SlideShare a Scribd company logo
| 1ห น ้ า
คู่มือการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
และการนาเสนอผลงาน
โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์
(มัธยมวัดหัตถสารเกษตร)ในพระราชูปถัมภ์ฯ
| 2ห น ้ า
1. มาตรฐาน
ง 4.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้
การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทางานและอาชีพ อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและมีคุณธรรม
2.สาระสาคัญ
การวิเคราะห์โครงงานคอมพิวเตอร์ และรูปแบบการเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ เป็นสิ่งสาคัญเพื่อให้มี
ความรู้ความเข้าใจและสามารถนาเอาคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา อันเป็นแนวทางในการ
ประกอบอาชีพและใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน
การปฏิบัติตามขั้นตอนกระบวนการดาเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ เป็นสาคัญเพื่อให้มีความรู้ความ
เข้าใจและสามารถนาเอาคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ อันเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพและใช้ประโยชน์ใน
ชีวิตประจาวัน
3. สาระการเรียนรู้
3.1 ความหมายและความสาคัญของโครงงานประเภทโครงงาน
3.2 แบบเสนอโครงงาน ประกอบด้วยรายละเอียดต่าง ๆ ดังนี้
3.2. 1 หลักการและเหตุผล
3.2.2 วัตถุประสงค์
3.2.3 เป้าหมาย
3.2.4 ชื่อกิจกรรม ระยะเวลา
3.2.5 ผู้รับผิดชอบโครงงาน
3.2.6 การจัดการด้านงบประมาณ
3.2.7 การประเมินผล
3.3 ชี้แหล่งข้อมูลที่ต้องการจัดทาโครงงานและสามารถรวบรวมข้อมูลจากแหล่งที่กาหนดและ
นาข้อมูลมาสร้างโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยสามารถบอกอุปสรรคและปัญหาของการทางานได้
3.4 นาเสนอโครงงานในรูปแบบสื่อการนาเสนอแบบสื่อผสม
4. ทักษะ/กระบวนการ
ความรู้ความเข้าใจ วิเคราะห์ ปฏิบัติ
5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
5.1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
5.2 ซื่อสัตย์สุจริต
5.3 มีวินัย
5.4ใฝ่เรียนรู้
5.5 อยู่อย่างพอเพียง
5.6 มุ่งมั่นในการทางาน
5.7 รักความเป็นไทย
5.8 มีจิตสาธารณะ
| 3ห น ้ า
6. จุดประสงค์การเรียนรู้
6.1 นักเรียนบอกความหมายและความสาคัญของโครงงานได้
6.2 นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจโครงงานแต่ละประเภทได้
6.3 นักเรียนสามารถกาหนดปัญหาในการทาโครงงานได้
6.4 นักเรียนสามารถวิเคราะห์ปัญหาของโครงงานได้
6.5 นักเรียนสามารถเขียนเค้าโครงงานคอมพิวเตอร์ได้
6.6 นักเรียนสามารถลาดับขั้นตอนกระบวนการแก้ปัญหาได้
6.7 นักเรียนบอกแหล่งข้อมูลหรือที่มาของปัญหาที่นามาทาโครงงานได้
6.8 นักเรียนสามารถรวบรวมข้อมูลได้
6.9 นักเรียนสามารถนาข้อมูลมาสร้างโครงงานได้
6.10 นักเรียนสามารถบอกอุปสรรคและปัญหาการทางานได้
6.11 นักเรียนสามารถดาเนินงานตามแผนที่กาหนดไว้ในโครงงาน
6.12 นักเรียนสามารถประยุกต์สื่อมัลติเดียมาใช้นาเสนอโครงงานเพื่อการศึกษาเบื้องต้นได้
| 4ห น ้ า
บทที่ 1 ความหมายและความสาคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสาคัญของโครงงาน
1. โครงงานคอมพิวเตอร์
คือ กิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนอีกรูปแบบหนึ่ง ที่ทาให้นักเรียนมีอิสระทางความคิด
ทางการศึกษาปัญหาและสิ่งต่างๆ ที่ตนเองในใจ โดยนักเรียนต้องมีการวางแผนการศึกษาและนักเรียนจะต้อง
วางแผนการดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง โดยใช้ความรู้กระบวนการทาง
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และวัสดุอุปกรณ์ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่
นักเรียนสนใจและคิดจะทาโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้า
และพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทาโครงงานเรื่องดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา
การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้ จุดมุ่งหมายสาคัญ
ของการทาโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา
ประดิษฐ์คิดค้นหรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อการศึกษา ประดิษฐ์
ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่างๆตลอดจนการพัฒนาเกม
คอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรมจริยธรรม
เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับเพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข และทาให้เกิดความสามัคคีในการทางาน
ร่วมกันเป็นกลุ่ม รวมถึงการฝึกความกล้าแสดงออกในการนาเสนอผลงานของตน
2. คุณค่าของการทาโครงงานคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีผลกระทบต่อความเจริญก้าวหน้าของทุก ๆ สังคมในโลกปัจจุบนนี้
เทคโนโลยีด้านนี้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จึงเป็นเรื่องยากที่ประชาชนจะคอยติดตามความก้าวหน้าอยู่
ตลอดเวลาและเป็นสิ่งที่ไม่เกิดประโยชน์คุ้มค่าอีกด้วย ดังนั้นการศึกษาเทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์จึงต้องศึกษา
หลักการและเนื้อหาพื้นฐานเป็นสาคัญ การศึกษาด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์เป็นสิ่งจาเป็นเสมือนกับการศึกษา
วิทยาศาสตร์ธรรมชาติคอมพิวเตอร์ได้เปลี่ยนแปลงโลกของเราในด้านต่าง ๆ มากมายได้แก่
- สังคมโดยส่วนใหญ่เปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมเป็นสังคมสารสนเทศ
- การตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ มักขึ้นอยู่กับข้อมูลซึ่งได้จากระบบคอมพิวเตอร์
- คอมพิวเตอร์กลายเป็นเครื่องมือที่สาคัญแทนเครื่องมืออื่น ๆ ในอดีต เช่น เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องคิด
เลขเป็นต้น - คอมพิวเตอร์ถูกใช้ในการออกแบบสถานการณ์หรือปัญหาที่ซับซ้อนต่าง ๆ
- คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารของโลกปัจจุบัน นักเรียนในระดับมัธยมศึกษา
เรียนวิทยาศาสตร์ธรรมชาติเพื่อความเข้าใจความเป็นไปของธรรมชาติในโลก ในทานองเดียวกันนักเรียนต้อง
เรียนวิชาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์เพื่อความเข้าใจในสังคมเศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของสังคมต่าง ๆ ในยุค
| 5ห น ้ า
สารสนเทศ เนื้อหาวิชาทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษามีเป้าหมายที่จะพัฒนา
นักเรียนให้มีความรู้ความเข้าใจในวิทยาการของคอมพิวเตอร์และมีความสามารถในการพัฒนาโปรแกรมได้
ดังนั้น การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์จะเป็นสิ่งที่ทาให้นักเรียนสามารถบรรลุเป้าหมายได้อย่างสมบูรณ์
จุดมุ่งหมายที่สาคัญประการหนึ่งของการเรียนการสอนคอมพิวเตอร์ในโรงเรียน คือการที่นักเรียนได้มีโอกาส
ฝึกความสามารถในการนาความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้นหรือค้นคว้าหา
ความรู้ต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง ซึ่งวิธีการที่มีประสิทธิภาพมากวิธีหนึ่งคือการที่นักเรียนได้มีโอกาสทาโครงงาน
คอมพิวเตอร์
3. การทาโครงงานคอมพิวเตอร์และการจัดงานแสดงโครงงาน
การทาโครงงานคอมพิวเตอร์และการจัดงานแสดงโครงงานจะมีคุณค่าต่อการฝึกฝนให้นักเรียนมี
ความรู้ ความชานาญ และมีความมั่นใจในการนาระบบคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้นหรือ
ค้นคว้าหาความรู้ต่าง ๆ ด้วยตนเองและยังมีคุณค่าอื่น ๆ อีกดังต่อไปนี้
1. สร้างความสานึกและความรับผิดชอบในการศึกษาและพัฒนาระบบด้วยตนเอง
2. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้พัฒนาและแสดงความสามารถตามศักยภาพของตนเอง
3. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และเรียนรู้ในเรื่องที่นักเรียนสนใจได้ลึกซึ้งกว่าการเรียนใน
ห้องตามปกติ
4. ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการคิด การแก้ปัญหา การตัดสินใจ รวมทั้งการสื่อสารระหว่างกัน
5. กระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในการเรียนวิชาสาขาคอมพิวเตอร์ และมีความสนใจที่จะประกอบ
อาชีพทางด้านนี้
6. ส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้เวลาอย่างเป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์
7. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับครูและชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้ชุมชนสนใจคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องมากขึ้น
8. เป็นการบูรณาการเอาความรู้จากวิชาต่าง ๆ ที่ได้รับมาจัดทาผสมผสานกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์
เป็นโครงงานเพื่อนาเสนอต่อชุมชน การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์นั้น นักเรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
การทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เหตุผลที่ใช้ในการแก้ปัญหา กระบวนการแก้ปัญหา หลักการเขียนโปรแกรม
เบื้องต้น และการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ก่อนที่จะเริ่มทาโครงงาน และใช้ความรู้ดังกล่าวเป็นพื้นฐานในการ
สร้างความรู้ใหม่ในโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยในการทาโครงงานนักเรียนอาจจะมีโอกาสได้ทาความรู้จักกับ
ความรู้ใหม่เพิ่มเติมอีกด้วย เช่น ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) ฐานข้อมูล (Database) และการ
สืบค้นข้อมูล(Information Retrieval) เป็นต้น ซึ่งจะขึ้นอยู่กับหัวข้อที่นักเรียนเลือกทาโครงงาน
| 6ห น ้ า
4. ความสาคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ คือ ผลงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าตามความสนใจ ความถนัดและ
ความสามารถของผู้เรียน โดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ โครงงานจึงเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีการเน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ โดยผู้เรียนจะหาหัวข้อโครงงานที่ตนเองสนใจ รวมทั้งเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ และความรู้ด้าน
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสร้างผลงานตามความต้องการได้อย่างเหมาะสม โดยมีครูเป็นที่
ปรึกษาและให้คาแนะนาความสามารถที่เกิดจากการทาโครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์เป็น
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ทาให้ผู้เรียนเกิดความสามารถในด้านต่าง ๆ ที่สาคัญ 5 ประการดังนี้
1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถที่เกิดจากการที่นักเรียนเป็นผู้ทาโครงงานต้อง
นาเสนอผลงานให้ ครูและเพื่อนนักเรียนให้เข้าใจโครงงานคอมพิวเตอร์ได้อย่างชัดเจน ดังนั้น ผู้ทาโครงงานต้อง
สื่อสารความคิดในการสร้างสรรค์โครงงานด้วยการเขียน หรือด้วยปากเปล่า รวมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่อ
อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อนาเสนอแนวคิดในการจัด โครงงานให้ผู้อื่นได้เข้าใจ
2. ความสามารถในการคิด ซึ่งผู้เรียนจะมีการคิดในลักษณะต่าง ๆ ดังนี้
2.1 การคิดวิเคราะห์ เกิดจากการที่ผู้เรียนต้องวิเคราะห์ปัญหาและแยกแยะสาเหตุว่าเกิด
เนื่องจากอะไร
2.2 การคิดสังเคราะห์ เกิดจากการที่ผู้เรียนต้องนาความรู้ต่าง ๆ ที่เรียนมา รวมทั้งความรู้
จากการค้นหาข้อมูล เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาหรือการสร้างสรรค์โครงงาน
2.3 การคิดอย่างสร้างสรรค์ เกิดจากการที่ผู้เรียนนาความรู้มาสร้างสรรค์ผลงานใหม่ ๆ
2.4 การคิดอย่างมีวิจารณญาณ เกิดจากการที่ผู้เรียนได้มีการคิดไตร่ตรองว่าควรทาโครงงาน
ใดและไม่ควรทาโครงงานใด เนื่องจากโครงงานที่สร้างขึ้นอาจส่งผลกระทบต่อสังคมโดยรวม เช่น โครงงาน
ระบบคานวณเลขหวย สาหรับหาเลขที่คาดว่าสลากกินแบ่งรัฐบาลจะออกในแต่ละงวด อาจส่งผลกระทบต่อ
สังคม ทาให้คนในสังคมเกิดความหมกมุ่นในกับการใช้เงินเล่นหวยมากขึ้น
2.5 การคิดอย่างเป็นระบบ เกิดจากการที่ผู้เรียนคิดแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน โดยใช้
ขั้นตอนในการพัฒนาโครงงาน คือ ผู้เรียนเป็นผู้วางแผนในการศึกษา ค้นคว้า เก็บรวบรวมข้อมูล พัฒนา หรือ
ประดิษฐ์คิดค้นผลงาน รวมทั้งการสรุปผลและการนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยมีผู้สอนและ
ผู้ทรงคุณวุฒิเป็นผู้ให้คาปรึกษา
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เกิดจากการที่ผู้เรียนวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจ และอธิบายปัญหา
ทางด้านคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
| 7ห น ้ า
5. เกิดจากการที่ผู้เรียนได้นาความรู้และกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการพัฒนาโครงงาน และนาไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม รวมถึงการพัฒนาโครงงาน ก่อให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง
อันนาไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต
6. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เกิดจากการที่ผู้เรียนสามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ในการแก้ปัญหาได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม
| 8ห น ้ า
บทที่ 2 หลักการทาโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์
1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
3. จัดทา เค้าโครงของโครงงาน
4. การลงมือทา โครงงาน
5. การเขียนรายงาน
6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน
1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
โดยทั่วไปเรื่องที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา คาถาม หรือความ
สนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว ปัญหาที่จะ
นามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่างๆ กัน ดังนี้
1. การอ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่างๆ
2. การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ
3. การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการวิทยุและโทรทัศน ์ รวมทั้งการสนทนาอภิปรายแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับบุคคลอื่นๆ
4. กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน
5. งานอดิเรกของนักเรียน
6. การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์
ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนา มาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควรพิจารณาองค์ประกอบสาคัญ
ดังนี้
1. ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา
2. สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้
3. มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคา ปรึกษา
4. มีเวลาเพียงพอ
5. มีงบประมาณเพียงพอ
6. มีความปลอดภัย
2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคาปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิจะช่วยให้
นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้
เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม
ในการศึกษาจะต้องได้คาตอบว่า
| 9ห น ้ า
1. จะทาอะไร
2. ทาไมต้องทา
3. ต้องการให้เกิดอะไร
4. ทาอย่างไร
5. ใช้ทรัพยากรอะไร
6. ทากับใคร
7. เสนอผลอย่างไร
3. องค์ประกอบของเค้าโครงของโครงงาน
หัวข้อ/รายงาน รายละเอียดที่ต้องระบุ
- ชื่อโครงงาน ทา อะไร กับใคร เพื่ออะไร
- ชื่อผู้จัดทาโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน อาจเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มก็ได้
- อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษา ควบคุมการทาโครงงานของ
