถกลับไปใช้ชีวิต
ได้ตามปกติ และไม่ให้ผู้ปวย
หยุดยาก่อนปรึกษาแพทย์
สําหรับการปฏิบัติตัวของญาติหรือบุคคลใกล้ชิด
ได้แก่
ผลทีคาดว่าจะได้รับ
คาดหวังว่าเพือนๆหรือคนอืนๆทีได้เข้ามารับชมจะ
มีความรู้เกียวกับโรคไบโพลาร์มากขึน และเข้าใจ
อาการผู้ปวยมากขึน
Satinee laomung 18
Natchanon kanta 38
THANK YOU

More Related Content

Similar to Bipolar final

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ pimrapat_55
 
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรSasithon Charoenchai
 
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุสังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุpyopyo
 
เก็บเล็กผสมน้อย Slight Edge.pdf
 เก็บเล็กผสมน้อย Slight Edge.pdf เก็บเล็กผสมน้อย Slight Edge.pdf
เก็บเล็กผสมน้อย Slight Edge.pdfmaruay songtanin
 
2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)ssuser37a5ed
 
lub-nong proposal doc
lub-nong proposal doclub-nong proposal doc
lub-nong proposal docletterbox 17
 
1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3Nok Tiwung
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5Papitchaya_19
 
Chapter 1 the meaning and theory of culture
Chapter 1 the meaning and theory of cultureChapter 1 the meaning and theory of culture
Chapter 1 the meaning and theory of cultureTeetut Tresirichod
 

Similar to Bipolar final (11)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
 
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุสังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
สังเคราะห์งานวิจัยผู้สูงอายุ
 
เก็บเล็กผสมน้อย Slight Edge.pdf
 เก็บเล็กผสมน้อย Slight Edge.pdf เก็บเล็กผสมน้อย Slight Edge.pdf
เก็บเล็กผสมน้อย Slight Edge.pdf
 
2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)
 
lub-nong proposal doc
lub-nong proposal doclub-nong proposal doc
lub-nong proposal doc
 
1281507500 sex 3
1281507500 sex 31281507500 sex 3
1281507500 sex 3
 
หน่วยที่๔
หน่วยที่๔หน่วยที่๔
หน่วยที่๔
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
Chapter 1 the meaning and theory of culture
Chapter 1 the meaning and theory of cultureChapter 1 the meaning and theory of culture
Chapter 1 the meaning and theory of culture
 
Final project-612-22-42
Final project-612-22-42Final project-612-22-42
Final project-612-22-42
 

