SlideShare a Scribd company logo
ประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้
รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 แห่ง และดินแดน
สหพันธ์ 3 แห่ง มีพื้นที่รวม 329,847 ตาราง
กิโลเมตร
โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่
ออกเป็น 2 ส่วน คือ มาเลเซีย
ตะวันตก และมาเลเซีย
ตะวันออก มาเลเซียตะวันตก
ที่ตั้ง อยู่ในเขตเส้นศูนย์สูตร ประกอบด้วยดินแดน
สองส่วน คือ
มาเลเซีย ตะวันตก ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู
ประกอบด้วย11 รัฐ คือ ปะหัง สลังงอร์ เนกรีเซมบิลัน
มะละกา ยะโฮร์ เประ กลันตัน ตรังกานู ปีนัง เกดะห์
และปะลิส
มาเลเซีย ตะวันออก ตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว (กา
ลิมันตัน) ประกอบด้วย 2 รัฐ คือ ซาบาห์ และซาราวัก
นอกจากนี้ยังมีเขตการปกครองภายใต้สหพันธรัฐ อีก 3
เขต คือ กรุงกัวลาลัมเปอร์ (เมืองหลวง) เมืองปุตราจา
ยา (เมืองราชการ) และเกาะลาบวน
ตราแผ่นดินของมาเลเซีย
(Jata Negara)
ตราแผ่นดินของมาเลเซียนี้สืบทอดมา
จากตราแผ่นดินสหพันธรัฐมาลายา
ระหว่างที่เป็นอาณานิคมของอังกฤษ
ตราในปัจจุบันจึงมีอิทธิพลของตราแบบ
ตะวันตกอยู่มาก
ประกอบด้วย5 ส่วน
1.โล่ เสือโคร่งสองตัว
2.พระจันทร์เสี้ยวสีเหลือง
3.ดาวสีเหลือง 14 แฉก
4.แถบผ้า
1. แถบริ้วสีแดง และสีขาว ทั้ง 14 ริ้ว
หมายถึง สถานะอันเสมอภาคของรัฐ
สมาชิกทั้ง 13 รัฐ ภายในประเทศ
มาเลเซีย
2. ดาว 14 แฉก หมายถึง ความเป็น
เอกภาพในหมู่รัฐดังกล่าวทั้งหมด
ธงชาติประเทศมาเลเซีย
พื้นที่
329,758 ตารางกิโลเมตร
ประชากร
จานวน 26.24 ล้านคน
ศาสนา
อิสลาม (ศาสนาประจาชาติ )
ร้อยละ 60.4 พุทธ ร้อยละ 19.2
คริสต์ ร้อยละ 11.6 ฮินดู ร้อย
ละ 6.3 อื่น ๆ ร้อยละ 2.5
เมืองหลวง
กรุงกัวลาลัมเปอร์
เมืองราชการ
เมืองปุตราจายา
ภูมิอากาศ
ร้อนชื้น อุณหภูมิเฉลี่ย
28 องศาเซลเซียส
ภาษา
ราชการ ภาษามาเลย์
อื่นๆ ภาษาอังกฤษ จีน
และทมิฬ
หน่วยเงินตรา
ริงกิตมาเลเซีย ประมาณ
10.42 บาท/1 ริงกิต
มาเลเซียมีหลากหลายเชื้อชาติส่วนใหญ่
ของประเทศคือ ชนเชื้อมาเลย์ รองลงมาคือ
จีน และอินเดีย นอกจากนั้นคือชนพื้นเมือง
ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ซึ่ง
ถือเป็นศาสนาประจาชาติ รองลงมาคือ
ศาสนาพุทธนิกายมหายาน นอกจากนี้คือ
ศาสนาฮินดู และคริสต์ และศาสนาอื่น ๆ
จานวนประชากรประมาณ 30.1 ล้านคน
ประชากรส่วนใหญ่เป็นชนเสื้อสายมาเลย์
ประชากร
GDP ต่อหัวประชากร
รายได้ต่อหัวต่อปีUS dollarคือ 8,617(301,595บาท)
เชื้อสายชาวทมิฬ
เชื้อสายไทย
เชื้อสายชวา
ชาวอินเดียกลุ่มอื่น
อย่างเกรละ, ปัญจาบ
, คุชราต และปาร์ซี
ชาวมลายู
(ชาวภูมิบุตร )
คือชนดั้งเดิม
ร้อยละ 50.4
ชนเผ่าในรัฐซาราวัก
และรัฐซาบาห์
ร้อยละ 11
มาเลเซียเชื้อสายจีน
ร้อยละ 23.7
ชาวมาเลเซีย
เชื้อสายอินเดีย
ร้อยละ 7.1
ลักษณะประชากร
ยุคหินใหม่คนอพยพมาจากจีนตอนใต้เข้ามาสู่บริเวณนี้
และด้วยความที่มีเครื่องมือทันสมัยกว่า รู้ จักวิธี
เพาะปลูกจึงขับไล่พวกที่มาอยู่ก่อนเข้าไปในภูเขาและ
ป่าชั้นในของแหลมมลายู หลังจากนั้นราว 300 ปีก่อน
คริสต์ศักราช กลุ่มคนยุคเหล็กและยุคสาริด ใช้โลหะเป็น
อาวุธ รู้จักค้าขาย ก็มาขับไล่พวกเดิมอีก พวกที่มาใหม่นี้
กลายเป็นบรรพบุรุษโดยตรงของชาวมาเลเซียใน
ปัจจุบัน และด้วยหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของ
มาเลเซียในยุคโบราณมีไม่มาก นักประวัติศาสตร์จึงมัก
ถือเอาช่วงเวลาที่ มะละกา ปรากฏตัวขึ้นเป็นศูนย์กลาง
การค้าที่สาคัญและเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์
มาเลเซีย
ยุคก่อนประวัติศาสตร์
ประเทศมาเลเซียปัจจุบันไม่ค่อยมีหลักฐานแสดงความ
ยิ่งใหญ่ในอดีตเหมือนประเทศอื่นๆ ในเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้
หลักฐานทางโบราณคดีเก่าแก่ที่สุดที่พบได้แก่ กะโหลก
ศีรษะมนุษย์ ยุคโฮโมเซเปียน ในถ้านียะห์ รัฐซาราวัก
โรงเครื่องมือหินที่บ่งชี้ว่ามนุษย์ยุคแรกเริ่มเป็นนักล่าสัตว์
และผู้เพาะปลูกเร่ร่อน
ยุคหินกลาง อาศัยตามเพิงหินและถ้าในภูเขาหินปูน
ของคาบสมุทร ใช้เครื่องมือหินตัดบดและล่าสัตว์ป่า
ประวัติศาสตร์
ภาพวาดเมืองมะละกาช่วงปี 1750
ประวัติศาสตร์
พงศาวดารมลายูกล่าวว่ากษัตริย์ปรเมศวรเป็นผู้ตั้งชื่อเมืองนี้ตามชื่อต้นมะละกา ( A Malaka tree-ต้นมะขาม
ป้อม) ซึ่งในขณะที่พระองค์ทรงผักผ่อนใต้ร่มต้นไม้นี้ได้ทอดพระเนตรเห็นกระจงหันเตะสุนัขล่าสัตว์ แสดงให้เห็น
ว่าพื้นที่นี้แม้แต่สัตว์ก็ยังมีเลือดนักสู้ จึงเป็นลางที่ดีที่ทาให้พระองค์ตัดสินใจตั้งหลักปักฐานที่นี่ และสร้างมะละกา
ให้กลายเป็นอาณาจักรชายฝั่งทะเลที่รุ่งเรืองต่อมา อีกคาสันนิษฐานหนึ่งกล่าวว่ามะละกามาจากคาอาหรับที่ว่า
มะละกัด (Malakat) หรือศูนย์กลางการค้าอันเป็นชื่อที่พ่อค้ามักใช้เรียกเกาะวอเตอร์ (Water Island)ที่อยู่ใกล้ๆ
นานแล้ว
มะละกาจุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ของมาเลเซีย
มะละกาเป็นเมืองท่าสาคัญ ก่อตั้งขึ้นประมาณ ค.ศ. 1400 ตั้งอยู่บนช่องแคบมะละกาซึ่งคร่อม
เส้นทางการค้าสาคัญทางทะเลจากตะวันออกสู่ตะวันตก ระหว่างสองเมืองสาคัญอย่างจีนกับ
อินเดีย ถือเป็นท่าเรือที่ดีเพราะไม่มีป่าโกงกาง น้าลึกพอให้เรือเทียบท่าและมีเกาะสุมาตราเป็นที่
กาบังพายุ
สมเด็จพระราชาธิบดี คือ สมเด็จ
พระราชาธิบดีสุลต่าน ตวนกู อับดุล
ฮาลิม มูอัซซอม ซาห์
ประมุข
ประมุขอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ มาจาก
การเลือกตั้งสุลต่าน 9 รัฐ ได้แก่ ยะ
โฮร์ ตรังกานู ปะหัง สลังงอร์ เกดะห์
กลันตัน เนกรีเซมบีลัน เประ และปะ
ลิส ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนขึ้นดารง
ตาแหน่ง วาระละ 5 ปี ส่วนอีก 4 รัฐ
คือ ปีนัง มะละกา ซาบาร์ และซารา
วัก ไม่มีสุลต่านปกครอง
การเมือง การปกครอง
อีกทั้งยังเป็นผู้มีอิทธิพลทาง
ความคิด (Influcncer)
ดาโต๊ะซรี ฮัจญี โมฮัมมัด นาจิบ บิน ตน ฮัจญี อับดุล ราซะก์ หรือ นายนาจิบ ราซะก์
เป็นนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันของประเทศมาเลเซีย หรือเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 6
ของประเทศ ปัจจุบันอายุ 59 ปี เกิดมาในครอบครัวนักการเมือง เคยดารงตาแหน่ง
รองนายกรัฐมนตรี และสังกัดพรรคอัมโน
นายกรัฐมนตรี นายนาจิบ ราซะก์
การเมือง การปกครอง
มาเลเซียมีการปกครองแบบสหพันธรัฐ มีรัฐบาล
กลางทาหน้ าที่ดูแลเรื่องสาคัญๆ เช่น การ
ต่างประเทศ การป้องกันประเทศ ความมั่นคง ตุลา
การ การคลัง และอื่นๆ ขณะที่ในแต่ละรัฐมีรัฐบาล
ของรัฐดูแลด้ านศาสนา ประเพณี สังคม
เกษตรกรรม การคมนาคมภายในรัฐ บางรัฐเช่น
กลันตัน มีระบบราชการในรูปแบบของตนเอง
นอกจากนี้ในแต่ละรัฐจะมีสภาแห่งรัฐที่มาจากการ
เลือกตั้งทุกๆ 4 ปี เหมือนกันหมด
นายกรัฐมนตรีเป็นผู้นาสูงสุด มา
จากหัวหน้าพรรคการเมืองที่
สมาชิกได้รับเลือกเข้ามานั่งในสภา
มากที่สุด ต้องเป็นพลเมืองของ
สหพันธรัฐโดยกาเนิดเท่านั้น และ
ต้องเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
นายกรัฐมนตรีสามารถแต่งตั้ง
บุคคลเข้าดารงตาแหน่งผู้บริหาร
ระดับสุงสุดในระบบราชการ
ฝ่ายบริหาร
องค์กรที่มีอานาจหน้าที่ด้านนิติ
บัญญัติของมาเลเซียคือรัฐสภา
รัฐสภาจะทาหน้าพิจารณากฎหมาย
ต่างๆ และทาการแก้ไขกฎหมายที่มี
อยู่ รวมถึงตรวจสอบนโยบายของ
รัฐบาล กฎหมายต่างๆที่ออกโดย
รัฐสภาของมาเลเซียประกอบด้วย
สองสภา
ฝ่ายนิติบัญญัติ
สถาบันทางตุลาการทั้งประเทศ
ยกเว้ นศาลอิสลาม อยู่ใต้ ระบบ
สหพันธรัฐ อานาจตุลาการเป็นอิสระ
ปราศจากการแทรกแซงโดยฝ่ายบริหาร
และฝ่ายนิติบัญญัติ
สถาบันตุลาการสูงสุดหรือศาลฎีกา
ทาหน้าที่รับข้อพิจารณาเรื่องอุทธรณ์
จากการตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญ
รวมถึงคอยไกล่เกลี่ยความขัดแย้ง
ระหว่างรัฐกับรัฐ จากศาลสูงสุดไล่ลง
มาเป็นขั้นๆ จนถึงระดับท้องถิ่นที่
ประชาชนสามารถร้องเรียน
ฝ่ายตุลาการ
การเมือง การปกครอง
การแบ่งเขตการปกครอง
ประเทศมาเลเซียเป็นประเทศสหพันธรัฐ แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 13 รัฐ
และ 3 ดินแดนสหพันธ์ โดย 11 รัฐ กับ 2 ดินแดนสหพันธ์ อยู่ในมาลเซีย
ตะวันตก และอีก 2 รัฐ กับ 1 ดินแดนสหพันธ์ อยู่ในมาเลเซียตะวันออก แต่ละ
รัฐแบ่งเป็นเขต แต่ละเขตแบ่งเป็นมูกิม (mukim) ในรัฐซาบาห์และรัฐซาราวัก
เขตในรัฐจะถูกจัดกลุ่มโดยบะฮะกียัน ดินแดนสหพันธ์เป็นดินแดนที่รัฐบาล
กลางปกครอง ได้แก่ กัวลาลัมเปอร์ เมืองปูตราจายา (เมืองราชการ) และลาบ
วน (ศูนย์กลางทางการเงินระหว่างประเทศนอกชายฝั่ง) โดยทั้งกัวลาลัมเปอร์
และปูตราจายาอยู่ในพื้นที่รัฐสลังงอร์ ส่วนลาบวนอยู่ใกล้รัฐซาบาร์
การแบ่งเขตการปกครอง
ตั้งแต่สมัยอาณานิคม การส่งออกดีบุก ยางพารา และน้ามัน
ปาล์มเป็นเศรษฐกิจหลัก แต่เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 1 ญี่ปุ่น
ควบคุมประเทศ อุตสาหกรรมหลัก ซบเซาลง และเมื่อสงคราม
สิ้นสุด ยางพาราและน้ามันปาล์มก็กลับมาเป็นสินค้าส่งออก
สาคัญ
ปัญหาเศรษฐกิจสาคัญ คือ การว่างงานและความยากจน
โดยเฉพาะกลุ่มชาวมลายูในชนบท รัฐบาลจึงพยายามพัฒนา
ที่ดินและสร้างสิ่งอานวยความสะดวก เช่น ถนนหนทาง โรงเรียน
ในขณะที่ชาวจีนซึ่งถือว่าเป็นคนมาอยู่ใหม่มีฐานะทางเศรษฐกิจ
ดีกว่าชาวมลายูที่อยู่มาก่อน ความเหลื่อมล้านาไปสู่ความ
ขัดแย้งทางเชื้อชาติ
รับเอกราชในปี ค.ศ. 1957 เศรษฐกิจของมาเลเซียติบโตขึ้น
เริ่มเป็นทาอุตสาหกรรมที่หลากหลายและทันสมัยมากขึ้น มี
นโยบายเศรษฐกิจใหม่ (New Economic Policy-NEP) โดย
เนื้อหาสาคัญคือ ให้สิทธิพิเศษแก่พวก "ภูมิบุตร" หรือพลเมือง
เชื้อสายมลายูเช่น กาหนดสัดส่วนข้าราชการส่วนใหญ่ให้เป็น
ชาวมลายู สิทธิการเข้าเรียน จัดแบ่งที่อยู่อาศัยแก่พลเมืองเชื้อ
สายมลายูก่อนพลเมืองเชื้อสายจีนหรืออินเดีย
นโยบายดังกล่าวทาให้เศรษฐกิจดีขึ้น แต่พลเมืองของ
ประเทศมาเลเซียทั้งเชื้อชาติมลายู อินเดียและจีน ไม่พอใจ NEP
พราะเป็นนโยบายที่เลือกปฏิบัติ
เศรษฐกิจ
ในปี ค.ศ. 2010 นายกรัฐมนตรี นาจิบ ราซัค ที่มาจาก
พรรคอัมโนยกเลิกข้อบังคับสิทธิพิเศษแก่ชาวมลายูและ
ประกาศต้นแบบเศรษฐกิจใหม่ (New Economic Model-
NEM) เป็นพื้นฐานนโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจ (Economic
Transformation Program-ETP) หลักการNEM ได้แก่ การ
เพิ่มรายได้ให้ประชาชน กระจายรายได้และผลประโยชน์ให้
ครอบคลุมทุกภาคส่วน และให้มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน
นโยบายหรือการลงทุนต่างๆต้องคานึงถึงผลกระทบต่อสังคม
เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
ปัจจุบันมุ่งให้ความสาคัญแก่อุตสาหกรรมไฟฟ้าและ
อิเล็กทรอนิกส์ น้ามันชีวภาพ เครื่องสาอาง และพลาสติก
อุตสาหกรรมน้ามันและก๊าซพลังงานธรรมชาติ อุตสาหกรรม
ภาคบริการ เกษตรกรรม พลังงานทางเลือก รวมถึง
อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ อย่าง เพลง ภาพยนตร์ ศิลปะ และ
การแสดงด้วย นอกจากนี้ยังมีการวางแผนที่จะเป็นศูนย์กลาง
ของภูมิภาคในด้านเทคโนโลยีชีวภาพ และวิทยาศาสตร์
ชีวภาพ รวมถึงเป็นศูนย์ทางการเงินของอิสลามเศรษฐกิจ
ยุทธศาสตร์ของ NEM 8 ประการ
1. ผลักดันให้ภาคเอกชนเป็นผู้ขับเคลื่อนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
2. เพิ่มคุณภาพของแรงงานชาวมาเลเซีย และลดการพึ่งพาแรงงานต่างชาติ
3. ส่งเสริมการแข่งขันภายในมาเลเซีย
4. สร้างความแข้มแข็งให้ระบบราชการ
5. ให้สิทธิพิเศษสาหรับผู้ด้อยโอกาศอย่างโปร่งใส และเป็นมิตรกับระบบตลาด
6. สร้างความรู้และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
7. ส่งเสริมปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
8. ส่งเสริมการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน
นายกรัฐมนตรีนาจิบได้ริเริ่ม
นโยบายการปฏิรูปและพัฒนา
ให้มาเลเซียก้าวไปสู่ประเทศที่
พัฒนาแล้ว ให้มีรายได้มวล
รวมประชาชาติ (Gross
National Income – GNI)
15,000 ดอลลาร์สหรัฐต่อคน
ต่อปีตามวิสัยทัศน์ พ.ศ.2563
หรือ Vision 2020
นโยบายหลัก
ในการปฏิรูปและ
พัฒนามาเลเซีย
แนวคิดและนโยบายเป็น 4 เสาหลัก Pillars
1.หนึ่งมาเลเซีย ประชาชนมาก่อน และ
ปฏิบัติทันที (One Malaysia, People
First, Performance Now) เป็นแนวคิด
เพื่อส่งเสริมความเป็นเอกภาพของ
ประเทศชาติ การยอมรับชาวมาเลเซียต่าง
เชื้อ และรัฐบาลที่มีประสิทธิภาพ โดยจะ
ส่งเสริมคุณค่า 8 ประการในสังคม
มาเลเซีย ได้แก่
1) ความมานะบากบั่น
2) การยอมรับ
3) การศึกษา
4) ความซื่อตรง
5) ระบบสังคมเชื่อการทาความสาเร็จด้วยตนเอง
6) ความอ่อนน้อมถ่อมตน
7) ความจงรักภักดี
8) วัฒนธรรม ด้านความเป็นเลิศ
2.โปรแกรมการปฏิรูปการปกครอง
(Government Transformation
Program – GTP) เป็นนโยบาย
ปรับปรุงและปฏิรูปการทางาน และ
การให้บริการของภาครัฐให้
ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และ
ตอบสนองความต้องการของ
ประชาชน โดยกาหนดประสิทธิผล
สาคัญระดับชาติ (National Key
Result Areas – NKRA) 7
ประการ
1) ลดอาชญากรรม
2) ต่อต้านการคอรัปชั่น
3) ปรับปรุงผลการศึกษา
4) ยกระดับความเป็นอยู่ของ
ประชากรที่มีรายได้ต่า
5) อัตราค่าครองชีพที่สูงขึ้น
6) ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานใน
พื้นที่ชนบท
7) ปรับปรุงระบบขนส่งมวลชนใน
เมืองใหญ่
แต่ละเป้าหมายหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องจะจัดทาตัวชี้วัด (Key
Performance Indicators –
KPIs) และดาเนินโครงการต่างๆ
ตามเป้าหมาย รัฐบาลมาเลเซีย
ได้จัดตั้งหน่วยการบริหารจัดการ
การปฏิบัติการและส่งมอสังกัด
สานักนายกรัฐมนตรีให้เป็น
หน่วยงานหลักในการติดตาม
การดาเนินการ
นโยบายหลัก
ในการปฏิรูปและ
พัฒนามาเลเซีย
3. แนวคิดเศรษฐกิจใหม่ (New Economic
Model – NEM) เป็นส่วนประกอบที่เป็น
พื้นฐานสาหรับนโยบายการปฏิรูปด้าน
เศรษฐกิจ ทั้งเป็นแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจ
ซึ่งนายกรัฐมนตรีราจิบได้มอบหมายให้สภาที่
ปรึกษาเศรษฐกิจแห่งชาติ เป็นผู้ศึกษาและ
เสนอต่อรัฐบาล โดยมี
จุดประสงค์หลัก 3 ประการ
1)การเพิ่มรายได้
2)การกระจายรายได้และผลประโยชน์
ให้ครอบคลุมทุกภาคส่วน
3)และการพัฒนาอย่างยั่งยืน และ
กาหนดยุทธศาสตร์การปฏิรูป
Strategic Reform Initiatives – SRIs8 ประการ เพื่อให้
เศรษฐกิจมาเลเซียบรรลุเป้าหมายตาม NEM
1) ผลักดันให้ภาคเอกชนเป็นผู้ขับเคลื่อนการเจริญเติบโตทาง
เศรษฐกิจ
2) เพิ่มคุณภาพแรงงานชาวมาเลเซีย และลดการพึ่งพา
แรงงานต่างชาติ
3) สร้างสรรค์เศรษฐกิจเพื่อการแข่งขันภายในมาเลเซีย
4) สร้างความแข็งแกร่งให้ระบบราชการ
5) ให้สิทธิพิเศษสาหรับผู้ด้อยโอกาสที่โปร่งใสและเป็นมิตรกับ
ระบบตลาด
6) การสร้างคลังความรู้และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
7) ส่งเสริมปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
และ
8) ส่งเสริมการเจริญเติบโตแบบยั่งยืน
4. แผนมาเลเซียฉบับที่ 10 แผนพัฒนาประเทศ
ระยะเวลา 5 ปี ระหว่างปี พ.ศ.2554-2558 โดย
เป้าหมายหลักคือ การพัฒนามาเลเซียให้ก้าวไปสู่
ประเทศที่มีรายได้สูง (High Income Country)
งบประมาณ 230 ล้านริงกิต โดยแบ่งสัดส่วนด้าน
เศรษฐกิจร้อยละ 55 สังคมร้อยละ 30 ความมั่นคง
ร้อยละ 10 บริหารจัดการทั่วไปร้อยละ 5 เป้าหมาย
ทางเศรษฐกิจ GDP ขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 6 ต่อปี
GNI เพิ่มเป็น 12,139 ดอลลาร์สหรัฐ (38,845 ริง
กิต) ต่อคนต่อปี
ในปี พ.ศ.2558 การลงทุนภาคเอกชนขยายตัว
ร้อยละ 12.8 ต่อปี การบริโภคภาคเอกชน
ขยายตัวร้อยละ 7.7 ต่อปี การลงทุนภาครัฐ
ขยายตัวร้อยละ 5 ต่อปี การบริโภคภาครัฐ
ขยายตัวร้ อยละ 4.8 ต่อปี การขาดดุล
งบประมาณลดลงเหลือร้อยละ 2.8 ของ GDP
ในปี พ.ศ.2558 การส่งออกขยายตัวร้อยละ
7.2 ต่อปี การนาเข้าขยายตัวร้อยละ 8.6 ต่อปี
นโยบายหลัก
ในการปฏิรูปและ
พัฒนามาเลเซีย
บุคคลสาคัญที่ส่งผลต่อพฤติกรรม วัฒนธรรม วิถีชีวิต
นายกรัฐมนตรีคนแรก ของประเทศมาเลเซียผู้นาการเรียกร้อง
เอกราชให้แก่ประเทศมาเลเซียได้สาเร็จจนได้รับยกย่องเป็น
บิดาแห่งประเทศมาเลเซียหรือ PaPa of Malaysia
ตนกู อับดุล ราห์มาน
Tunku Abdul Rahman
นายกรัฐมนตรีคนแรก ของประเทศมาเลเซีย
บุคคลสาคัญที่ส่งผลต่อพฤติกรรม วัฒนธรรม วิถีชีวิต
ดร.มหาเธร์ บิน โมฮัมหมัด
Dr.Mahathir bin Mohamad
อดีตนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี
ว่าการกระทรวงมหาดไทยของประเทศมาเลเซีย
นายกรัฐมนตรีคนที่ 4 ดารงตาแหน่งยาวนานที่สุด เป็นผู้
วางรากฐานพัฒนาประเทศในรูปแบบของแผนพัฒนาประเทศที่
มีชื่อว่า VISION 2020 ซึ่งเป็นผู้นามาเลเซียสู่ความเจริญ
ทัดเทียมนานาประเทศ เพราะตลอดระยะการทางานเป็น
นายกรัฐมนตรีของ มหาเธร์ มาเลเซียเป็นประเทศที่มี อัตราการ
เจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ สูงจนหน้าจับตาของโลก
มาเลเซียประกอบด้วยชนจากหลายเผ่า
พันธ์ุุ (พหุสังคม)บนแหลมมลายูมากว่า
1,000 ปี ประกอบด้วยเชื้อชาติใหญ่ๆ 3
กลุ่ม คือ ชาวมลายู ชาวจีน และชาวอินเดีย
อาศัยอยู่บนแหลมมลายู
ด้วยประชากรหลากหลายเชื้อชาติ
ภายในประเทศ ทาให้เกิดการหล่อหลอม
ของวัฒนธรรมและส่งผลต่อ การดารงชีวิต
ของชาวมาเลเซีย จึงเกิดประเพณีที่สาคัญ
มากมาย
ศิลปวัฒนธรรม
และประเพณี
การราซาบิน (Zapin)
เป็นการแสดงการฟ้อนราหมู่ ซึ่งเป็น
ศิลปะพื้นเมืองของชาวมาเลเซีย โดย
เป็นการฟ้อนราที่ได้รับอิทธพลมา
จาก ดินแดนอาระเบีย โดยมีผู้แสดง
เป็นหญิง ชาย จานวน 6 คู่ เต้นตาม
จังหวะของกีตาร์แบบอาระเบีน และ
กลอง เล็กสองหน้าที่บรรเลงจากช้า
ไปเร็ว
เทศกาลทาเดา คาอามาตัน
เป็นเทศกาลประจาปีในรัฐซาบาห์ จัด
ในช่วงสิ้นเดือนพฤษภาคม ซึ่งเป็น
ช่วงสิ้นสุดของฤดูการเก็บเกี่ยวข้าว
และเริ่มต้นฤดูกาลใหม่ โดยจะมี
พิธีกรรมตามความเชื่อในการทา
เกษตร และมีการแสดงระบาพื้นเมือง
และขับร้องบทเพลงท้องถิ่นเพื่อเฉลิม
ฉลองอีกด้วย
ดอกไม้ประจาชาติ
ดอกบุหงารายา
(Bunga Raya)
อาหารประจาชาติ
นาซิ เลอมัก (Nasi Lemak)
เป็ นข้ าวผัดกับกะทิและ
สมุนไพร พร้ อมกับปลา
กะตักทอด แตงกวาหั่น ไข่
ต้ มสุก และถั่วอบ นิยม
รับประทานเป็นอาหารเช้า
ชุดประจาชาติ
ชาย : สวมเสื้อ "บาราจูกุง" แขนยาว ยาวถึง
เข่า หรือเสื้อ "คะบาย่า" ซึ่งแขนยาวสีสดใส
ฉลุดอกไม้ พอดีตัวปิดถึงสะโพก และนุ่งกับ
โสร่งอาจมีผ้าคล้องคอ รองเท้าแตะ หรือ
แบบสากล
หญิง : สวมเสื้อแขนยาวแบบคอปิดติด
กระดุม และนุ่งกางเกงขายาวสีเดียวกับเสื้อ
ที่เรียกว่าชุด "บาจูมลายู" มีผ้าคาดทับเอว
และสวมหมวกแบบมุสลิมี่เรียกว่า "ซอเกาะ"
สวมรองเท้าหนังแบบสากล
ศิลปวัฒนธรรม
และประเพณี
รสนิยมมีทั้งที่เป็นรสนิยมเฉพาะ
ประเพณีท้องถิ่น เช่น อาหาร
เครื่องนุ่งห่ม เครื่องใช้ เป็นรสนิยม
แบบมาเลย์ (Malay Style) และ
ปฏิบัติตามหลักศาสนาอิสลาม
และรสนิยมสากลจะมีรูปแบบ
เหมือนกับประเทศต่างๆในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้ง
รสนิยมประจาเชื้อชาติเดิมของ
ประชาชนในประเทศ เช่น รูปแบบ
จีน อินเดีย และทมิฬ ทาให้เกิด
ความต้องการอุปโภคบริโภคสินค้า
ต า ม รู ป แ บ บ ร ส นิ ย ม
ขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆกัน
การจับจ่ายซื้อของ
รสนิยม,ความต้องการ
สินค้า พฤติกรรม
ผู้บริโภคทั่วไป
เนื่องจากเศรษฐกิจที่พัฒนาไปในระดับค่อนข้างสูงแล้ว
ทาให้ชาว มาเลเซียมีกาลังซื้อสูง มีแนวโน้มเลือกซื้อ
สินค้าที่อานวยความ สะดวกสบายในชีวิตประจาวัน
มากขึ้น กลุ่มวัยรุ่นให้ความสาคัญกับ เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมใหม่ๆ มีการใช้จ่ายสินค้าไอทีสูงกว่าด้าน
อาหารและการพักผ่อนอื่นๆ คนมาเลเซียมีความโดด
เด่นด้าน เทคโนโลยีและสนใจเรื่องข้อมูลข่าวสาร
มาเลเซียมีความหลากหลายทางเชื้อชาติ กลุ่มหลัก ๆ