นักเรียน
- ระยะเวลาดาเนินงาน ระยะเวลาการดาเนินงานโครงงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด
- แนวคิด ที่มา และ
- ความสาคัญ
- สภาพปัจจุบันที่เป็นความต้องการและความคาดหวังที่จะเกิดผล
- วัตถุประสงค์ สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงงานทั้งในเชิงกระบวนการ และผลผลิต
- หลักการและทฤษฎี หลักการและทฤษฎีที่นา มาใช้ในการพัฒนาโครงงาน
- วิธีดาเนินงาน
- กิจกรรมหรือขั้นตอนการดาเนินงาน เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ สถานที่ และ
- งบประมาณ
- ขั้นตอนการปฏิบัติ วัน เวลา และกิจกรรมดาเนินการต่างๆ ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด
- ผลที่คาดว่าจะได้รับ สภาพของผลที่ต้องการให้เกิด ทั้งที่เป็นผลผลิต กระบวนการ และผลกระทบ
- เอกสารอ้างอิง ซื่อเอกสาร ข้อมูลที่ได้จากแหล่งต่างๆ ที่นามาใช้ในการดาเนินงาน
4. การลงมือทาโครงงาน
เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทา
โครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่าครึ่ง ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ดังนี้
4.1 การเตรียมการ
การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการพัฒนา
ให้พร้อมด้วย และควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึก
การทากิจกรรมต่างๆ ระหว่างทา โครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่
อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ
| 10ห น ้ า
4.2 การลงมือพัฒนา
1. ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วย
ทา ให้ผลงานดีขึ้น
2. จัดระบบการทา งานโดยทา ส่วนที่เป็นหลักสาคัญๆ ให้แล้วเสร็จก่อน จึงค่อยทาส่วนที่เป็น
ส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทา ให้ตกลง
รายละเอียดในการต่อเชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย
3. พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึกข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบและ
ครบถ้วน
4.3 การทดสอบผลงานและแก้ไข
การตรวจสอบความถูกต้องของผลงานเป็นความจา เป็นเพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นทา
งานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการที่ระบุไว้ในเป้าหมาย และทาด้วยประสิทธิภาพสูงด้วย
4.4 การอภิปรายและข้อเสนอแนะ
เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทา สรุปด้วยข้อความที่สั้นกะทัดรัดอย่างครอบคลุมเพื่อ
ช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทาโครงงาน และทาการอภิปรายผลด้วยเพื่อพิจารณาข้อมูลและผล
ที่ได้ พร้อมกับนาไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว
ทั้งนี้ยังรวมถึงการนา หลักการ ทฤษฎี หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบการอภิปรายผลที่
ได้ด้วย
4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ
เมื่อทาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว นักเรียนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นที่สาคัญหรือปัญหา
ซึ่งสามารถเขียนเป็นข้อเสนอแนะและสิ่งที่ควรจะศึกษาและหรือใช้ประโยชน์ต่อไปได้
5. การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า
ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น ในการเขียนรายงาน นักเรียนควรใช้
ภาษาที่อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆ เหล่านี้
5.1 ส่วนนา
ส่วนนาเป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานนั้นซึ่งประกอบด้วย
1. ชื่อโครงงาน
2. ชื่อผู้ทาโครงงาน
3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
4. คาขอบคุณ เป็นคากล่าวขอบคุณบุคคลหรือหน่วยงาน ที่มีส่วนช่วยทาให้โครงงานนี้
ประสบความสาเร็จ
5. บทคัดย่อ อธิบายถึงที่มา ความสาคัญ วัตถุประสงค์ วิธีดา เนินการ และผลที่ได้ โดยย่อ
(ประมาณ 150-250 คา )
| 11ห น ้ า
5.2 บทนา
บทนา เป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานซึ่งประกอบด้วย
1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
2. เป้าหมายของการศึกษาค้นคว้า
3. ขอบเขตของโครงงาน
5.3 หลักการและทฤษฎี
หลักการและทฤษฎี เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหาข้อมูลหรือหลักการ ทฤษฎี หรือวิธีการที่
จะนามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน ซึ่งรวมถึงการระบุผลงานของผู้อื่นที่นักเรียนนามาเปรียบเทียบหรือพัฒนา
เพิ่มเติมด้วย
5.4 วิธีดาเนินการ
วิธีดาเนินการ อธิบายขั้นตอนการดาเนินงานโดยละเอียด พร้อมทั้งระบุปัญหาหรืออุปสรรคที่พบพร้อม
ทั้งวิธีการที่ใช้แก้ไข พร้อมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการทางาน
5.5 ผลการศึกษา
ผลการศึกษา นาเสนอข้อมูลหรือระบบที่พัฒนาได้ โดยอาจแสดงเป็นตาราง หรือ กราฟ หรือข้อความ
ทั้งนี้ให้คา นึกถึงความเข้าใจของผู้อ่านเป็นหลัก
5.6 สรุปผลและข้อเสนอแนะ
สรุปผลและข้อเสนอแนะ อธิบายผลสรุปที่ได้จากการทางาน ถ้ามีการตั้งสมมติฐานควรระบุด้วยว่า
ข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้านสมมติฐานที่ตั้งไว้หรือยังสรุปไม่ได้ นอกจากนั้นยังควรกล่าวถึงการนาผลการ
ทดลองหรือพัฒนาไปใช้ประโยชน ์ อุปสรรคของการทาโครงงาน หรือข้อสังเกตที่สาคัญหรือข้อผิดพลาดบาง
ประการที่เกิดขึ้นจากการทาโครงงานนี้ รวมทั้งข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขหากจะมีผู้ศึกษาค้นคว้าใน
เรื่องทานองนี้ต่อไปในอนาคตด้วย
5.7 ประโยชน์
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน ระบุประโยชน์ที่นักเรียนได้รับจากการพัฒนาโครงงานนั้น และ
ประโยชน์ที่ผู้ใช้จะได้รับจากการนา ผลงานของโครงงานได้ใช้ด้วย
5.8 บรรณานุกรม
บรรณานุกรม รวบรวมรายชื่อหนังสือ วารสาร เอกสาร หรือเว็บไซด์ต่างๆ ที่ผู้ทาโครงงานใช้ค้นคว้า
หรืออ่านเพื่อศึกษาข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ ที่นามาใช้ประโยชน์ในการทาโครงงานนี้ การเขียนเอกสาร
บรรณานุกรมต้องให้ถูกต้องตามหลักการเขียนด้วย
5.9 การจัดทาคู่มือการใช้งาน
หาโครงงานที่นักเรียนจัดทาเป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้นักเรียนจัดทา คู่มืออธิบาย วิธีการใช้
ผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย
1. ชื่อผลงาน
2. ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ ระบุรายละเอียดของคอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้ผลงานนั้น
ได้
| 12ห น ้ า
3. ความต้องการของซอฟต์แวร์ ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องมีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อจะให้
ผลงานนั้นทางานได้อย่างสมบูรณ์
4. คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนั้นทาหน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลขาเข้าและส่วน
อะไรออกมาเป็นข้อมูลขาออก
5. วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคาสั่งใด หรือกดปุ่มใด เพื่อให้ผลงานทางานใน
ฟังก์ชันหนึ่งๆ
6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน
การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทาโครงงาน เพื่อ
แสดงออกถึงผลิตผลความคิด ความพยายามในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีทาให้ผู้อื่นได้รับรู้
และเข้าใจถึงผลงานนั้น
การเสนอผลงานอาจทาได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบาย
ประกอบ การรายงานด้วยคาพูดในที่ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และอธิบายด้วยคาพูดเป็นต้น
โดยผลงานที่นามาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้
1. ชื่อโครงงาน
2. ชื่อผู้จัดทาโครงงาน
3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
4. คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน
5. วิธีการดาเนินการที่สาคัญ
6. การสาธิตผลงาน
7. ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน
| 13ห น ้ า
บทที่ 3 ประเภทของโครงงาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานในชีวิตประจาวันอาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่ง
ภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้
จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือ
ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์
ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมี
การทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงาน
ประเภทนี้ผู้เรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
ตัวอย่างโครงงานประยุกต์ใช้งาน
-โปรแกรม สารบรรณสาเร็จรูป : Readymade Archivist
-โปรแกรมระบบฐานข้อมูลทางการแพทย์เบื้องต้น โปรแกรมระบบแฟ้มฐานข้อมูลผู้เรียน 2001
-เครื่องรดน้าต้นไม้และให้อาหารปลาผ่านโทรศัพท์มือถือ
-เครื่องให้อาหารไก่ไข่อัตโนมัติ ระบบบริหารจัดการข้อมูลผู้เรียนของโรงเรียน
-ระบบจัดการข้อมูลการเงินส่วนบุคคล ระบบจองตั๋วรถไฟบนอินเทอร์เน็ต
-ระบบแนะนาเส้นทางเดินรถประจาทาง
-โปรแกรมสังเคราะห์เสียงสาหรับคนตาบอดบนรถประจาทาง
-โปรแกรมออกและตรวจข้อสอบ
-โฮมเพจส่วนบุคคล
-โปรแกรมช่วยปฐมพยาบาลเบื้องต้น
-โปรแกรมพจนานุกรมไทย-อังกฤษ
ที่มาของข้อมูล : http://blog.eduzones.com/jipatar/85915 http://krumewstp.wordpress.com
(สืบค้นวันที่ 14/08/2555)
โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือ
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือช่วย สร้างงานประยุกต์
ต่างๆ โดยส่วนใหญ่ จะอยู่ในรูป ซอฟต์แวร์ เช่น ซอฟต์แวร์ วาดรูป ซอฟต์แวร์ พิมพ์งาน และซอฟต์แวร์ช่วย
การมองวัตถุในมุมต่างๆ เป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์ เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลค่า
ซึ่งจะเป็นเครื่องมือให้เราใช้ในการพิมพ์งานต่างๆบนเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนซอฟต์แวร์ การวาดรูป พัฒนาขึ้น
เพื่ออานวยความสะดวกให้การวาดรูปบนเครื่องคอมพิวเตอร์ ให้เป็นไปได้โดยง่าย สาหรับซอฟต์แวร์ ช่วยการ
มองวัตถุในมุมต่างๆ ใช้สาหรับช่วยการออกแบบสิ่งของ อาทิเช่นผู้ใช้ วาดแจกันด้านหน้า และต้องการจะดูว่า
ด้านบนและด้านข้างเป็นอย่างไร ก็ให้ซอฟต์แวร์ คานวณค่าและภาพที่ควรจะเป็นมาให้ เพื่อพิจารณาและแก้ไข
ภาพแจกันที่ออกแบบไว้ได้อย่างสะดวก
| 14ห น ้ า
ตัวอย่างโครงงานการพัฒนาซอฟแวร์
โปรแกรมสร้างโมเดลสามมิติจากการวาดอย่างง่าย (CPS’ketchuu)
ประเภทโปรแกรม
-เพื่อประยุกต์ ใช้ งานสาหรับลินุ๊กซ์ (ระดับนิสิตนักศึกษา)
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
เป็น โครงงานใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการทดลองของสาขาต่าง ๆ เป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษา
รวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริงและแนวความคิดต่าง ๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษา แล้วเสนอเป็น
แนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสมการ สูตร หรือคาอธิบายก็ได้ พร้อมทั้งนาเสนอวิธีการ
จาลองทฤษฎีด้วยคอมพิวเตอร์ การทาโครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้เรื่องนั้น ๆ เป็น
อย่างดี ตัวอย่าง เช่น การทดลองเรื่องการไหลของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาอโรวาน่า ทฤษฎี
การแบ่งแยกดีเอ็นเอ เป็นต้น
ตัวอย่างโครงงานจาลองทฤษฎี
-การทดลองปัจจัยต่างๆ ในการเลี้ยงปลานิลด้วยคอมพิวเตอร์
-การทดลองปัจจัยต่างๆ ในการเพาะปลูกแก้วมังกรด้วยคอมพิวเตอร์
-การทดลองผสมสารเคมีต่างๆ ด้วยคอมพิวเตอร์
-ปัจจัยต่างๆ กับการเคลื่อนที่ของเครื่องบิน
-ผลการปลูกข้าวในสภาวะแวดล้อมที่ต่างกัน
-โปรแกรมสังเคราะห์เสียงพูดเบื้องต้น
-โปรแกรมจาลองการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
-การทานายอุณหภูมิจากข้อมูลที่ผ่านมา
-การเปรียบเทียบเทคนิคของการย่อขนาดแฟ้มข้อมูล
ที่มาของข้อมูล : http://blog.eduzones.com/jipatar/85915 http://krumewstp.wordpress.com
(สืบค้นวันที่ 14/08/2555)
โครงงานประเภท"การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์"
โครงงานพัฒนาเกม โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้ ความ
เพลิดเพลิน เช่น เกมหมารุก โปรแกรม ต่อให้เพิ่ม เติมให้เต็ม (Magic Puzzle) โปรแกรม เกมผู้รอดชีวิต
โปรแกรมเกมทศกัณฑ์ เกมทายคาศัพท์ และเกมการคานวณเลข เป็นต้น ซึ่งเกมที่พัฒนาขึ้นนี้น่าจะเน้นให้เป็น
เกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกความคิดอย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะ
และกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจแก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการ
สารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่างๆ ที่มีอยู่ทั่วไป และนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อให้เป็นเกมที่
แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่างๆ
| 15ห น ้ า
ตัวอย่าง
1. โปรแกรม ต่อให้เพิ่ม เติมให้เต็ม (Magic
Puzzle)
2. โปรแกรม เกมผู้รอดชีวิต
3. โปรแกรมเกมทศกัณฑ์
4. โปรแกรมรองเท้าอาถรรพ์
5. เกมผจญภัยกับพระอภัยมณี
6. เกมอักษรเขาวงกต
7. เกมเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
8. เกมผจญภัยกับภาษาอังกฤษ
9. เกมหมากฮอส
10. เกมบวกลบเลขแสนสนุก
11. เกมศึกรามเกียรติ์
12. เกมมวยไทย
| 16ห น ้ า
บทที่ 4 การเขียนเค้าโครงงานคอมพิวเตอร์
เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ……………………………………………………………………………………………………………………..
(ภาษาอังกฤษ) ……………………………………………..………………………………….……………………………...
ประเภทของโครงงาน.…………………………………………………………………..…………………………………………………….
ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. …………………………………………………………4. …………………………………………………………….
2. …………………………………………………………5. ………………………………………………………..…..
3. …………………………………………………………6. ………………………..………………………………..…
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………..
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ……………………………………………….……………………………………………………………………
รายละเอียดเกี่ยวกับโครงงาน
1. แนวคิด ที่มา และความสาคัญ
2. วัตถุประสงค์
3. หลักการและทฤษฎี
4. วิธีดาเนินงาน
5. แผนปฏิบัติงาน
6. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
7. เอกสารอ้างอิง
| 17ห น ้ า
บทที่ 5 การเขียนโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนเอกสารประกอบโครงงาน
โครงงานเป็นผลงานทางด้านวิชาการที่ต้องมีความถูกต้องทั้งด้านเนื้อหาและรูปแบบ ทั้งนี้ความถูกต้อง
ขึ้นอยู่กับรูปแบบการจัดพิมพ์ และ ส่วนประกอบต่าง ดังนั้นนักศึกษาควรจะทาความเข้าใจและศึกษา
หลักเกณฑ์ต่างๆ เกี่ยวกับการพิมพ์โครงงานอย่างถ่องแท้ ตลอดจนทาการตรวจทานแก้ไขต้นฉบับให้ถูกต้อง
สมบูรณ์ จึงได้มีการกาหนดหลักเกณฑ์และรูปแบบการพิมพ์โครงงานดังนี้
5.1 คาแนะนาในการเขียนและพิมพ์เอกสารประกอบโครงงาน
เอกสารประกอบโครงงานที่จะทาการเขียนนั้นจะต้องพิมพ์เป็นภาษาไทย หรือ ภาษาอังกฤษด้วย
โปรแกรม MS-Word 2007 เป็นอย่างตามรูปแบบที่กาหนดให้ โดยในการเขียนเอกสารนั้นต้องได้รับความ
เห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา
5.1.1 การพิมพ์
1) ให้กาหนดชนิดของกระดาษที่จะใช้ในการพิมพ์เป็นกระดาษ A4 สีขาว แบบหนึ่งคอลัมน์ 80
แกรมขึ้นไป
2) การพิมพ์เนื้อหาให้พิมพ์โดยไม่เว้นบรรทัด เว้นแต่เมื่อขึ้นหัวข้อใหม่ให้เว้น 1 บรรทัดและต้อง
พิมพ์ให้เต็มคอลัมน์ก่อนที่จะขึ้นคอลัมน์ใหม่ โดยจัดขอบทางขวาและทางซ้ายให้ตรงกัน