Bipolar final

  • 2. ชือโครงงาน : โรคไบโพลาร์ ประเภทโครงงาน : พัฒนาเพือการศึกษา ผู้จัดทํา นางสาว สาธิณี เลามุ่ง เลขที18 นาย ณัฐชนนท์ กันทา เลขที 38 ครูทีปรึกษา ครู เขือนทอง มูลวรรณ์
  • 5. ทีมาและความสําคัญ โรคไบโพลาร์ เปนโรคทีคนยุคใหม่เปน โดยไม่รู้ตัวเนืองจากแรงกดดัน สังคม แวดล้อมลักษณะโรคคือการทีคนคน หนึงมีอารมณ์สองขัว ถ้ามีความสุขก็จะ มีจนทีสุด ถ้าเศร้าก็เศร้าแบบโรคซึม เศร้า ผู้ปวยส่วนมากมีปญหาเกียวกับ อารมณ์ ผู้จัดทําโครงงานจึงตังใจจะนํา เสนอให้รู้จักเกียวกับโรคนีมากขึน เพือ เข้าใจ และรับมือกับผู้ปวยได้
  • 6. โรคอารมณ์แปรปรวนสองขัว (BIPOLAR DISORDER) คือ อะไรโรคอารมณ์ แปรปรวนสองขัว หรือโรคไบโพลาร์ (BIPOLAR DISORDER) เปนความผิด ปกติทางอารมณ์อย่างหนึง ซึงผู้ปวยทีเปนโรคนีจะมีลักษณะอารมณ์ที เปลียนแปลงไปมา ระหว่างอารมณ์ซึมเศร้า (MAJOR DEPRESSIVE EPISODE) สลับกับช่วงทีอารมณ์ดีมากกว่าปกติ (MANIA หรือ HYPOMANIA) โดยอาการในแต่ละช่วงอาจเปนอยู่นานเปนสัปดาห์ หรือ หลาย ๆ เดือนก็ได้ ซึงอาการเหล่านีจะส่งผลกระทบต่อการดําเนินชีวิตของผู้ ปวยทังในด้านการงาน การประกอบอาชีพ ความสัมพันธ์กับบุคคลอืน และ การดูแลตนเองอย่างมาก ทําให้ไม่สามารถดําเนินชีวิตประจําวันได้อย่างเปน ปกติ 
  • 7. BIPOLAR DISORDER อาจแบ่งกลุ่มกว้าง ๆ ออกได้เปนBIPOLAR I DISORDER คือ มีอาการเมเนีย สลับกับช่วงซึมเศร้า หรืออาจมี อาการเมเนียเพียงอย่างเดียวก็ได้BIPOLAR II DISORDER คือ มี อาการซึมเศร้า สลับกับช่วงไฮโปเมเนีย (HYPOMANIA)พบว่าความ ชุกชัวชีวิตของ BIPOLAR DISORDER นีโดยรวมทีสํารวจใน ประชากรทัวไป พบได้สูงถึงร้อยละ 1.5 -5 ซึงอัตราการเกิดโรคครัง แรกพบบ่อยทีสุดทีช่วงอายุ 15-19 ป และรองลงมา คือ อายุ 20-24 ป โดยกว่าครึงหนึงของผู้ปวยจะมีอาการครังแรกก่อนอายุ 20 ป นอกจากนี BIPOLAR DISORDER ถือเปนโรคทีมีการดําเนินโรค ในระยะยาวเรือรัง และเปนโรคทีมีโอกาสกลับเปนซําได้สูง ประมาณ 70-90%
  • 9. MAJOR DEPRESSIVE EPISODE A. มีอาการดังต่อไปนีห้าอาการ (หรือมากกว่า) ร่วมกันอยู่นาน 2 สัปดาห์ และแสดงถึงการเปลียนแปลงในด้านต่าง ๆ ไปจากแต่ก่อน: โดยมีอาการอย่างน้อยหนึงข้อของ (1) อารมณ์ซึมเศร้า (2) เบือหน่าย ไม่มีความสุขมีอารมณ์ซึมเศร้าเปนส่วนใหญ่ของวัน แทบทุกวัน โดยได้จากการบอกเล่าของผู้ปวย (เช่น รู้สึกเศร้า หรือว่าง เปล่า) หรือจากการสังเกตของผู้อืน (เช่น เห็นว่าร้องให้) หมายเหตุ: ในเด็กและวัยรุ่นเปนอารมณ์หงุดหงิดก็ได้ความสนใจหรือ ความสุขใจในกิจกรรมต่าง ๆ ทังหมดหรือแทบทังหมดลดลงอย่างมาก เปนส่วนใหญ่ของวัน แทบทุกวัน (โดยได้จากการบอกเล่าของผู้ปวย หรือจากการสังเกตของผู้อืน 3)นําหนักลดลงโดยมิได้เปนจากการคุมอาหาร หรือเพิมขึนอย่างมี ความสําคัญ (ได้แก่นําหนักเปลียนแปลงมากกว่าร้อยละ 5 ต่อเดือน) หรือมีการเบืออาหารหรือเจริญอาหารแทบทุกวัน หมายเหตุ: ในเด็ก ดู ว่านําหนักไม่เพิมขึนตามทีควรจะเปนนอนไม่หลับ หรือหลับมากไปแทบ ทุกวันกระสับกระส่าย (psychomotor agitation) หรือ เชืองข้า (retardation) แทบทุกวัน (จากการสังเกตของผู้อืน มิใช่เพียงจาก ความรู้สึกของผู้ปวยว่ากระวนกระวายหรือช้าลง)
  • 10. ManicEpisode A. มีช่วงทีมีอารมณ์คึกคัก แสดงความรู้สึกโดยไม่รัง หรืออารมณ์หงุดหงิดทีผิด ปกติและคงอยู่ตลอดอย่างชัดเจนนานอย่างน้อย 1 สัปดาห์ (หรือนานเท่าใดก็ได้ หากต้องอยู่ในโรงพยาบาล)  B. ในช่วงทีมีความผิดปกติด้านอารมณ์นี พบมีอาการดังต่อไปนีอยู่ตลอด อย่าง น้อย 3 อาการ (หรือ 4 อาการหากมีเพียงอารมณ์หงุดหงิด) และอาการเหล่านี รุนแรงอย่างมีความสําคัญ D. ความผิดปกติด้านอารมณ์ทีเกิดขึนรุนแรงจนทําให้มีความบกพร่องอย่างมาก ในด้านการงาน หรือกิจกรรมทางสังคมตามปกติ หรือสัมพันธภาพกับผู้อืน หรือ ทําให้ต้องอยู่ในโรงพยาบาลเพือปองกันอันตรายต่อตนเองหรือผู้อืน หรือมี อาการโรคจิต  E. อาการมิได้เปนจากผลโดยตรงด้านสรีรวิทยาจากสาร (เช่น สารเสพติด ยา หรือการรักษาอืน) หรือจากภาวะความเจ็บปวยทางกาย (เช่น ไทรอยด์เปนพิษ)
  • 12. A. มีช่วงทีมีอารมณ์คึกคัก แสดงความรู้สึกโดยไม่รัง หรือ อารมณ์หงุดหงิดทีผิดปกติและคงอยู่ตลอดอย่างชัดเจนนาน อย่างน้อย 4 วัน โดยเห็นชัดว่าต่างจากช่วงอารมณ์ปกติทีไม่ซึม เศร้า  B. ในช่วงทีมีความผิดปกติด้านอารมณ์นี พบมีอาการดังต่อไปนี อยู่ตลอด อย่างน้อย 3 อาการ (หรือสีอาการหากมีเพียงอารมณ์ หงุดหงิด) และอาการเหล่านีรุนแรงอย่างมีความสําคัญมีความ เชือมันตัวเองเพิมขึนมาก หรือมีความคิดว่าตนยิงใหญ่ มีความ สามารถ (grandiosity)ความต้องการนอนลดลง (เช่น ได้นอนแค่ 3 ชัวโมงก็รู้สึกว่าเพียงพอแล้ว)พูดคุยมากกว่าปกติ หรือต้องการ พูดอย่างไม่หยุดความคิดแล่น คิดมากหลายเรืองพร้อมๆ กัน หรือผู้ปวยรู้สึกว่าความคิดแล่นเร็ววอกแวก (distractibility) (ได้แก่ ถูกดึงความสนใจได้ง่าย แม้สิงเร้าภายนอกจะไม่สําคัญ หรือไม่เกียวเนืองกับสิงทีสนใจอยู่ในขณะนัน)มีกิจกรรมซึงมีจุด หมาย เพิมขึนมาก (ไม่ว่าจะเปนด้านสังคม การงานหรือการเรียน หรือด้านเพศ) หรือ กระสับกระส่ายหมกมุ่นอย่างมากกับกิจกรรม ทีทําให้เพลิดเพลิน แต่มีโอกาสสูงทีจะก่อให้เกิดความยุ่งยาก ติดตามมา (เช่น ใช้จ่ายไม่ยัง ไม่ยับยังใจเรืองเพศ หรือลงทุนทํา ธุรกิจอย่างโง่เขลา)