คือ ชาว มาเลย์ ชาวจีนและชาวอินเดีย รสนิยมจึง
แบ่งย่อยตามกลุ่มเชื้อชาติ ด้วย แต่กลุ่มผู้บริโภคที่มี
ระดับการศึกษาสูงและรายได้สูงมักสนใจและ ชื่นชอบ
วัฒนธรรมตะวันตก นิยมสินค้าฟุ่มเฟือยเพิ่มขึ้น ด้าน
อาหาร นิยมบริโภคอาหารสด แต่ด้วยความเป็นสังคม
เมืองมากขึ้น อาหารแปร รูปก็เริ่มมีแนวโน้มได้รับความ
นิยม ระหว่างวันมักพักดื่มน้าชาพร้อมอาหารว่างเป็น
ขนมต่างๆ เช่น บิสกิต
พฤติกรรมการเปิดรับสื่อ
พฤติกรรมการใช้ Social Media ของชาวมาเลเซีย พบว่า ช่วงเทศกาลต่างๆ มีผลต่อพฤติกรรมการใช้ Social Network
โดยเฉพาะช่วงต้นเดือนกรกฎาคม ชาวมุสลิมในมาเลเซียเข้าสู่เทศกาลถือศีลอด (Month of Ramadan) ซึ่งส่งผลต่อ
พฤติกรรมการใช้ Social Network ของชาวมาเลเซียมากศึกษาจาก Post ข้อความต่างๆของชาวมาเลเซียกว่า 20,000
โพสต์เพื่อสรุปข้อมูลและศึกษาในแง่ของการตลาด พบว่ามีสิ่งที่น่าสนใจดังนี้
เวลาที่ดีที่สุด ที่โพสต์บน facebook คือ 4ทุ่ม - 5ทุ่ม , ตี5 - 6 โมงเช้า
เวลาที่ดีที่สุด ที่โพสต์บน Twitter คือ 3ทุ่ม - 4ทุ่ม
เวลาที่ดีที่สุด ที่โพสต์บน Instagram คือ 2ทุ่ม - 3ทุ่ม
เพศหญิง คือ 12.30-14.30
นักศึกษา คือ 22.00-02.00
นักเรียน คือ 18.00-21.00
แม่บ้าน คือ 14.00-17.00
หลีกเลี่ยงในการโพสต์
คือ 19.00-20.00 น.ช่วง เพราะคนจะเร่งรีบ , เวลาทานอาหารค่า
และเป็นเวลาละหมาดของชาวมุสลิม
เพศชาย คือ 13.14.00 น. วันศุกร์ (มุสลิมเพศชายทุกทาการ
ละหมาด)
สถานที่จัดกิกรรม
KualaLumpur
Convention Centre
เป็นศูนย์ประชุมและแสดงใน
กัวลาลัมเปอร์มาเลเซีย มัก
เป็นเจ้าภาพการจัดประชุม
และนิทรรศการและกิจกรรม
ความบันเทิง ตัวอาคารได้รับ
การออกแบบด้ วยความ
สมัยใหม่ และ หลังสมัยใหม่
อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ท า ง
สถาปัตยกรรม
สิ่งอานวยความส ะดวก
- ห้องเพลนารี
- โรงละครเพลนารี
- ห้องโถงนิทรรศการ
- หอประชุม
- ห้องบอลรูมโรงแรมแกรนด์
- ห้องจัดเลี้ยง
- ห้องประชุม
- ห้องสวดมนต์
- ATM
- ห้องเลี้ยงดู
- โทรศัพท์สาธารณะ
- Money Changer
Kuala Lumpur Convention Centre
เหตุการณ์ที่ผ่านมาที่สาคัญที่ศูนย์การประชุม
- 12 APLAR สภาคองเกรสของโรค 2006
- 6 เอเชียและโอเชียเนียโรคลมชักสภาคองเกรส 2006
- การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนครั้งที่ 39 2007
- 16 World Congress ในปี 2008 เทคโนโลยีสารสนเทศ
- เซลล์ต้นกาเนิดและการประชุมภูมิคุ้มกัน 2009
- เอเชียแปซิฟิกย่อยอาหารสัปดาห์ 2010
- Greentech นานาชาติ & Eco Products Exhibition &
Conference
- 18 เอเชียแปซิฟิกสภาคองเกรสของโรคหัวใจ 2011
- 102 โรตารีประชุมนานาชาติ
- ประชุมสุดยอด 2013 ผู้ประกอบการทั่วโลก 2013
Kuala Lumpur Convention Centre
BrandLaureate รางวัล 2007-2008 ยี่ห้อเลิศ
ในการสร้างแบรนด์สินค้า. -ศูนย์การประชุม
รางวัล
ศูนย์การประชุมที่ดีที่สุดในเอเชีย" โดย CEI
อุตสาหกรรม Award 2009
ที่ดีที่สุดทีม MICE ขาย (Joint สาม)"
โดย CEI อุตสาหกรรม Award 2009
นิทรรศการดีที่สุดศูนย์การประชุมและในเอเชีย"
โดย TravelWeekly (เอเชีย) อุตสาหกรรม Awards
2007
นิทรรศการดีที่สุดศูนย์การประชุมและใน
เอเชีย" โดย TravelWeekly รางวัล (เอเชีย)
อุตสาหกรรม 2008
Kuala Lumpur Convention Centre
แคมเปญการสื่อสารแบรนด์ที่ได้รับความนิยม
Visit Malaysia Year 2014
ปีแห่งการท่องเที่ยวมาเลเซีย 2014 (Visit Malaysia Year 2014)
- แคมเปญส่งเสริมการท่องเที่ยวมาเลเซีย ในปี 2014 ในธีม “เฉลิมฉลอง วันมาเลเซีย ที่สุด
แห่งเอเชีย” เพื่อสะท้อนความหลากหลายที่หลอมรวมเป็นหนึ่งเดียวของคนมาเลเซีย
แคมเปญนี้ประสบความสาเร็จอย่างสูงเห็นวัดได้จากจานวนนักท่องเที่ยว 7.4 ล้านคน ที่
มากขึ้นกว่าปีที่แล้วที่ได้ 4.6 ล้านคน
ลิงอุรังอุตังคือมาสคอตประจาแคมเปญดังกล่าวเพื่อให้นักท่องเที่ยวจดจาภาพของ
มาเลเซียได้ง่าย โดยลิงตัวนี้ได้รับเลือกเป็นมาสคอตของการท่องเที่ยวโดยใช้ชื่อว่า วีร่า
แคมเปญการสื่อสารแบรนด์ที่ได้รับความนิยม
Year of Festivals 2015
ปีแห่งเทศกาล 2015
เป็นแคมเปญที่ดาเนินต่อมาจากแคมเปญปีแห่งการท่องเที่ยวมาเลเซีย 2014 ก่อนหน้านี้
โดยครั้งนี้กระทรวงการท่องเที่ยวและวัฒนธรรมของมาเลเซียได้กาหนดให้ปีนี้เป็น
“Malaysia Year of Festivals 2015 หรือ MyFest 2015 ด้วยธีม Endless Celebrations
หรือการเฉลิมฉลองที่ไม่มีวันสิ้นสุด MyFest 2015 จะเป็นการประกาศก้องให้ทราบโดยทั่ว
กันว่ามหกรรมการเฉลิมฉลองที่ยิ่งใหญ่ระดับประเทศกาลังจะเกิดขึ้นอีกครั้งในทุกๆ
ประเภทไม่ว่าจะเป็นเรื่องวัฒนธรรม ชอปปิ้ง เทศกาล แหล่งท่องเที่ยว อาหารและอื่นๆอีก
มากมาย
โลโก้ MyFest 2015 บ่งบอกถึงพื้นฐานของ 1Malaysia และโลโก้ Visit
Malaysia Year 2014 ที่เน้นความตระการตาแห่งสีสัน รสชาติ แสงสี
เสียงและความเป็นเอเชียที่รวมทั้งหมดอยู่ใน 1Malaysia อันสืบ
เนื่องมาจากมรดกทางความหลากหลายของเชื้อชาติซึ่งรวมไปถึง
วัฒนธรรมอันโดดเด่น แบรนด์ใหม่นี้แสดงถึงความอบอุ่นและความยินดี
ที่ได้ต้อนรับทุกๆท่านเพื่อตอกย้าแนวคิดว่า “เราคือเจ้าบ้าน” รูปกลอง เร
บาน่า อูบี (Rebana Ubi) ในโลโก้บ่งบอกถึงการใช้กลองที่ปรากฎในทุก
เทศกาลและทุกชนชาติในมาเลเซีย
นางสาวศุภธิดา มีทอง 1560312686
นางสาวสุชาดา ทองแถม 1560314732
นางสาวอรอนงค์ ทองกะจ่าง 1560315168
นายภณฉัตร พรโสภณ 1560315879

More Related Content

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

Featured

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
Marius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
Expeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Pixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
ThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
marketingartwork
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
Skeleton Technologies
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
SpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Lily Ray
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
Rajiv Jayarajah, MAppComm, ACC
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
Christy Abraham Joy
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
Vit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
MindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
RachelPearson36
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

BDC412มาเลเซีย

  • 1.