3) การพิมพ์ให้พิมพ์ข้อความต่อเนื่องกันไปเป็นวรรคตอน การเว้นวรรคตอนให้ใช้แป้น Space
Bar ได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น
4) พิมพ์หน้าเดียวด้วยตัวพิมพ์สีดาขนาดมาตรฐานชนิดเดียวกันตลอดทั้งเล่ม
5) พิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์เท่านั้น
5.1.2 การลาดับหัวข้อในเนื้อเรื่อง
1) ให้ใช้หมายเลขกากับ โดยให้ระบุหมายเลขของบท นาหน้าหมายเลขกากับหัวเรื่องด้วย
ยกตัวอย่างเช่น บทนาของบทที่ 1 ให้ใช้หมายเลขกากับเป็น 1.1 บทนา
2) หากมีการแบ่งหัวข้อย่อย ให้ใช้ระบบเลขทศนิยม กากับหัวข้อย่อย เช่น 1.1, 1.2, 1.3
3) หากมีการแบ่งหัวข้อย่อยของหัวข้อย่อย ให้มีการแบ่งหัวข้อย่อยได้เพียงตัวเลข 3 ตัวเท่านั้น
เช่น 1.1.1, 1.1.2, 1.1.3 เท่านั้น
4) หากต้องการแบ่งหัวข้อย่อยอีกให้ใช้ตัวเลขตามด้วยวงเล็บปิด เช่น 1) 2) 3)
5) หากต้องการแบ่งหัวข้อย่อยอีกให้ใช้เครื่องหมาย – นาหน้าหัวข้อย่อย
ตัวอย่างเช่น
1.1 ส่วนของหน้าร้าน
1.1.1 ระบบสมัครสมาชิก
1) การตรวจสอบสิทธิการเข้าใช้
- ชื่อผู้ใช้
- สถานะของสิทธิในการเข้าใช้
| 18ห น ้ า
5.1.3 การใส่หมายเลขหน้า
ให้ใส่หมายเลขไว้ที่ตรงกลางของหน้ากระดาษทุกหน้า ยกเว้นแผ่นแรกของบท โดยเรียงลาดับ
ตามลาดับของเอกสารฉบับสมบูรณ์ ดังนี้
1) ปกนอก ต้องพิมพ์ด้วยหมึกสีน้าเงิน และตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยเป็นภาพสี
2) ปกใน กาหนดให้มีหมายเลขหน้า เป็น ก แต่ไม่ต้องพิมพ์แสดงหมายเลขหน้า
3) หน้าอนุมัติ ให้มีหมายเลขหน้า เป็น ข
4) หน้ากิตติกรรมประกาศ ให้มีหมายเลขหน้า เป็น ค
5) หน้าบทคัดย่อ ให้มีหมายเลขหน้า เป็น ง โดยประกอบไปด้วยหัวข้อคือ
ชื่อเรื่อง
ผู้จัดทาโครงงาน
ชื่อปริญญา
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
บทคัดย่อ
6) หน้าสารบัญ ให้เริ่มหมายเลขหน้าเป็น จ แต่ไม่ต้องพิมพ์แสดงหมายเลขหน้า มีลาดับ
ดังนี้
สารบัญ
สารบัญตาราง
สารบัญภาพ
สารบัญแผนภูมิ
7) เนื้อหาหน้าแรกของทุกๆ บท ให้นับหมายเลขหน้า แต่ไม่ต้องพิมพ์แสดงหมายเลขหน้า โดย
หน้าแรกของ บทที่ 1 ให้นับเป็นหน้าที่ 1
8) ภาคผนวก ให้เขียนหมายเลขหน้า เป็นดังนี้ ลาดับภาคผนวก-หมายเลขหน้า เช่น ก-1
หมายถึง หน้าที่ 1 ของภาคผนวก ก, ข-1 หมายถึง หน้าที่ 1 ของภาคผนวก ข
5.1.4 คาศัพท์เทคนิคที่เป็นคาศัพท์ภาษาอังกฤษ
ควรแทนด้วยคาแปลภาษาไทยตามที่นิยมใช้ แล้ววงเล็บคาศัพท์ภาษาอังกฤษต่อท้าย หรือ
เขียนทับศัพท์ภาษาไทยตามความเหมาะสม
5.2 ขนาดตัวอักษรและการเว้นระยะ
5.2.1 ขนาดตัวอักษร การพิมพ์เอกสารประกอบโครงงานภาษาไทย ให้ใช้ชนิดตัวอักษรแบบ
AngsanaUPC หรือ AngsanaNew เท่านั้น โดยขนาดของตัวอักษรให้เป็นไปตามข้อกาหนดดังนี้
1) ปกนอก-ปกใน
แสดงตราสัญลักษณ์ของโรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (มัธยมวัดหัตถสารเกษตร) ในพระ
ราชูปถัมภ์ฯ เฉพาะในส่วนของปกหน้า กาหนดให้มีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด เป็น 1.5 นิ้ว กาหนดให้ห่างจาก
ขอบบน เป็น 1 นิ้ว และเว้นระยะห่างระหว่าง ขอบล่างของตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยกับชื่อโครงงาน
เป็น 0.5 นิ้ว
ตัวอักษรแสดง ชื่อโครงงาน มีขนาด 22 พอยต์ ตัวหนา
| 19ห น ้ า
ตัวอย่างเช่น
คู่มือการจัดทาโครงงาน
2) เนื้อหา
ตัวอักษรแสดง ชื่อแต่ละบท มีขนาด 20 พอยต์ ตัวหนา
ตัวอย่างเช่น
บทที่1
บทนา
ตัวอักษรแสดงหัวข้อหลักของบท มีขนาด 18 พอยต์ ตัวหนา
ตัวอักษรแสดงเนื้อหา มีขนาด 16 พอยต์ ตัวธรรมดา
เนื้อหาในบรรทัดแรกของแต่ละพารากราฟ ให้ย่อหน้าห่างจากขอบซ้ายเท่ากับ 0.5 นิ้ว และ
ถ้ามีพารากราฟย่อยอีกให้ย่อหน้าของพารากราฟย่อยนั้นห่างจากย่อหน้าเดิมครั้งละ 0.25 นิ้วเสมอ
3) ภาคผนวก
ให้เริ่มต้นภาคผนวกด้วยการพิมพ์คาว่า ภาคผนวก ขนาดตัวอักษร 20 พอยน์ ตัวหนา ไว้กึ่งกลาง
แผ่นกระดาษ และตามด้วยภาคผนวกในแต่ละเรื่องโดยให้เรียง ตามลาดับอักษร ดังเช่น ภาคผนวก ก,
ภาคผนวก ข, ภาคผนวก ค, ... เป็นต้น โดยกาหนดให้มีขนาดตัวอักษรและการเว้นระยะเหมือนในแต่ละบท
5.2.2 การเว้นระยะ
1) การเว้นระยะห่างจากขอบกระดาษ
กาหนดระยะห่างจากขอบกระดาษ ด้านซ้าย ด้านขวา ด้านบน และด้านล่าง (ดังรูปที่ 3-2)
ด้านบน 1.5 นิ้ว
ด้านล่าง 1 นิ้ว
ด้านซ้ายมือ 1.5 นิ้ว
ด้านขวามือ 1 นิ้ว
ยกเว้น หน้าแรกของแต่ละบท ให้กาหนดระยะห่างจากขอบกระดาษด้านบน เป็น 2 นิ้ว (ดังรูปที่ 3-1)
รูปที่ 3-1 การจัดหน้ากระดาษหน้าแรกของแต่ละบท รูปที่ 3-2 การจัดหน้ากระดาษหน้าทั่วไป
| 20ห น ้ า
2) การย่อหน้า
ให้เว้นระยะพิมพ์แปดช่วงตัวอักษร แล้วตั้งแท็บกั้นขวา
3) การเว้นช่องว่างระหว่างตัวอักษร
หลังเครื่องหมายจุลภาค(Comma หรือ ,) และเครื่องหมายอัฒภาค(Semicolon หรือ ;)
ให้เว้นหนึ่งช่วงตัวอักษร
หลังเครื่องหมายมหัพภาค(Fullstop หรือ .) เครื่องหมายทวิภาคหรือจุดคู่(Colon หรือ :)
เครื่องหมายปรัศนีย์(question mark หรือ ?) และเครื่องหมายอัศเจรีย์ (exclamation mark หรือ !) ให้เว้น
สองช่วงตัวอักษร
ยกเว้นกรณีหลังชื่อย่อ (initial) ให้เว้นหนึ่งช่วงตัวอักษร
5.3 การจัดทารูปภาพ
1) รูปภาพต้องมีขนาดความกว้างไม่เกินหน้ากระดาษที่กาหนด ตัวอักษรในรูปภาพต้องมีขนาดใหญ่
เพียงพอที่จะสามารถอ่านได้สะดวกและไม่ควรมีขนาดเล็กกว่าตัวอักษรในเนื้อเรื่อง
2) รูปภาพทุกภาพจะต้องมีการเขียนหมายเลขกากับภาพต่อจากคาว่า รูปที่ โดยเขียนหมายเลข
กากับและคาบรรยายกากับไว้ใต้ภาพ ซึ่งจะเรียงตามลาดับของภาพในแต่ละบท เช่น รูปที่ 2-1 หมายถึง
เป็นภาพที่ 1 ของบทที่ 2
3) การเขียนคาบรรยายชื่อภาพประกอบใต้ภาพ ควรเป็นข้อความที่กระทัดรัดและสื่อความหมายอย่าง
ชัดเจน ไม่ต้องใช้คาว่า “แสดง” นา
4) ไม่ต้องเว้นบรรทัดเหนือรูปภาพ แต่ต้องเว้นบรรทัดให้คาบรรยายอยู่ห่างรูปภาพ 1 บรรทัด
ตัวอย่าง
รูปที่ 2.1 การจาลองรูปภาพ
1 บรรทัด
คาบรรยาย หรือรายละเอียดเพิ่มเติม
รูปที่ 3-3 การแทรกภาพประกอบ
| 21ห น ้ า
5.4 การเขียนบทดาเนินเรื่อง
บทดาเนินเรื่อง(Storyboard) คือ การเขียนภาพเล่าเรื่องราวเพื่อสื่อสารแนวความคิดรวบยอด
ซึ่งเกิดจากการตีความโจทย์ที่ได้รับมอบหมาย นาเสนอในลักษณะของกรอบภาพหลายๆ รอบต่อเนื่องกันโดยมี
คาบรรยายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในภาพนั้นๆ เพื่ออธิบายการดาเนินเรื่องราวตั้งแต่ต้นจนจบ ลักษณะของ
Storyboard คือ ภาพร่าง(Sketch) เพื่อลาดับเรื่องราวต่างๆ ในลักษณะภาพนิ่งหลายๆ ภาพที่มีความ
ต่อเนื่องกัน พร้อมคาบรรยายใต้ภาพแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
ส่วนที่แรก เป็นการเขียนคาบรรยายเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในภาพนั้นๆ เพื่อให้ผู้อ่านเกิดจินตนาการ
เป็นภาพเคลื่อนไหว เช่น จิ้งจกกาลังตกลงมาจากเพดานด้วยความเร็วสูง
ส่วนที่สอง เป็นการระบุเสียงประกอบที่เกิดขึ้นขณะที่ภาพเหตุการณ์กาลังดาเนินไป เช่น เสียงสนทนา
ของตัวละคร เสียงปิดประตุ หรือเสียงเพลงประกอบที่สร้างความตื่นเต้น เป็นต้น
ตัวอย่างการเขียน Storyboard
การสื่อความหมายแทนที่จะบรรยายด้วยข้อความ แต่เราจะใช้ภาพเป็นการเล่าเรื่องแทน ดังนั้นการ
จัดลาดับภาพจะต้องแสดงให้เห็นถึงความต่อเนื่องของการกระทา เช่น
ที่มาของรูป: http://province.m-culture.go.th/trat/storyboard2553/3.pdf
5.5 การเขียนแผนผังโครงสร้างเว็บไซต์
การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ คือ การวางแผนการจัดลาดับ เนื้อหาสาระของเว็บไซต์ออกเป็น
หมวดหมู่ เพื่อจัดทาเป็นโครงสร้างในการจัดวางหน้าเว็บเพจทั้งหมด เปรียบเสมือนแผนที่ที่ทาให้เห็นโครงสร้าง
ทั้งหมดของเว็บไซต์ ช่วยในนักออกแบบเว็บไซต์ไม่ให้หลงทาง การจัดโครงสร้างของเว็บไซต์ มีจุดมุ่งหมาย
สาคัญคือ การที่จะทาให้ผู้เข้าเยี่ยมชม สามารถค้นหา ข้อมูลในเว็บเพจได้อย่างเป็นระบบ ซึ่งถือว่าเป็นขั้นตอน
ที่สาคัญ ที่สามารถสร้างความสาเร็จให้กับ ผู้ที่ทาหน้าที่ในการออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์การออกแบบ