  • 13. C. ระยะทีมีอาการมีความสัมพันธ์กับการเปลียนแปลงในด้านต่าง ๆ ซึงมิใช่ ลักษณะประจําของบุคคลนันขณะไม่มีอาการอย่างเห็นได้ชัด  D. ผู้อืนสังเกตเห็นความผิดปกติด้านอารมณ์และการเปลียนแปลงในด้าน ต่าง ๆ นี  E. ระยะทีมีอาการไม่รุนแรงถึงกับทําให้กิจกรรมด้านสังคม หรือการงาน บกพร่องลงมาก หรือทําให้ต้องอยู่โรงพยาบาล และไม่มีอาการโรคจิต  F. อาการมิได้เปนจากผลโดยตรงด้านสรีรวิทยาจากสาร (เช่น สารเสพติด ยา หรือการรักษาอืน) หรือจากภาวะความเจ็บปวยทางกาย (เช่น ไทรอยด์ เปนพิษ) หมายเหตุ: ระยะอาการคล้าย hypomania ทีเห็นชัดว่าเปนจากการ รักษาทางกายภาพของภาวะซึมเศร้า (เช่น การใช้ยา การรักษาด้วยไฟฟา การรักษาด้วยแสงสว่าง) ไม่ควรรวมอยู่ในการวินิจฉัยของ Bipolar II Disorder
  • 14. สาเหตุการเกิด? ปจจุบันเชือว่าโรคไบโพลาร์เกิดได้จากหลายสาเหตุ อาทิ พันธุกรรมทีผิดปกติทังทีเกิดจากการถ่ายทอดจาก บรรพบุรุษและเกิดใหม่ช่วงเปนทารกในครรภ์ เนืองจากพบ ว่าผู้ทีมีบุคคลในครอบครัวปวยด้วยโรคนีหรือโรคทางจิต เวชอืนๆ จะมีโอกาสเปนโรคไบโพลาร์มากกว่าคนทัวไป นอกจากนียังอาจเกิดจากการทํางานทีผิดปกติของสมอง โดยมีสารสือประสาททีไม่สมดุล และจากสภาพแวดล้อม ของผู้ปวย เช่น การเลียงดูในวัยเด็ก หรือความเครียดใน ชีวิตประจําวันทีกระตุ้นให้โรคแสดงอาการ รวมถึงเกิดจาก โรคบางอย่าง เช่น ความผิดปกติของไทรอยด์ฮอร์โมน
  • 15. ปจจัยทางชีวภาพ อาการของโรคไบโพลาร์จะ เกิดขึนเมือมีสารสือประสา ทนอร์อะดรีนาลีน เซโรโทนิน และโดปามีน ในระดับทีไม่ สมดุลกัน ซึงจะทําให้มี อารมณ์ดี อยู่ในภาวะร่าเริง ผิดปกติ และจะมีภาวะซึม เศร้า เบือหน่าย สลับกันไป โดยสารสือประสาทในสมอง ทีส่งผลต่อการเกิดโรคนี ปจจัยทางกรรมพันธุ์ผู้ปวย ไบโพลาร์มักมีญาติทีปวย เปนโรคนีหรือโรคทีเกียวข้อง กับความผิดปกติทาง อารมณ์ โดยเฉพาะญาติทีมี ความใกล้ชิดเชือมโยงกัน ทางสายเลือดอย่างพ่อแม่ พี หรือน้อง แม้จะยังไม่มีงาน วิจัยสนับสนุนทีแน่ชัด แต่ก็ ยังคงมีการศึกษายีนส์ที เกียวข้องกับการเกิดโรคนี อยู่อย่างต่อเนือง ปจจัยอืน ๆผู้ปวยอาจได้รับ แรงกระตุ้นจากปจจัย ภายนอกทีกระทบกระเทือน ต่อสภาพจิตใจ เช่น ความผิด หวัง ความเสียใจอย่าง รุนแรงหรือฉับพลัน การเจ็บ ปวยทางร่างกาย ปญหา ความสัมพันธ์กับบุคคลใกล้ ชิด ความเครียดจากการ เรียนและการทํางาน เปนต้น ปจจัยทีทําให้เกิดโรค