  • 2. ประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้ รัฐธรรมนูญ ตั้งอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 แห่ง และดินแดน สหพันธ์ 3 แห่ง มีพื้นที่รวม 329,847 ตาราง กิโลเมตร โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นที่ ออกเป็น 2 ส่วน คือ มาเลเซีย ตะวันตก และมาเลเซีย ตะวันออก มาเลเซียตะวันตก
  • 3. ที่ตั้ง อยู่ในเขตเส้นศูนย์สูตร ประกอบด้วยดินแดน สองส่วน คือ มาเลเซีย ตะวันตก ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู ประกอบด้วย11 รัฐ คือ ปะหัง สลังงอร์ เนกรีเซมบิลัน มะละกา ยะโฮร์ เประ กลันตัน ตรังกานู ปีนัง เกดะห์ และปะลิส มาเลเซีย ตะวันออก ตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว (กา ลิมันตัน) ประกอบด้วย 2 รัฐ คือ ซาบาห์ และซาราวัก นอกจากนี้ยังมีเขตการปกครองภายใต้สหพันธรัฐ อีก 3 เขต คือ กรุงกัวลาลัมเปอร์ (เมืองหลวง) เมืองปุตราจา ยา (เมืองราชการ) และเกาะลาบวน
  • 5. 1. แถบริ้วสีแดง และสีขาว ทั้ง 14 ริ้ว หมายถึง สถานะอันเสมอภาคของรัฐ สมาชิกทั้ง 13 รัฐ ภายในประเทศ มาเลเซีย 2. ดาว 14 แฉก หมายถึง ความเป็น เอกภาพในหมู่รัฐดังกล่าวทั้งหมด ธงชาติประเทศมาเลเซีย
  • 6. พื้นที่ 329,758 ตารางกิโลเมตร ประชากร จานวน 26.24 ล้านคน ศาสนา อิสลาม (ศาสนาประจาชาติ ) ร้อยละ 60.4 พุทธ ร้อยละ 19.2 คริสต์ ร้อยละ 11.6 ฮินดู ร้อย ละ 6.3 อื่น ๆ ร้อยละ 2.5 เมืองหลวง กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมืองราชการ เมืองปุตราจายา ภูมิอากาศ ร้อนชื้น อุณหภูมิเฉลี่ย 28 องศาเซลเซียส ภาษา ราชการ ภาษามาเลย์ อื่นๆ ภาษาอังกฤษ จีน และทมิฬ หน่วยเงินตรา ริงกิตมาเลเซีย ประมาณ 10.42 บาท/1 ริงกิต
  • 7. มาเลเซียมีหลากหลายเชื้อชาติส่วนใหญ่ ของประเทศคือ ชนเชื้อมาเลย์ รองลงมาคือ จีน และอินเดีย นอกจากนั้นคือชนพื้นเมือง ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ซึ่ง ถือเป็นศาสนาประจาชาติ รองลงมาคือ ศาสนาพุทธนิกายมหายาน นอกจากนี้คือ ศาสนาฮินดู และคริสต์ และศาสนาอื่น ๆ จานวนประชากรประมาณ 30.1 ล้านคน ประชากรส่วนใหญ่เป็นชนเสื้อสายมาเลย์ ประชากร GDP ต่อหัวประชากร รายได้ต่อหัวต่อปีUS dollarคือ 8,617(301,595บาท)
  • 8. เชื้อสายชาวทมิฬ เชื้อสายไทย เชื้อสายชวา ชาวอินเดียกลุ่มอื่น อย่างเกรละ, ปัญจาบ , คุชราต และปาร์ซี ชาวมลายู (ชาวภูมิบุตร ) คือชนดั้งเดิม ร้อยละ 50.4 ชนเผ่าในรัฐซาราวัก และรัฐซาบาห์ ร้อยละ 11 มาเลเซียเชื้อสายจีน ร้อยละ 23.7 ชาวมาเลเซีย เชื้อสายอินเดีย ร้อยละ 7.1 ลักษณะประชากร
  • 9. ยุคหินใหม่คนอพยพมาจากจีนตอนใต้เข้ามาสู่บริเวณนี้ และด้วยความที่มีเครื่องมือทันสมัยกว่า รู้ จักวิธี เพาะปลูกจึงขับไล่พวกที่มาอยู่ก่อนเข้าไปในภูเขาและ ป่าชั้นในของแหลมมลายู หลังจากนั้นราว 300 ปีก่อน คริสต์ศักราช กลุ่มคนยุคเหล็กและยุคสาริด ใช้โลหะเป็น อาวุธ รู้จักค้าขาย ก็มาขับไล่พวกเดิมอีก พวกที่มาใหม่นี้ กลายเป็นบรรพบุรุษโดยตรงของชาวมาเลเซียใน ปัจจุบัน และด้วยหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของ มาเลเซียในยุคโบราณมีไม่มาก นักประวัติศาสตร์จึงมัก ถือเอาช่วงเวลาที่ มะละกา ปรากฏตัวขึ้นเป็นศูนย์กลาง การค้าที่สาคัญและเป็นจุดเริ่มต้นของประวัติศาสตร์ มาเลเซีย ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ประเทศมาเลเซียปัจจุบันไม่ค่อยมีหลักฐานแสดงความ ยิ่งใหญ่ในอดีตเหมือนประเทศอื่นๆ ในเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ หลักฐานทางโบราณคดีเก่าแก่ที่สุดที่พบได้แก่ กะโหลก ศีรษะมนุษย์ ยุคโฮโมเซเปียน ในถ้านียะห์ รัฐซาราวัก โรงเครื่องมือหินที่บ่งชี้ว่ามนุษย์ยุคแรกเริ่มเป็นนักล่าสัตว์ และผู้เพาะปลูกเร่ร่อน ยุคหินกลาง อาศัยตามเพิงหินและถ้าในภูเขาหินปูน ของคาบสมุทร ใช้เครื่องมือหินตัดบดและล่าสัตว์ป่า ประวัติศาสตร์ ภาพวาดเมืองมะละกาช่วงปี 1750
  • 10. ประวัติศาสตร์ พงศาวดารมลายูกล่าวว่ากษัตริย์ปรเมศวรเป็นผู้ตั้งชื่อเมืองนี้ตามชื่อต้นมะละกา ( A Malaka tree-ต้นมะขาม ป้อม) ซึ่งในขณะที่พระองค์ทรงผักผ่อนใต้ร่มต้นไม้นี้ได้ทอดพระเนตรเห็นกระจงหันเตะสุนัขล่าสัตว์ แสดงให้เห็น ว่าพื้นที่นี้แม้แต่สัตว์ก็ยังมีเลือดนักสู้ จึงเป็นลางที่ดีที่ทาให้พระองค์ตัดสินใจตั้งหลักปักฐานที่นี่ และสร้างมะละกา ให้กลายเป็นอาณาจักรชายฝั่งทะเลที่รุ่งเรืองต่อมา อีกคาสันนิษฐานหนึ่งกล่าวว่ามะละกามาจากคาอาหรับที่ว่า มะละกัด (Malakat) หรือศูนย์กลางการค้าอันเป็นชื่อที่พ่อค้ามักใช้เรียกเกาะวอเตอร์ (Water Island)ที่อยู่ใกล้ๆ นานแล้ว มะละกาจุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ของมาเลเซีย มะละกาเป็นเมืองท่าสาคัญ ก่อตั้งขึ้นประมาณ ค.ศ. 1400 ตั้งอยู่บนช่องแคบมะละกาซึ่งคร่อม เส้นทางการค้าสาคัญทางทะเลจากตะวันออกสู่ตะวันตก ระหว่างสองเมืองสาคัญอย่างจีนกับ อินเดีย ถือเป็นท่าเรือที่ดีเพราะไม่มีป่าโกงกาง น้าลึกพอให้เรือเทียบท่าและมีเกาะสุมาตราเป็นที่ กาบังพายุ
  • 11. สมเด็จพระราชาธิบดี คือ สมเด็จ พระราชาธิบดีสุลต่าน ตวนกู อับดุล ฮาลิม มูอัซซอม ซาห์ ประมุข ประมุขอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ มาจาก การเลือกตั้งสุลต่าน 9 รัฐ ได้แก่ ยะ โฮร์ ตรังกานู ปะหัง สลังงอร์ เกดะห์ กลันตัน เนกรีเซมบีลัน เประ และปะ ลิส ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนขึ้นดารง ตาแหน่ง วาระละ 5 ปี ส่วนอีก 4 รัฐ คือ ปีนัง มะละกา ซาบาร์ และซารา วัก ไม่มีสุลต่านปกครอง การเมือง การปกครอง อีกทั้งยังเป็นผู้มีอิทธิพลทาง ความคิด (Influcncer)
  • 12. ดาโต๊ะซรี ฮัจญี โมฮัมมัด นาจิบ บิน ตน ฮัจญี อับดุล ราซะก์ หรือ นายนาจิบ ราซะก์ เป็นนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบันของประเทศมาเลเซีย หรือเป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 6 ของประเทศ ปัจจุบันอายุ 59 ปี เกิดมาในครอบครัวนักการเมือง เคยดารงตาแหน่ง รองนายกรัฐมนตรี และสังกัดพรรคอัมโน นายกรัฐมนตรี นายนาจิบ ราซะก์