โครงสร้างหรือจัดระเบียบของข้อมูลที่ชัดเจน แยกย่อยเนื้อหาออกเป็นส่วนต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กันและให้อยู่ใน
มาตรฐานเดียวกัน จะช่วยให้น่าใช้งานและง่าย ต่อการเข้าอ่านเนื้อหาของผู้ใช้เว็บไซต์
| 22ห น ้ า
ตัวอย่าง 1 การเขียนโครงสร้างแผนผังเว็บไซต์
ที่มาของรูป : http://www.google.co.th/imgres?
5.6 การเขียนบรรณานุกรม
บรรณานุกรม คือ รายชื่อวัสดุที่ใช้อ้างอิงทั้งหมดในการทาโครงงาน ทั้งที่อ้างอิงอยู่อย่างชัดเจนในตัว
เล่มโครงงาน และที่นาความรู้มาเรียบเรียงโดยไม่ได้อ้างอิงในเล่ม
5.6.1 การพิมพ์บรรณานุกรม
1) ในหน้าแรกของบรรณานุกรมให้พิมพ์ว่า “บรรณานุกรม” โดยพิมพ์ไว้กลางหน้ากระดาษตอนบน
ห่างจากริมขอบบกระดาษด้านบนสองนิ้ว ตัวอักษรตัวเข้มขนาด 20 พอยต์ โดยไม่ต้องใส่เลขหน้าในหน้าแรก
ของบรรณานุกรม
2) โครงงานให้เรียงบรรณานุกรมตามลาดับตัวอักษรตัวแรกแบบพจนานุกรมไทยฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน ถ้ามีวัสดุอ้างอิงภาษาอังกฤษด้วย ให้เขียนเรียงลาดับอักษรเช่นเดียวกันและให้เรียงต่อจาก
ภาษาไทย
3) การพิมพ์บรรณานุกรมในวัสดุอ้างอิงแต่ละรายการไม่ต้องมีหมายเลขกากับ
4) เริ่มพิมพ์รายการบรรณานุกรมชิดขอบด้านซ้ายของหน้ากระดาษที่เว้นไว้ประมาณ 1.5 นิ้ว ถ้า
บรรณานุกรมรายการเดียวไม่จบให้ขึ้นบรรทัดใหม่ โดยย่อหน้าเข้าไป 0.75 นิ้ว ถ้ารายการบรรณานุกรมไม่จบ
ใน 2 บรรทัด ขึ้นบรรทัดที่ 3-4 ให้ตรงกับบรรทัดที่ 2 จนจบรายการ เมื่อขึ้นรายการบรรณานุกรมของวัสดุ
อ้างอิงรายการใหม่ ให้เริ่มพิมพ์ชิดขอบซ้ายของหน้ากระดาษเช่นเดิม
5) บรรณานุกรมมีผู้แต่งซ้า ให้พิมพ์เรียงตามลาดับปีที่พิมพ์จากเก่าสุด จนถึงปีล่าสุด
6) การพิมพ์ชื่อวัสดุอ้างอิง ให้พิมพ์ตัวเอนตั้งแต่รายการแรกถึงรายการสุดท้าย
7) ให้บรรทัดสุดท้ายของหน้าอยู่ห่างจากริมขอบกระดาษด้านล่างหนึ่งนิ้ว
8) ให้พิมพ์บรรณานุกรม ภาษาไทยก่อนภาษาต่างประเทศ
| 23ห น ้ า
5.7 การเขียนเอกสารอ้างอิง
การอ้างอิง หมายถึง การบันทึกที่มาของข้อความที่ยกมากล่าวอ้าง หรืออ้างอิง ในการเรียบเรียง
โครงงาน ให้ใช้การอ้างอิงแบบนาม-ปี ทั้งเล่ม
5.7.1 การอ้างอิงแบบนาม-ปี
ส่วนประกอบของรายการอ้างอิง
(ชื่อผู้แต่ง,/ปีที่พิมพ์)
| 24ห น ้ า
บทที่ 6
ส่วนประกอบของเอกสารโครงงาน
การเขียนเอกสารประกอบโครงงานวิชาโครงงานทางคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เป็นรูปแบบในการเขียน
อันเดียวกัน จึงกาหนดรูปแบบของการพิพม์เอกสารประกอบโครงงานจะต้องประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ 5 ส่วน
ได้แก่ ส่วนนา ส่วนเนื้อความ ส่วนอ้างอิง ภาคผนวก และ ประวัติผู้เขียน ซึ่งมีรายละเอียดของแต่ละส่วน ดังนี้
6.1 ส่วนนา (Preliminaries)
ประกอบด้วย
6.1.1 ปก (Cover) ประกอบด้วย ปกหน้า สันปก และปกหลัง
6.1.2 ใบรองปก (Fly leaf) เป็นกระดาษเปล่าขนาดเดียวกับกระดาษที่ใช้พิมพ์โครงงาน
โดยต้องรองทั้งปกหน้า และปกหลังด้านละหนึ่งแผ่น
6.1.3 หน้าปกใน (Title page) เป็นหน้าที่มีข้อความหน้าแรกของโครงงาน
6.1.4 หน้าอนุมัติ (Approval page) เป็นหน้าที่จัดไว้สาหรับกรรมการตรวจและสอบ
โครงงานลงนามรับรองหรืออนุมัติโครงงาน
6.1.5 หน้ากิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement page) เป็นส่วนที่ผู้เขียนโครงงาน
แสดงความขอบคุณผู้ที่ให้ความช่วยเหลือในการศึกษาค้นคว้าและจัดทาโครงงาน
6.1.6 บทคัดย่อ (Abstract) เป็นการย่อสาระสาคัญของโครงงาน
6.1.7 สารบัญ (Table of contents) เป็นบัญชีแสดงการแบ่งเนื้อเรื่องออกเป็นบท โดย
ระบุชื่อบทพร้อมหมายเลขหน้า ตามที่ปรากฏในโครงงาน
6.1.8 สารบัญตาราง (List of tables) เป็นบัญชีตารางพร้อมหมายเลขหน้าที่ปรากฏใน
โครงงานใช้สาหรับโครงงานที่มีตารางประกอบหลาย ๆ ตาราง
6.1.9 สารบัญภาพ (List of illustrations) เป็นบัญชีภาพประกอบเนื้อเรื่องพร้อม
หมายเลขหน้าที่ปรากฏใช้สาหรับโครงงานที่มีภาพประกอบหลาย ๆ ภาพ
6.1.10 อักษรย่อและสัญลักษณ์ (Abbreviations and symbols) เป็นการนาเสนอักษร
ย่อและสัญลักษณ์ที่มีผู้กาหนดไว้แล้วหรือผู้เขียนกาหนดขึ้นใช้ในโครงงาน
6.2 ส่วนเนื้อความ(Text)
6.2.1 บทนา ประกอบด้วย
ชื่อบท : บทที่ 1 บทนา
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา (statement and significance of the
problem) เน้นการเขียนถึงภูมิหลังที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ค้นคว้าวิจัยความจาเป็นหรือสาเหตุที่ต้องศึกษา
(Need for the Study) การนาไปสู่ความก้าวหน้าวิชาการแขนงนั้นตลอดจนประโยชน์ที่เกิดจากการศึกษา
เรื่องนั้น และหน่วยงานที่นักศึกษาได้นามาเป็นกรณีศึกษา
วัตถุประสงค์ของการศึกษา (Objective) เป็นการเขียนถึงจุดมุ่งหมายที่ต้องการค้นคว้าหา
ข้อเท็จจริงของผู้ศึกษาค้นคว้า ดังนั้น หัวข้อนี้จะกล่าวถึงปัญหาที่ต้องการทราบคาตอบ เรียงลาดับความสาคัญ
ก่อนหลัง การเขียนการใช้ประโยคที่สมบูรณ์ ใช้ถ้อยคาที่แสดงอาการ หรือระบุพฤติกรรมที่สามารถสังเกตุได้
ระบุตัวแปร ข้อมูลที่ต้องการศึกษา ตัวอย่าง หัวเรื่อง “การออกแบบและพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอน
ระดับอุดมศึกษา”
| 25ห น ้ า
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน ระดับอุดมศึกษา
2. เพื่อวิเคราะห์และออกแบบระบบการจัดการเรียนการสอน ระดับอุดมศึกษา
3. เพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอน ระดับอุดมศึกษา
ขอบเขตของการศึกษา (Scope of study)
เน้นขอบเขตจากัดในการศึกษาให้แน่ชัดว่าจะศึกษาพิจารณาในขอบเขตใด คุณสมบัติของสิ่งที่ศึกษา
สิ่งที่จะทาการออกแบบ ขอบเขตในการพัฒนาระบบ เครื่องมือที่ใช้ทางด้านฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ และ
ข้อมูลที่ใช้ โดยกาหนดขอบเขตให้ชัดเจน
ระยะเวลาและแผนดาเนินงาน (Duration)
เป็นการกล่าวถึงขั้นตอนการทางาน แต่ละขั้นตอนที่เริ่มต้นศึกษาจนกระทั่งสิ้นสุดการศึกษา
โดยกาหนดระยะเวลาทุกขั้นตอน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ (Advantages)
เป็นการกล่าวถึงผลที่ได้จากการศึกษา โดยดูสิ่งที่ได้นั้นนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร ทั้งในการสร้าง
ความรู้ใหม่และการนาไปใช้ในการแก้ไขและป้องกันปัญหาในสังคม การเขียนให้เขียนประโยชน์ที่จะได้รับเป็น
ข้อ ๆ
คานิยามศัพท์เฉพาะ (Definitions)
เป็นการกล่าวถึงความหมายของคาหรือข้อความ ที่ผู้ศึกษาต้องการทาความเข้าใจกับผู้อ่านเพื่อให้
เข้าใจตรงกันกับผู้ศึกษา
6.2.2 ตัวเรื่อง (Body of the text) ประกอบด้วย
ชื่อบท : บทที่ 2 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
การเขียนเนื้อหาเกี่ยวกับทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องนับว่ามีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการศึกษา
ค้นคว้า ซึ่งแสดงถึงการสารวจตรวจสอบหรือทบทวนทฤษฎีรายงาน การวิจัยและเอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้องใน
อดีตอย่างละเอียดครบถ้วนของผู้ศึกษา และเพื่อให้ผู้อ่านเห็นประเด็นปัญหาการศึกษาและแนวความคิดใน
การศึกษาอย่างชัดเจน
ผู้ที่ศึกษาจะต้องเอาทฤษฎีและข้อค้นพบ จากเอกสารและรายงานทางการวิจัยที่เกี่ยวข้องมาเขียน
บรรยายหรือเขียนเป็นผังความคิด เพื่อวิเคราะห์วิจารณ์ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ และเกี่ยวข้องกับปัญหาที่วิจัย
เช่นถ้าเป็นการพัฒนาซอฟต์แวร์ ก็น่าจะเน้นการยกตัวอย่างทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง คือ ทฤษฎีการพัฒนาซอร์ฟแวร์
(SDLC: Software Development Life Cycle) โดยมีขั้นตอนกระบวนการศึกษา การทางานอย่างไร เพื่อให้
ได้เป้าหมายหรือเพื่อแก้ไขปัญหาที่เรากาลังทาการศึกษานั้นให้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี
A01 (2)
A01 (2)
A01 (2)
A01 (2)
A01 (2)
A01 (2)
A01 (2)