  • 16. การวินิจฉัย ม่มีการตรวจพิเศษเพือช่วยในการวินิจฉัยโรคนี ข้อมูลหลักในการ วินิจฉัยคือ การซักประวัติอาการ ความเปนไปของโรค ความเจ็บปวย ทางจิตในญาติ การใช้ยาและสารต่างๆ หรือโรคประจําตัว เพราะยา บางขนานหรือโรคทางร่างกายบางโรคอาจมีอาการทางจิตเหมือน กับโรคอารมณ์สองขัวได้ แพทย์จะนําข้อมูลได้จากผู้ทีเปนและญาติ ร่วมไปกับการตรวจร่างกายและตรวจสภาพจิตมาประมวลกันเพือ การวินิจฉัย
  • 17. ความเปนไปของโรค อาการระยะเมเนียมักเกิดขึนเร็ว และเปนมากขึนเรือยๆ จนภายใน 2-3 สัปดาห์ อาการจะเต็มทีอารมณ์รุนแรง ก้าวร้าวจนญาติจะรับไม่ไหวต้องพามาโรงพยาบาล อาการในครังแรกๆ จะเกิดหลังมีเรืองกดดัน แต่หากเปนหลายๆ ครังก็มักเปนขึน มาเองโดยทีไม่มีปญหาอะไรมากระตุ้นเลย ข้อสังเกตประการหนึงคือคนทีอยู่ใน ระยะเมเนียจะไม่คิดว่าตัวเองผิดปกติ มองว่าช่วงนีตัวเองอารมณ์ดีหรือใครๆ ก็ ขยันกันได้ ในขณะทีหากเปนระยะซึมเศร้าคนทีเปนจะพอบอกได้ว่าตนเองเปลียน ไปจากเดิม ในระยะซึมเศร้าหากคนใกล้ชิดสนใจมักสังเกตไม่ยากเพราะเขาจะซึมลง ดูอมทุกข์ แต่อาการแบบเมเนียจะบอกยากโดยเฉพาะในระยะแรกๆ ทีอาการยังไม่ มาก เพราะดูเหมือนเขาจะเปนแค่คนขยันอารมณ์ดีเท่านันเอง แต่ถ้าสังเกตจริงๆ ก็จะเห็นว่าลักษณะแบบนีไม่ใช่ตัวตนของเขา เขาจะดู เวอร์ กว่าปกติไปมาก
  • 18. ผู้ปวยไบโพลาร์จะมีอารมณ์แปรปรวนสลับกันระหว่าง อารมณ์ดีหรือก้าวร้าวผิดปกติ กับอารมณ์ซึมเศร้าผิด ปกติโดยไม่ขึนอยู่กับสถานการณ์ใดๆ ในช่วงทีอารมณ์ ซึมเศร้า ผู้ปวยมักเบือหน่าย ท้อแท้ ไม่อยากทําอะไร อ่อนเพลีย มองทุกอย่างในแง่ลบ บางรายมีความคิด อยากตายซึงอาจนําไปสู่การฆ่าตัวตายจริงๆ ได้ สําหรับช่วงทีอารมณ์ดีหรือก้าวร้าวผิดปกติ ผู้ปวยมักมี อาการดังต่อไปนี คือรู้สึกว่าตนมีความสําคัญหรือมี ความสามารถมากนอนน้อยกว่าปกติมาก โดยไม่มี อาการเพลียหรือต้องการนอนเพิมพูดเร็ว พูดมาก พูด ไม่ยอมหยุดความคิดแล่นเร็ว มีหลายความคิดเข้ามาใน สมองสมาธิลดลง เปลียนความสนใจอย่างรวดเร็ว ตอบสนองต่อสิงเร้าง่ายมีกิจกรรมมากผิดปกติ  แต่ มักทําได้ไม่ดีการตัดสินใจเสีย เช่น ใช้จ่ายเงินฟุมเฟอย ทําเรืองทีเสียงอันตรายหรือผิดกฎหมาย ไม่ยับยังชังใจ ในเรืองเพศ อาการมีอะไรบ้าง ?
  • 19. ระยะซึมเศร้า ในระยะซึมเศร้า ผู้ทีเปนจะรู้สึกเบือหน่ายไปหมด จากเดิมชอบอ่านหนังสือพิมพ์ ติดละคร หรือดู ข่าว ก็ไม่สนใจติดตาม อะไรๆ ก็ไม่เพลินใจไปหมด คุณยายบางคนหลานๆ มาเยียมจากต่าง จังหวัดแทนทีจะดีใจกลับรู้สึกเฉยๆ บางคนจะมีอาการซึมเศร้า อารมณ์อ่อนไหวง่าย ร้องไห้เปน ว่าเล่น บางคนจะหงุดหงิด ขวางหูขวางตาไปหมด ทนเสียงดังไม่ได้ ไม่อยากให้ใครมาวุ่นวาย อาการเบือเปนมากจนแม้แต่อาหารการกินก็ไม่สนใจ บางคนนําหนักลดฮวบฮาบสัปดาห์ละ 2-3 กก.