  • 13. การเมือง การปกครอง มาเลเซียมีการปกครองแบบสหพันธรัฐ มีรัฐบาล กลางทาหน้ าที่ดูแลเรื่องสาคัญๆ เช่น การ ต่างประเทศ การป้องกันประเทศ ความมั่นคง ตุลา การ การคลัง และอื่นๆ ขณะที่ในแต่ละรัฐมีรัฐบาล ของรัฐดูแลด้ านศาสนา ประเพณี สังคม เกษตรกรรม การคมนาคมภายในรัฐ บางรัฐเช่น กลันตัน มีระบบราชการในรูปแบบของตนเอง นอกจากนี้ในแต่ละรัฐจะมีสภาแห่งรัฐที่มาจากการ เลือกตั้งทุกๆ 4 ปี เหมือนกันหมด
  • 14. นายกรัฐมนตรีเป็นผู้นาสูงสุด มา จากหัวหน้าพรรคการเมืองที่ สมาชิกได้รับเลือกเข้ามานั่งในสภา มากที่สุด ต้องเป็นพลเมืองของ สหพันธรัฐโดยกาเนิดเท่านั้น และ ต้องเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร นายกรัฐมนตรีสามารถแต่งตั้ง บุคคลเข้าดารงตาแหน่งผู้บริหาร ระดับสุงสุดในระบบราชการ ฝ่ายบริหาร องค์กรที่มีอานาจหน้าที่ด้านนิติ บัญญัติของมาเลเซียคือรัฐสภา รัฐสภาจะทาหน้าพิจารณากฎหมาย ต่างๆ และทาการแก้ไขกฎหมายที่มี อยู่ รวมถึงตรวจสอบนโยบายของ รัฐบาล กฎหมายต่างๆที่ออกโดย รัฐสภาของมาเลเซียประกอบด้วย สองสภา ฝ่ายนิติบัญญัติ สถาบันทางตุลาการทั้งประเทศ ยกเว้ นศาลอิสลาม อยู่ใต้ ระบบ สหพันธรัฐ อานาจตุลาการเป็นอิสระ ปราศจากการแทรกแซงโดยฝ่ายบริหาร และฝ่ายนิติบัญญัติ สถาบันตุลาการสูงสุดหรือศาลฎีกา ทาหน้าที่รับข้อพิจารณาเรื่องอุทธรณ์ จากการตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญ รวมถึงคอยไกล่เกลี่ยความขัดแย้ง ระหว่างรัฐกับรัฐ จากศาลสูงสุดไล่ลง มาเป็นขั้นๆ จนถึงระดับท้องถิ่นที่ ประชาชนสามารถร้องเรียน ฝ่ายตุลาการ การเมือง การปกครอง
  • 15. การแบ่งเขตการปกครอง ประเทศมาเลเซียเป็นประเทศสหพันธรัฐ แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 13 รัฐ และ 3 ดินแดนสหพันธ์ โดย 11 รัฐ กับ 2 ดินแดนสหพันธ์ อยู่ในมาลเซีย ตะวันตก และอีก 2 รัฐ กับ 1 ดินแดนสหพันธ์ อยู่ในมาเลเซียตะวันออก แต่ละ รัฐแบ่งเป็นเขต แต่ละเขตแบ่งเป็นมูกิม (mukim) ในรัฐซาบาห์และรัฐซาราวัก เขตในรัฐจะถูกจัดกลุ่มโดยบะฮะกียัน ดินแดนสหพันธ์เป็นดินแดนที่รัฐบาล กลางปกครอง ได้แก่ กัวลาลัมเปอร์ เมืองปูตราจายา (เมืองราชการ) และลาบ วน (ศูนย์กลางทางการเงินระหว่างประเทศนอกชายฝั่ง) โดยทั้งกัวลาลัมเปอร์ และปูตราจายาอยู่ในพื้นที่รัฐสลังงอร์ ส่วนลาบวนอยู่ใกล้รัฐซาบาร์ การแบ่งเขตการปกครอง
  • 16. ตั้งแต่สมัยอาณานิคม การส่งออกดีบุก ยางพารา และน้ามัน ปาล์มเป็นเศรษฐกิจหลัก แต่เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 1 ญี่ปุ่น ควบคุมประเทศ อุตสาหกรรมหลัก ซบเซาลง และเมื่อสงคราม สิ้นสุด ยางพาราและน้ามันปาล์มก็กลับมาเป็นสินค้าส่งออก สาคัญ ปัญหาเศรษฐกิจสาคัญ คือ การว่างงานและความยากจน โดยเฉพาะกลุ่มชาวมลายูในชนบท รัฐบาลจึงพยายามพัฒนา ที่ดินและสร้างสิ่งอานวยความสะดวก เช่น ถนนหนทาง โรงเรียน ในขณะที่ชาวจีนซึ่งถือว่าเป็นคนมาอยู่ใหม่มีฐานะทางเศรษฐกิจ ดีกว่าชาวมลายูที่อยู่มาก่อน ความเหลื่อมล้านาไปสู่ความ ขัดแย้งทางเชื้อชาติ รับเอกราชในปี ค.ศ. 1957 เศรษฐกิจของมาเลเซียติบโตขึ้น เริ่มเป็นทาอุตสาหกรรมที่หลากหลายและทันสมัยมากขึ้น มี นโยบายเศรษฐกิจใหม่ (New Economic Policy-NEP) โดย เนื้อหาสาคัญคือ ให้สิทธิพิเศษแก่พวก "ภูมิบุตร" หรือพลเมือง เชื้อสายมลายูเช่น กาหนดสัดส่วนข้าราชการส่วนใหญ่ให้เป็น ชาวมลายู สิทธิการเข้าเรียน จัดแบ่งที่อยู่อาศัยแก่พลเมืองเชื้อ สายมลายูก่อนพลเมืองเชื้อสายจีนหรืออินเดีย นโยบายดังกล่าวทาให้เศรษฐกิจดีขึ้น แต่พลเมืองของ ประเทศมาเลเซียทั้งเชื้อชาติมลายู อินเดียและจีน ไม่พอใจ NEP พราะเป็นนโยบายที่เลือกปฏิบัติ เศรษฐกิจ
  • 17. ในปี ค.ศ. 2010 นายกรัฐมนตรี นาจิบ ราซัค ที่มาจาก พรรคอัมโนยกเลิกข้อบังคับสิทธิพิเศษแก่ชาวมลายูและ ประกาศต้นแบบเศรษฐกิจใหม่ (New Economic Model- NEM) เป็นพื้นฐานนโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจ (Economic Transformation Program-ETP) หลักการNEM ได้แก่ การ เพิ่มรายได้ให้ประชาชน กระจายรายได้และผลประโยชน์ให้ ครอบคลุมทุกภาคส่วน และให้มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน นโยบายหรือการลงทุนต่างๆต้องคานึงถึงผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม ปัจจุบันมุ่งให้ความสาคัญแก่อุตสาหกรรมไฟฟ้าและ อิเล็กทรอนิกส์ น้ามันชีวภาพ เครื่องสาอาง และพลาสติก อุตสาหกรรมน้ามันและก๊าซพลังงานธรรมชาติ อุตสาหกรรม ภาคบริการ เกษตรกรรม พลังงานทางเลือก รวมถึง อุตสาหกรรมสร้างสรรค์ อย่าง เพลง ภาพยนตร์ ศิลปะ และ การแสดงด้วย นอกจากนี้ยังมีการวางแผนที่จะเป็นศูนย์กลาง ของภูมิภาคในด้านเทคโนโลยีชีวภาพ และวิทยาศาสตร์ ชีวภาพ รวมถึงเป็นศูนย์ทางการเงินของอิสลามเศรษฐกิจ
  • 18. ยุทธศาสตร์ของ NEM 8 ประการ 1. ผลักดันให้ภาคเอกชนเป็นผู้ขับเคลื่อนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 2. เพิ่มคุณภาพของแรงงานชาวมาเลเซีย และลดการพึ่งพาแรงงานต่างชาติ 3. ส่งเสริมการแข่งขันภายในมาเลเซีย 4. สร้างความแข้มแข็งให้ระบบราชการ 5. ให้สิทธิพิเศษสาหรับผู้ด้อยโอกาศอย่างโปร่งใส และเป็นมิตรกับระบบตลาด 6. สร้างความรู้และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 7. ส่งเสริมปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 8. ส่งเสริมการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน
  • 19. นายกรัฐมนตรีนาจิบได้ริเริ่ม นโยบายการปฏิรูปและพัฒนา ให้มาเลเซียก้าวไปสู่ประเทศที่ พัฒนาแล้ว ให้มีรายได้มวล รวมประชาชาติ (Gross National Income – GNI) 15,000 ดอลลาร์สหรัฐต่อคน ต่อปีตามวิสัยทัศน์ พ.ศ.2563 หรือ Vision 2020 นโยบายหลัก ในการปฏิรูปและ พัฒนามาเลเซีย แนวคิดและนโยบายเป็น 4 เสาหลัก Pillars 1.หนึ่งมาเลเซีย ประชาชนมาก่อน และ ปฏิบัติทันที (One Malaysia, People First, Performance Now) เป็นแนวคิด เพื่อส่งเสริมความเป็นเอกภาพของ ประเทศชาติ การยอมรับชาวมาเลเซียต่าง เชื้อ และรัฐบาลที่มีประสิทธิภาพ โดยจะ ส่งเสริมคุณค่า 8 ประการในสังคม มาเลเซีย ได้แก่ 1) ความมานะบากบั่น 2) การยอมรับ 3) การศึกษา 4) ความซื่อตรง 5) ระบบสังคมเชื่อการทาความสาเร็จด้วยตนเอง 6) ความอ่อนน้อมถ่อมตน 7) ความจงรักภักดี 8) วัฒนธรรม ด้านความเป็นเลิศ