More Related Content

What's hot

ใบงาน2 8
ใบงาน2 8ใบงาน2 8
ใบงาน2 8Pream12
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Supaluck
 
ใบงานที่ 2 16 งานคู่
ใบงานที่ 2 16 งานคู่ใบงานที่ 2 16 งานคู่
ใบงานที่ 2 16 งานคู่coolboy004
 
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
Khon Kaen University
 
โครงงาน ^^
โครงงาน ^^โครงงาน ^^
โครงงาน ^^mcf_cnx1
 
โครงงาน ^^
โครงงาน ^^โครงงาน ^^
โครงงาน ^^mcf_cnx1
 
โครงงาน ^^
โครงงาน ^^โครงงาน ^^
โครงงาน ^^mcf_cnx1
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Research
kroojade
 

What's hot (10)

Two
TwoTwo
Two
 
Com
ComCom
Com
 
ใบงาน2 8
ใบงาน2 8ใบงาน2 8
ใบงาน2 8
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 2 16 งานคู่
ใบงานที่ 2 16 งานคู่ใบงานที่ 2 16 งานคู่
ใบงานที่ 2 16 งานคู่
 
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
 
โครงงาน ^^
โครงงาน ^^โครงงาน ^^
โครงงาน ^^
 
โครงงาน ^^
โครงงาน ^^โครงงาน ^^
โครงงาน ^^
 
โครงงาน ^^
โครงงาน ^^โครงงาน ^^
โครงงาน ^^
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Research
 

Similar to A01 (2)

ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
ใบงาน2 แก้
ใบงาน2 แก้ใบงาน2 แก้
ใบงาน2 แก้Yong Panupun
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์อำนาจ ศรีทิม
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2mina612
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2 ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2 rohanlathel
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2juice1414
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2win_apitchaya
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
Sornnarin Wuthifuey
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2Nontt' Panich
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาNatnicha Nuanlaong
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาNatnicha Nuanlaong
 
Com01
Com01Com01

Similar to A01 (2) (20)

ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงาน2 แก้
ใบงาน2 แก้ใบงาน2 แก้
ใบงาน2 แก้
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2 ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
K2
K2K2
K2
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
 
K02
K02K02
K02
 
K02
K02K02
K02
 
K02
K02K02
K02
 
K02
K02K02
K02
 
Com01
Com01Com01
Com01
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (11)

ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

A01 (2)