ก็มี เขาจะนังอยู่เฉยๆ ได้เปนชัวโมงๆ ความจําก็แย่ลง มักหลงๆ ลืมๆ เพราะใจลอย ตัดสิน ใจอะไรก็ไม่ได้ เพราะไม่มันใจไปเสียหมด เขาจะมองสิงต่างๆ ในแง่ลบไปหมด คิดว่าตัวเองเปน ภาระของคนอืน ไม่มีใครสนใจตนเอง ถ้าตายไปคงจะดีจะพ้นทุกข์เสียที หากญาติหรือคนใกล้ชิด เห็นเขามีท่าทีบ่นไม่รู้จะอยู่ไปทําไม หรือพูดทํานองฝากฝง สังเสีย อย่ามองข้ามหรือต่อว่าเขาว่า อย่าคิดมาก แต่ให้สนใจพยายามพูดคุยกับเขา รับฟงสิงทีเขาเล่าให้มากๆ ถ้ารู้สึกไม่เข้าใจหรือ มองแล้วไม่ค่อยดี ขอแนะนําให้รีบพาไปพบแพทย์เพือรักษาโดยเร็ว
  • 20. ระยะอาการเมเนีย สําหรับอาการไฮโปเมเนียนัน ผู้ปวยจะมีอาการข้างต้นเช่นเดียวกับเมเนีย แต่จะแตกต่างกับเมเนียคือ อา การไฮโปเมเนียจะไม่ส่งผลกระทบต่อการทําหน้าที หรือการใช้ชีวิตประจําวันมากนัก และผู้ปวยต้องมีอาการ อย่างน้อยทีสุดนาน 4 วัน ในระยะเมเนีย เขาจะมีอาการเปลียนไปอีกขัวหนึงเลย เขาจะมันใจตัวเองมาก รู้สึก ว่าตัวเองเก่ง ความคิดไอเดียต่างๆ แล่นกระฉูด เวลาคิดอะไรจะมองข้ามไป 2-3 ช็อตจนคนตามไม่ทัน การ พูดจาจะลืนไหลพูดเก่ง คล่องแคล่ว มนุษยสัมพันธ์ดี เรียกว่าเจอใครก็เข้าไปทักไปคุย เห็นใครก็อยากจะ ช่วย ช่วงนีเขาจะหน้าใหญ่ใจโต ใช้จ่ายเกินตัว ถ้าเปนคุณตาคุณยายก็บริจาคเงินเข้าวัดจนลูกหลานระอา ถ้า เปนเจ้าของบริษัทก็จัดงานเลียง แจกโบนัส มีโครงการโปรเจคต่างๆ มากมาย พลังของเขาจะมีเหลือเฟอ นอนดึกเพราะมีเรืองให้ทําเยอะแยะไปหมด ตีสีก็ตืนแล้ว ตืนมาก็ทําโน่นทํานีเลย ด้วยความทีเขาสนใจสิง ต่างๆ มากมาย จึงทําให้เขาวอกแวกมาก ไม่สามารถอดทนทําเรืองใดเรืองหนึงได้นานๆ เขาทํางานเยอะ แต่ ก็ไม่เสร็จเปนชินเปนอันสักอย่าง ความยับยังชังใจตนเองมีน้อยมากเรียกว่าพอนึกอยากจะทําอะไรต้องทํา ทันที หากมีใครมาห้ามจะโกรธรุนแรง ในระยะนีหากเปนมากๆ จะพูดไม่หยุด เสียงดัง เอาแต่ใจตัวเอง โกรธ รุนแรงถึงขันอาละวาดถ้ามีคนขัดขวาง
  • 21. วิธีรักษา โรคไบโพลาร์สามารถรักษาได้ด้วยการใช้ยาเปนหลัก โดยแพทย์จะ ให้ยาทางจิตเวชเพือปรับสารสือประสาทและควบคุมอารณ์ พร้อม ทังให้คําแนะนําเกียวกับโรคและยา รวมถึงการดูแลตนเองในด้าน ต่างๆ ควบคู่กันไปด้วย ซึงผู้ปวยส่วนใหญ่จะหายจากอาการผิด ปกติและกลับไปใช้ชีวิตประจําวันได้เหมือนเดิมภายในเวลา ประมาณ 2-8 สัปดาห์  สําหรับผู้ปวยบางราย แพทย์อาจแนะนํา ให้ทําจิตบําบัดร่วมด้วยเพือให้สามารถจัดการกับความเครียดได้ดี ยิงขึน และลดความขัดแย้งกับคนรอบข้างทีเปนสาเหตุของ ความเครียดลง  อย่างไรก็ตาม โรคนีมีอัตราการเปนซําสูงมาก ถึงร้อยละ 90 ดังนัน แพทย์จะแนะนําให้ผู้ปวยรับประทานยาต่อ เนืองอย่างน้อย 2 ปสําหรับผู้ทีเปนครังแรกเพือปองกันการกลับ มาเปนซํา และอาจนานกว่านีขึนอยู่กับจํานวนครังทีเคยเปนและ ความรุนแรงของอาการในครังก่อนๆ.