  • 20. 2.โปรแกรมการปฏิรูปการปกครอง (Government Transformation Program – GTP) เป็นนโยบาย ปรับปรุงและปฏิรูปการทางาน และ การให้บริการของภาครัฐให้ ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และ ตอบสนองความต้องการของ ประชาชน โดยกาหนดประสิทธิผล สาคัญระดับชาติ (National Key Result Areas – NKRA) 7 ประการ 1) ลดอาชญากรรม 2) ต่อต้านการคอรัปชั่น 3) ปรับปรุงผลการศึกษา 4) ยกระดับความเป็นอยู่ของ ประชากรที่มีรายได้ต่า 5) อัตราค่าครองชีพที่สูงขึ้น 6) ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานใน พื้นที่ชนบท 7) ปรับปรุงระบบขนส่งมวลชนใน เมืองใหญ่ แต่ละเป้าหมายหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องจะจัดทาตัวชี้วัด (Key Performance Indicators – KPIs) และดาเนินโครงการต่างๆ ตามเป้าหมาย รัฐบาลมาเลเซีย ได้จัดตั้งหน่วยการบริหารจัดการ การปฏิบัติการและส่งมอสังกัด สานักนายกรัฐมนตรีให้เป็น หน่วยงานหลักในการติดตาม การดาเนินการ นโยบายหลัก ในการปฏิรูปและ พัฒนามาเลเซีย
  • 21. 3. แนวคิดเศรษฐกิจใหม่ (New Economic Model – NEM) เป็นส่วนประกอบที่เป็น พื้นฐานสาหรับนโยบายการปฏิรูปด้าน เศรษฐกิจ ทั้งเป็นแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจ ซึ่งนายกรัฐมนตรีราจิบได้มอบหมายให้สภาที่ ปรึกษาเศรษฐกิจแห่งชาติ เป็นผู้ศึกษาและ เสนอต่อรัฐบาล โดยมี จุดประสงค์หลัก 3 ประการ 1)การเพิ่มรายได้ 2)การกระจายรายได้และผลประโยชน์ ให้ครอบคลุมทุกภาคส่วน 3)และการพัฒนาอย่างยั่งยืน และ กาหนดยุทธศาสตร์การปฏิรูป Strategic Reform Initiatives – SRIs8 ประการ เพื่อให้ เศรษฐกิจมาเลเซียบรรลุเป้าหมายตาม NEM 1) ผลักดันให้ภาคเอกชนเป็นผู้ขับเคลื่อนการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ 2) เพิ่มคุณภาพแรงงานชาวมาเลเซีย และลดการพึ่งพา แรงงานต่างชาติ 3) สร้างสรรค์เศรษฐกิจเพื่อการแข่งขันภายในมาเลเซีย 4) สร้างความแข็งแกร่งให้ระบบราชการ 5) ให้สิทธิพิเศษสาหรับผู้ด้อยโอกาสที่โปร่งใสและเป็นมิตรกับ ระบบตลาด 6) การสร้างคลังความรู้และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 7) ส่งเสริมปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และ 8) ส่งเสริมการเจริญเติบโตแบบยั่งยืน
  • 22. 4. แผนมาเลเซียฉบับที่ 10 แผนพัฒนาประเทศ ระยะเวลา 5 ปี ระหว่างปี พ.ศ.2554-2558 โดย เป้าหมายหลักคือ การพัฒนามาเลเซียให้ก้าวไปสู่ ประเทศที่มีรายได้สูง (High Income Country) งบประมาณ 230 ล้านริงกิต โดยแบ่งสัดส่วนด้าน เศรษฐกิจร้อยละ 55 สังคมร้อยละ 30 ความมั่นคง ร้อยละ 10 บริหารจัดการทั่วไปร้อยละ 5 เป้าหมาย ทางเศรษฐกิจ GDP ขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ 6 ต่อปี GNI เพิ่มเป็น 12,139 ดอลลาร์สหรัฐ (38,845 ริง กิต) ต่อคนต่อปี ในปี พ.ศ.2558 การลงทุนภาคเอกชนขยายตัว ร้อยละ 12.8 ต่อปี การบริโภคภาคเอกชน ขยายตัวร้อยละ 7.7 ต่อปี การลงทุนภาครัฐ ขยายตัวร้อยละ 5 ต่อปี การบริโภคภาครัฐ ขยายตัวร้ อยละ 4.8 ต่อปี การขาดดุล งบประมาณลดลงเหลือร้อยละ 2.8 ของ GDP ในปี พ.ศ.2558 การส่งออกขยายตัวร้อยละ 7.2 ต่อปี การนาเข้าขยายตัวร้อยละ 8.6 ต่อปี นโยบายหลัก ในการปฏิรูปและ พัฒนามาเลเซีย
  • 23. บุคคลสาคัญที่ส่งผลต่อพฤติกรรม วัฒนธรรม วิถีชีวิต นายกรัฐมนตรีคนแรก ของประเทศมาเลเซียผู้นาการเรียกร้อง เอกราชให้แก่ประเทศมาเลเซียได้สาเร็จจนได้รับยกย่องเป็น บิดาแห่งประเทศมาเลเซียหรือ PaPa of Malaysia ตนกู อับดุล ราห์มาน Tunku Abdul Rahman นายกรัฐมนตรีคนแรก ของประเทศมาเลเซีย
  • 24. บุคคลสาคัญที่ส่งผลต่อพฤติกรรม วัฒนธรรม วิถีชีวิต ดร.มหาเธร์ บิน โมฮัมหมัด Dr.Mahathir bin Mohamad อดีตนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงมหาดไทยของประเทศมาเลเซีย นายกรัฐมนตรีคนที่ 4 ดารงตาแหน่งยาวนานที่สุด เป็นผู้ วางรากฐานพัฒนาประเทศในรูปแบบของแผนพัฒนาประเทศที่ มีชื่อว่า VISION 2020 ซึ่งเป็นผู้นามาเลเซียสู่ความเจริญ ทัดเทียมนานาประเทศ เพราะตลอดระยะการทางานเป็น นายกรัฐมนตรีของ มหาเธร์ มาเลเซียเป็นประเทศที่มี อัตราการ เจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ สูงจนหน้าจับตาของโลก
  • 25. มาเลเซียประกอบด้วยชนจากหลายเผ่า พันธ์ุุ (พหุสังคม)บนแหลมมลายูมากว่า 1,000 ปี ประกอบด้วยเชื้อชาติใหญ่ๆ 3 กลุ่ม คือ ชาวมลายู ชาวจีน และชาวอินเดีย อาศัยอยู่บนแหลมมลายู ด้วยประชากรหลากหลายเชื้อชาติ ภายในประเทศ ทาให้เกิดการหล่อหลอม ของวัฒนธรรมและส่งผลต่อ การดารงชีวิต ของชาวมาเลเซีย จึงเกิดประเพณีที่สาคัญ มากมาย ศิลปวัฒนธรรม และประเพณี การราซาบิน (Zapin) เป็นการแสดงการฟ้อนราหมู่ ซึ่งเป็น ศิลปะพื้นเมืองของชาวมาเลเซีย โดย เป็นการฟ้อนราที่ได้รับอิทธพลมา จาก ดินแดนอาระเบีย โดยมีผู้แสดง เป็นหญิง ชาย จานวน 6 คู่ เต้นตาม จังหวะของกีตาร์แบบอาระเบีน และ กลอง เล็กสองหน้าที่บรรเลงจากช้า ไปเร็ว เทศกาลทาเดา คาอามาตัน เป็นเทศกาลประจาปีในรัฐซาบาห์ จัด ในช่วงสิ้นเดือนพฤษภาคม ซึ่งเป็น ช่วงสิ้นสุดของฤดูการเก็บเกี่ยวข้าว และเริ่มต้นฤดูกาลใหม่ โดยจะมี พิธีกรรมตามความเชื่อในการทา เกษตร และมีการแสดงระบาพื้นเมือง และขับร้องบทเพลงท้องถิ่นเพื่อเฉลิม ฉลองอีกด้วย
  • 26. ดอกไม้ประจาชาติ ดอกบุหงารายา (Bunga Raya) อาหารประจาชาติ นาซิ เลอมัก (Nasi Lemak) เป็ นข้ าวผัดกับกะทิและ สมุนไพร พร้ อมกับปลา กะตักทอด แตงกวาหั่น ไข่ ต้ มสุก และถั่วอบ นิยม รับประทานเป็นอาหารเช้า ชุดประจาชาติ ชาย : สวมเสื้อ "บาราจูกุง" แขนยาว ยาวถึง เข่า หรือเสื้อ "คะบาย่า" ซึ่งแขนยาวสีสดใส ฉลุดอกไม้ พอดีตัวปิดถึงสะโพก และนุ่งกับ โสร่งอาจมีผ้าคล้องคอ รองเท้าแตะ หรือ แบบสากล หญิง : สวมเสื้อแขนยาวแบบคอปิดติด กระดุม และนุ่งกางเกงขายาวสีเดียวกับเสื้อ ที่เรียกว่าชุด "บาจูมลายู" มีผ้าคาดทับเอว และสวมหมวกแบบมุสลิมี่เรียกว่า "ซอเกาะ" สวมรองเท้าหนังแบบสากล ศิลปวัฒนธรรม และประเพณี