  • 22. การรักษาด้วยยา ผู้ปวยต้องใช้ยาเพือปรับสารสือประสาทในสมองให้กลับสู่สภาวะปกติ ควบคุมสารไม่ให้สูงหรือตําจน ทําให้เกิดภาวะอารมณ์ดีผิดปกติหรือภาวะซึมเศร้า แม้อาการจะดีขึนแล้ว แต่ผู้ปวยต้องใช้ยาตามคํา สังแพทย์อย่างต่อเนืองหรือจนกว่าแพทย์จะสังให้หยุดใช้ รวมทังมาพบแพทย์ตามนัดเพือติดตาม ผลการรักษาอย่างสมําเสมอ เพราะหากหยุดใช้ยาอย่างกะทันหันหรือขาดการรักษาอย่างต่อเนือง จะ เพิมความเสียงต่อการกลับไปมีอาการของโรคซําอีก หรืออาจมีอาการรุนแรงกว่าทีเคยเปน ยากลุ่มลิเทียม ใช้รักษาระยะยาวภายใต้การ ดูแลของแพทย์ และต้อง ควบคุมยาให้อยู่ในปริมาณที เหมาะสมต่อร่างกายเสมอ เพือ ลดการเกิดผลข้างเคียง โดยผู้ ปวยทีใช้ยาลิเทียมต้องรับการ ตรวจเลือด ตรวจการทํางาน ของไตและต่อมไทรอยด์ และ ตรวจระดับลิเทียมในเลือดเปน ระยะ ยารักษาโรคลมชัก เปนยาทีใช้รักษาอารมณ์ แปรปรวนในระยะยาว ซึงอาจ ใช้ควบคู่กับยาลิเทียมตาม ดุลยพินิจของแพทย์ด้วย โดย มีตัวอย่างยา เช่น วาลโปร เอท คาร์บามาซีปน และลาโม ไตรจีน เปนต้น ยารักษาอาการทางจิต (ANTIPSYCHOTIC) ใช้รักษากลุ่มอาการ ทางจิตทีเกิดขึนในขณะเปนโรคอารมณ์สองขัว เช่น อะริพิพรา โซล โอแลนซาปน เควทาเอปน และเรสเพอริโดน เปนต้น ยาต้านเศร้า (Antidepressant) ใช้รักษาร่วมกับยาอืนในกรณีทีผู้ปวยอยู่ในภาวะซึมเศร้า เพือปรับสภาวะทางอารมณ์ให้มันคง เช่น ฟลูออกซิทีน เปนต้นยาคลายกังวล (Anti- Anxiety) ช่วยคลายความวิตกกังวล ความคิดฟุงซ่าน และบรรเทาปญหาด้านการนอนที เกิดขึนกับผู้ปวยไบโพลาร์อย่างอาการนอนไม่หลับ เช่น เบนโซไดอะซีปน เปนต้น
  • 23. นอกเหนือจากการรักษาฟนฟูทางร่างกาย ผู้ปวยไบโพลาร์ต้องเข้า รับการบําบัดจากจิตแพทย์อย่างต่อเนืองด้วย ซึงประกอบไปด้วย การรับคําปรึกษาและการบําบัดทางจิต (Psychotherapy) การ เข้าร่วมกลุ่มบําบัดกับผู้ปวยคนอืน ๆ และการศึกษาเกียวกับโรค ความผิดปกติทางจิตและอารมณ์ทีตนเปนอยู่ เพือให้รับมืออาการ ต่าง ๆ ทีเกิดขึนได้ดียิงขึน การบําบัดรักษา
  • 24. ภาวะแทรกซ้อนของ โรคไบโพลาร์ โรคไบโพลาร์เพิมความเสียงต่อการปวยเปน โรคอืน ๆ ตามมาได้ เช่น โรคความผิดปกติ ด้านการกิน โรคทางจิต โรคไมเกรน โรคเบา หวาน โรคหัวใจ โรคสมาธิสัน และโรคอ้วน เปนต้นนอกจากนี พฤติกรรมหรืออาการทีเกิด จากอารมณ์แปรปรวนมักจะก่อปญหาให้กับ ชีวิตผู้ปวยอยู่เสมอ เช่น มีปญหาความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล เกิดผลกระทบต่อประสิทธิภาพ ในการเรียน การทํางาน และการตัดสินใจต่าง ๆ ติดสุราหรือยาเสพติด เกิดปญหา อาชญากรรม ตลอดจนมีความคิดหรือ พยายามฆ่าตัวตาย เปนต้น
  • 25. แม้จะไม่มีวิธีทีแน่นอนในการปองกันโรคไบโพลาร์ แต่อาจปองกัน ปจจัยเสียงต่าง ๆ หรือปองกันการเกิดอาการรุนแรงและภาวะ แทรกซ้อนอืน ๆ ได้ เช่นดูแลสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงสมบูรณ์ ระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุรักษาสุขภาพจิตให้ดี หลีกเลียงการ เผชิญความเครียดต่าง ๆเข้ารับการรักษาอย่างสมําเสมอ และกินยา ตามคําสังของแพทย์ เพือให้สภาวะทางอารมณ์คงที และปองกันการ เกิดอารมณ์แปรปรวนทีควบคุมไม่ได้ไม่หยุดการรักษา และไม่เลิกกิน ยากลางคันเพราะคิดว่าอาการดีขึนแล้ว เนืองจากมีความเสียงสูงที อาการจะกลับมา หรืออาการอาจกําเริบหนักกว่าเดิมระมัดระวังเรือง การใช้ยาชนิดอืน ๆ ทีอาจส่งผลกระทบต่อระดับสารเคมีในสมองทีมี ผลต่อการเปลียนแปลงของอารมณ์สังเกตอาการทีเปนสัญญาณ สําคัญของโรคหรืออาการแทรกซ้อนต่าง ๆ แล้วรีบไปพบแพทย์เพือ เข้ารับการรักษาอย่างเหมาะสมหากพบความผิดปกติ การปองกันโรคไบโพลาร์
  • 27. สําหรับผู้ปวย ควรปฏิบัติตัวตาม คําแนะนําของแพทย์ซึงได้แก่ นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอดู แลสุขภาพทัวไป เช่น ออกกําลัง กายอย่างสมําเสมอ รับประทาน อาหารทีถูกสุขลักษณะ หลีก เลียงเครืองดืมแอลกอฮอล์และ สารเสพติดมีกิจกรรมทีช่วย คลายเครียด ทําจิตใจให้สบาย รับประทานยาตามทีแพทย์สัง หากพบผลข้างเคียงจากการใช้ ยาควรปรึกษาแพทย์ ไม่ควร หยุดยาเองหมันสังเกตอารมณ์ ของตนเอง เรียนรู้อาการเริม แรกของโรค และรีบไปพบ แพทย์ก่อนทีจะมีอาการมากขึน แจ้งให้คนใกล้ชิดทราบถึง อาการเริมแรกของโรค เพือให้ ช่วยสังเกตและพาไปพบแพทย์ เข้าใจว่าอารมณ์และพฤติกรรม ทีผิดปกติเปนความเจ็บปวย ไม่ใช่นิสัยทีแท้จริงของผู้ปวย ช่วยดูแลให้ผู้ปวยรับประทานยา และปฏิบัติตามคําแนะนําของ แพทย์อย่างเคร่งครัดสังเกตุ อารมณ์ของผู้ปวย เรียนรู้ อาการเริมแรกของโรคและรีบ พาผู้ปวยไปพบแพทย์ก่อนทีจะ มีอาการมากขึนช่วยควบคุม เรืองการใช้จ่ายและพฤติกรรม ทีเสียงต่ออันตรายเมือผู้ปวยมี อาการดีขึน ควรให้กําลังใจเพือ ให้ผู้ปวยสามารถกลับไปใช้ชีวิต ได้ตามปกติ และไม่ให้ผู้ปวย หยุดยาก่อนปรึกษาแพทย์ สําหรับการปฏิบัติตัวของญาติหรือบุคคลใกล้ชิด ได้แก่
  • 29. Satinee laomung 18 Natchanon kanta 38 THANK YOU