  • 27. รสนิยมมีทั้งที่เป็นรสนิยมเฉพาะ ประเพณีท้องถิ่น เช่น อาหาร เครื่องนุ่งห่ม เครื่องใช้ เป็นรสนิยม แบบมาเลย์ (Malay Style) และ ปฏิบัติตามหลักศาสนาอิสลาม และรสนิยมสากลจะมีรูปแบบ เหมือนกับประเทศต่างๆในภูมิภาค เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้ง รสนิยมประจาเชื้อชาติเดิมของ ประชาชนในประเทศ เช่น รูปแบบ จีน อินเดีย และทมิฬ ทาให้เกิด ความต้องการอุปโภคบริโภคสินค้า ต า ม รู ป แ บ บ ร ส นิ ย ม ขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆกัน การจับจ่ายซื้อของ รสนิยม,ความต้องการ สินค้า พฤติกรรม ผู้บริโภคทั่วไป เนื่องจากเศรษฐกิจที่พัฒนาไปในระดับค่อนข้างสูงแล้ว ทาให้ชาว มาเลเซียมีกาลังซื้อสูง มีแนวโน้มเลือกซื้อ สินค้าที่อานวยความ สะดวกสบายในชีวิตประจาวัน มากขึ้น กลุ่มวัยรุ่นให้ความสาคัญกับ เทคโนโลยีและ นวัตกรรมใหม่ๆ มีการใช้จ่ายสินค้าไอทีสูงกว่าด้าน อาหารและการพักผ่อนอื่นๆ คนมาเลเซียมีความโดด เด่นด้าน เทคโนโลยีและสนใจเรื่องข้อมูลข่าวสาร มาเลเซียมีความหลากหลายทางเชื้อชาติ กลุ่มหลัก ๆ คือ ชาว มาเลย์ ชาวจีนและชาวอินเดีย รสนิยมจึง แบ่งย่อยตามกลุ่มเชื้อชาติ ด้วย แต่กลุ่มผู้บริโภคที่มี ระดับการศึกษาสูงและรายได้สูงมักสนใจและ ชื่นชอบ วัฒนธรรมตะวันตก นิยมสินค้าฟุ่มเฟือยเพิ่มขึ้น ด้าน อาหาร นิยมบริโภคอาหารสด แต่ด้วยความเป็นสังคม เมืองมากขึ้น อาหารแปร รูปก็เริ่มมีแนวโน้มได้รับความ นิยม ระหว่างวันมักพักดื่มน้าชาพร้อมอาหารว่างเป็น ขนมต่างๆ เช่น บิสกิต
  • 28. พฤติกรรมการเปิดรับสื่อ พฤติกรรมการใช้ Social Media ของชาวมาเลเซีย พบว่า ช่วงเทศกาลต่างๆ มีผลต่อพฤติกรรมการใช้ Social Network โดยเฉพาะช่วงต้นเดือนกรกฎาคม ชาวมุสลิมในมาเลเซียเข้าสู่เทศกาลถือศีลอด (Month of Ramadan) ซึ่งส่งผลต่อ พฤติกรรมการใช้ Social Network ของชาวมาเลเซียมากศึกษาจาก Post ข้อความต่างๆของชาวมาเลเซียกว่า 20,000 โพสต์เพื่อสรุปข้อมูลและศึกษาในแง่ของการตลาด พบว่ามีสิ่งที่น่าสนใจดังนี้ เวลาที่ดีที่สุด ที่โพสต์บน facebook คือ 4ทุ่ม - 5ทุ่ม , ตี5 - 6 โมงเช้า เวลาที่ดีที่สุด ที่โพสต์บน Twitter คือ 3ทุ่ม - 4ทุ่ม เวลาที่ดีที่สุด ที่โพสต์บน Instagram คือ 2ทุ่ม - 3ทุ่ม เพศหญิง คือ 12.30-14.30 นักศึกษา คือ 22.00-02.00 นักเรียน คือ 18.00-21.00 แม่บ้าน คือ 14.00-17.00 หลีกเลี่ยงในการโพสต์ คือ 19.00-20.00 น.ช่วง เพราะคนจะเร่งรีบ , เวลาทานอาหารค่า และเป็นเวลาละหมาดของชาวมุสลิม เพศชาย คือ 13.14.00 น. วันศุกร์ (มุสลิมเพศชายทุกทาการ ละหมาด)
  • 30. สิ่งอานวยความส ะดวก - ห้องเพลนารี - โรงละครเพลนารี - ห้องโถงนิทรรศการ - หอประชุม - ห้องบอลรูมโรงแรมแกรนด์ - ห้องจัดเลี้ยง - ห้องประชุม - ห้องสวดมนต์ - ATM - ห้องเลี้ยงดู - โทรศัพท์สาธารณะ - Money Changer Kuala Lumpur Convention Centre
  • 31. เหตุการณ์ที่ผ่านมาที่สาคัญที่ศูนย์การประชุม - 12 APLAR สภาคองเกรสของโรค 2006 - 6 เอเชียและโอเชียเนียโรคลมชักสภาคองเกรส 2006 - การประชุมรัฐมนตรีอาเซียนครั้งที่ 39 2007 - 16 World Congress ในปี 2008 เทคโนโลยีสารสนเทศ - เซลล์ต้นกาเนิดและการประชุมภูมิคุ้มกัน 2009 - เอเชียแปซิฟิกย่อยอาหารสัปดาห์ 2010 - Greentech นานาชาติ & Eco Products Exhibition & Conference - 18 เอเชียแปซิฟิกสภาคองเกรสของโรคหัวใจ 2011 - 102 โรตารีประชุมนานาชาติ - ประชุมสุดยอด 2013 ผู้ประกอบการทั่วโลก 2013 Kuala Lumpur Convention Centre
  • 32. BrandLaureate รางวัล 2007-2008 ยี่ห้อเลิศ ในการสร้างแบรนด์สินค้า. -ศูนย์การประชุม รางวัล ศูนย์การประชุมที่ดีที่สุดในเอเชีย" โดย CEI อุตสาหกรรม Award 2009 ที่ดีที่สุดทีม MICE ขาย (Joint สาม)" โดย CEI อุตสาหกรรม Award 2009 นิทรรศการดีที่สุดศูนย์การประชุมและในเอเชีย" โดย TravelWeekly (เอเชีย) อุตสาหกรรม Awards 2007 นิทรรศการดีที่สุดศูนย์การประชุมและใน เอเชีย" โดย TravelWeekly รางวัล (เอเชีย) อุตสาหกรรม 2008 Kuala Lumpur Convention Centre
  • 33. แคมเปญการสื่อสารแบรนด์ที่ได้รับความนิยม Visit Malaysia Year 2014 ปีแห่งการท่องเที่ยวมาเลเซีย 2014 (Visit Malaysia Year 2014) - แคมเปญส่งเสริมการท่องเที่ยวมาเลเซีย ในปี 2014 ในธีม “เฉลิมฉลอง วันมาเลเซีย ที่สุด แห่งเอเชีย” เพื่อสะท้อนความหลากหลายที่หลอมรวมเป็นหนึ่งเดียวของคนมาเลเซีย แคมเปญนี้ประสบความสาเร็จอย่างสูงเห็นวัดได้จากจานวนนักท่องเที่ยว 7.4 ล้านคน ที่ มากขึ้นกว่าปีที่แล้วที่ได้ 4.6 ล้านคน ลิงอุรังอุตังคือมาสคอตประจาแคมเปญดังกล่าวเพื่อให้นักท่องเที่ยวจดจาภาพของ มาเลเซียได้ง่าย โดยลิงตัวนี้ได้รับเลือกเป็นมาสคอตของการท่องเที่ยวโดยใช้ชื่อว่า วีร่า
  • 34. แคมเปญการสื่อสารแบรนด์ที่ได้รับความนิยม Year of Festivals 2015 ปีแห่งเทศกาล 2015 เป็นแคมเปญที่ดาเนินต่อมาจากแคมเปญปีแห่งการท่องเที่ยวมาเลเซีย 2014 ก่อนหน้านี้ โดยครั้งนี้กระทรวงการท่องเที่ยวและวัฒนธรรมของมาเลเซียได้กาหนดให้ปีนี้เป็น “Malaysia Year of Festivals 2015 หรือ MyFest 2015 ด้วยธีม Endless Celebrations หรือการเฉลิมฉลองที่ไม่มีวันสิ้นสุด MyFest 2015 จะเป็นการประกาศก้องให้ทราบโดยทั่ว กันว่ามหกรรมการเฉลิมฉลองที่ยิ่งใหญ่ระดับประเทศกาลังจะเกิดขึ้นอีกครั้งในทุกๆ ประเภทไม่ว่าจะเป็นเรื่องวัฒนธรรม ชอปปิ้ง เทศกาล แหล่งท่องเที่ยว อาหารและอื่นๆอีก มากมาย โลโก้ MyFest 2015 บ่งบอกถึงพื้นฐานของ 1Malaysia และโลโก้ Visit Malaysia Year 2014 ที่เน้นความตระการตาแห่งสีสัน รสชาติ แสงสี เสียงและความเป็นเอเชียที่รวมทั้งหมดอยู่ใน 1Malaysia อันสืบ เนื่องมาจากมรดกทางความหลากหลายของเชื้อชาติซึ่งรวมไปถึง วัฒนธรรมอันโดดเด่น แบรนด์ใหม่นี้แสดงถึงความอบอุ่นและความยินดี ที่ได้ต้อนรับทุกๆท่านเพื่อตอกย้าแนวคิดว่า “เราคือเจ้าบ้าน” รูปกลอง เร บาน่า อูบี (Rebana Ubi) ในโลโก้บ่งบอกถึงการใช้กลองที่ปรากฎในทุก เทศกาลและทุกชนชาติในมาเลเซีย
  • 35. นางสาวศุภธิดา มีทอง 1560312686 นางสาวสุชาดา ทองแถม 1560314732 นางสาวอรอนงค์ ทองกะจ่าง 1560315168 นายภณฉัตร พรโสภณ 1560315879