  • 1. | 1ห น ้ า คู่มือการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ และการนาเสนอผลงาน โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (มัธยมวัดหัตถสารเกษตร)ในพระราชูปถัมภ์ฯ
  • 2. | 2ห น ้ า 1. มาตรฐาน ง 4.1 เข้าใจ เห็นคุณค่า และใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การสื่อสาร การแก้ปัญหา การทางานและอาชีพ อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและมีคุณธรรม 2.สาระสาคัญ การวิเคราะห์โครงงานคอมพิวเตอร์ และรูปแบบการเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ เป็นสิ่งสาคัญเพื่อให้มี ความรู้ความเข้าใจและสามารถนาเอาคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา อันเป็นแนวทางในการ ประกอบอาชีพและใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน การปฏิบัติตามขั้นตอนกระบวนการดาเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ เป็นสาคัญเพื่อให้มีความรู้ความ เข้าใจและสามารถนาเอาคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ อันเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพและใช้ประโยชน์ใน ชีวิตประจาวัน 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 ความหมายและความสาคัญของโครงงานประเภทโครงงาน 3.2 แบบเสนอโครงงาน ประกอบด้วยรายละเอียดต่าง ๆ ดังนี้ 3.2. 1 หลักการและเหตุผล 3.2.2 วัตถุประสงค์ 3.2.3 เป้าหมาย 3.2.4 ชื่อกิจกรรม ระยะเวลา 3.2.5 ผู้รับผิดชอบโครงงาน 3.2.6 การจัดการด้านงบประมาณ 3.2.7 การประเมินผล 3.3 ชี้แหล่งข้อมูลที่ต้องการจัดทาโครงงานและสามารถรวบรวมข้อมูลจากแหล่งที่กาหนดและ นาข้อมูลมาสร้างโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยสามารถบอกอุปสรรคและปัญหาของการทางานได้ 3.4 นาเสนอโครงงานในรูปแบบสื่อการนาเสนอแบบสื่อผสม 4. ทักษะ/กระบวนการ ความรู้ความเข้าใจ วิเคราะห์ ปฏิบัติ 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 5.1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5.2 ซื่อสัตย์สุจริต 5.3 มีวินัย 5.4ใฝ่เรียนรู้ 5.5 อยู่อย่างพอเพียง 5.6 มุ่งมั่นในการทางาน 5.7 รักความเป็นไทย 5.8 มีจิตสาธารณะ
  • 3. | 3ห น ้ า 6. จุดประสงค์การเรียนรู้ 6.1 นักเรียนบอกความหมายและความสาคัญของโครงงานได้ 6.2 นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจโครงงานแต่ละประเภทได้ 6.3 นักเรียนสามารถกาหนดปัญหาในการทาโครงงานได้ 6.4 นักเรียนสามารถวิเคราะห์ปัญหาของโครงงานได้ 6.5 นักเรียนสามารถเขียนเค้าโครงงานคอมพิวเตอร์ได้ 6.6 นักเรียนสามารถลาดับขั้นตอนกระบวนการแก้ปัญหาได้ 6.7 นักเรียนบอกแหล่งข้อมูลหรือที่มาของปัญหาที่นามาทาโครงงานได้ 6.8 นักเรียนสามารถรวบรวมข้อมูลได้ 6.9 นักเรียนสามารถนาข้อมูลมาสร้างโครงงานได้ 6.10 นักเรียนสามารถบอกอุปสรรคและปัญหาการทางานได้ 6.11 นักเรียนสามารถดาเนินงานตามแผนที่กาหนดไว้ในโครงงาน 6.12 นักเรียนสามารถประยุกต์สื่อมัลติเดียมาใช้นาเสนอโครงงานเพื่อการศึกษาเบื้องต้นได้
  • 4. | 4ห น ้ า บทที่ 1 ความหมายและความสาคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ ความหมายและความสาคัญของโครงงาน 1. โครงงานคอมพิวเตอร์ คือ กิจกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนอีกรูปแบบหนึ่ง ที่ทาให้นักเรียนมีอิสระทางความคิด ทางการศึกษาปัญหาและสิ่งต่างๆ ที่ตนเองในใจ โดยนักเรียนต้องมีการวางแผนการศึกษาและนักเรียนจะต้อง วางแผนการดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง โดยใช้ความรู้กระบวนการทาง วิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และวัสดุอุปกรณ์ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่ นักเรียนสนใจและคิดจะทาโครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้า และพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทาโครงงานเรื่องดังกล่าวได้ แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้ จุดมุ่งหมายสาคัญ ของการทาโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับประสบการณ์ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้นหรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อการศึกษา ประดิษฐ์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่างๆตลอดจนการพัฒนาเกม คอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ ความมีคุณธรรมจริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับเพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข และทาให้เกิดความสามัคคีในการทางาน ร่วมกันเป็นกลุ่ม รวมถึงการฝึกความกล้าแสดงออกในการนาเสนอผลงานของตน 2. คุณค่าของการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มีผลกระทบต่อความเจริญก้าวหน้าของทุก ๆ สังคมในโลกปัจจุบนนี้ เทคโนโลยีด้านนี้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว จึงเป็นเรื่องยากที่ประชาชนจะคอยติดตามความก้าวหน้าอยู่ ตลอดเวลาและเป็นสิ่งที่ไม่เกิดประโยชน์คุ้มค่าอีกด้วย ดังนั้นการศึกษาเทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์จึงต้องศึกษา หลักการและเนื้อหาพื้นฐานเป็นสาคัญ การศึกษาด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์เป็นสิ่งจาเป็นเสมือนกับการศึกษา วิทยาศาสตร์ธรรมชาติคอมพิวเตอร์ได้เปลี่ยนแปลงโลกของเราในด้านต่าง ๆ มากมายได้แก่ - สังคมโดยส่วนใหญ่เปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมเป็นสังคมสารสนเทศ - การตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ มักขึ้นอยู่กับข้อมูลซึ่งได้จากระบบคอมพิวเตอร์ - คอมพิวเตอร์กลายเป็นเครื่องมือที่สาคัญแทนเครื่องมืออื่น ๆ ในอดีต เช่น เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องคิด เลขเป็นต้น - คอมพิวเตอร์ถูกใช้ในการออกแบบสถานการณ์หรือปัญหาที่ซับซ้อนต่าง ๆ - คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารของโลกปัจจุบัน นักเรียนในระดับมัธยมศึกษา เรียนวิทยาศาสตร์ธรรมชาติเพื่อความเข้าใจความเป็นไปของธรรมชาติในโลก ในทานองเดียวกันนักเรียนต้อง เรียนวิชาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์เพื่อความเข้าใจในสังคมเศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของสังคมต่าง ๆ ในยุค
  • 5. | 5ห น ้ า สารสนเทศ เนื้อหาวิชาทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษามีเป้าหมายที่จะพัฒนา นักเรียนให้มีความรู้ความเข้าใจในวิทยาการของคอมพิวเตอร์และมีความสามารถในการพัฒนาโปรแกรมได้ ดังนั้น การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์จะเป็นสิ่งที่ทาให้นักเรียนสามารถบรรลุเป้าหมายได้อย่างสมบูรณ์ จุดมุ่งหมายที่สาคัญประการหนึ่งของการเรียนการสอนคอมพิวเตอร์ในโรงเรียน คือการที่นักเรียนได้มีโอกาส ฝึกความสามารถในการนาความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้นหรือค้นคว้าหา ความรู้ต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง ซึ่งวิธีการที่มีประสิทธิภาพมากวิธีหนึ่งคือการที่นักเรียนได้มีโอกาสทาโครงงาน คอมพิวเตอร์ 3. การทาโครงงานคอมพิวเตอร์และการจัดงานแสดงโครงงาน การทาโครงงานคอมพิวเตอร์และการจัดงานแสดงโครงงานจะมีคุณค่าต่อการฝึกฝนให้นักเรียนมี ความรู้ ความชานาญ และมีความมั่นใจในการนาระบบคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการแก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้นหรือ ค้นคว้าหาความรู้ต่าง ๆ ด้วยตนเองและยังมีคุณค่าอื่น ๆ อีกดังต่อไปนี้ 1. สร้างความสานึกและความรับผิดชอบในการศึกษาและพัฒนาระบบด้วยตนเอง 2. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้พัฒนาและแสดงความสามารถตามศักยภาพของตนเอง 3. เปิดโอกาสให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้า และเรียนรู้ในเรื่องที่นักเรียนสนใจได้ลึกซึ้งกว่าการเรียนใน ห้องตามปกติ 4. ส่งเสริมและพัฒนากระบวนการคิด การแก้ปัญหา การตัดสินใจ รวมทั้งการสื่อสารระหว่างกัน 5. กระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในการเรียนวิชาสาขาคอมพิวเตอร์ และมีความสนใจที่จะประกอบ อาชีพทางด้านนี้ 6. ส่งเสริมให้นักเรียนได้ใช้เวลาอย่างเป็นประโยชน์ในทางสร้างสรรค์ 7. สร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับครูและชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้ชุมชนสนใจคอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องมากขึ้น 8. เป็นการบูรณาการเอาความรู้จากวิชาต่าง ๆ ที่ได้รับมาจัดทาผสมผสานกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นโครงงานเพื่อนาเสนอต่อชุมชน การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์นั้น นักเรียนควรมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ การทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เหตุผลที่ใช้ในการแก้ปัญหา กระบวนการแก้ปัญหา หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น และการแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์ ก่อนที่จะเริ่มทาโครงงาน และใช้ความรู้ดังกล่าวเป็นพื้นฐานในการ สร้างความรู้ใหม่ในโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยในการทาโครงงานนักเรียนอาจจะมีโอกาสได้ทาความรู้จักกับ ความรู้ใหม่เพิ่มเติมอีกด้วย เช่น ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) ฐานข้อมูล (Database) และการ สืบค้นข้อมูล(Information Retrieval) เป็นต้น ซึ่งจะขึ้นอยู่กับหัวข้อที่นักเรียนเลือกทาโครงงาน
  • 6. | 6ห น ้ า 4. ความสาคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์ คือ ผลงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าตามความสนใจ ความถนัดและ ความสามารถของผู้เรียน โดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ โครงงานจึงเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีการเน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ โดยผู้เรียนจะหาหัวข้อโครงงานที่ตนเองสนใจ รวมทั้งเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ และความรู้ด้าน คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสร้างผลงานตามความต้องการได้อย่างเหมาะสม โดยมีครูเป็นที่ ปรึกษาและให้คาแนะนาความสามารถที่เกิดจากการทาโครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์เป็น กิจกรรมการเรียนรู้ที่ทาให้ผู้เรียนเกิดความสามารถในด้านต่าง ๆ ที่สาคัญ 5 ประการดังนี้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถที่เกิดจากการที่นักเรียนเป็นผู้ทาโครงงานต้อง นาเสนอผลงานให้ ครูและเพื่อนนักเรียนให้เข้าใจโครงงานคอมพิวเตอร์ได้อย่างชัดเจน ดังนั้น ผู้ทาโครงงานต้อง สื่อสารความคิดในการสร้างสรรค์โครงงานด้วยการเขียน หรือด้วยปากเปล่า รวมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่อ อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อนาเสนอแนวคิดในการจัด โครงงานให้ผู้อื่นได้เข้าใจ 2. ความสามารถในการคิด ซึ่งผู้เรียนจะมีการคิดในลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ 2.1 การคิดวิเคราะห์ เกิดจากการที่ผู้เรียนต้องวิเคราะห์ปัญหาและแยกแยะสาเหตุว่าเกิด เนื่องจากอะไร 2.2 การคิดสังเคราะห์ เกิดจากการที่ผู้เรียนต้องนาความรู้ต่าง ๆ ที่เรียนมา รวมทั้งความรู้ จากการค้นหาข้อมูล เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาหรือการสร้างสรรค์โครงงาน 2.3 การคิดอย่างสร้างสรรค์ เกิดจากการที่ผู้เรียนนาความรู้มาสร้างสรรค์ผลงานใหม่ ๆ 2.4 การคิดอย่างมีวิจารณญาณ เกิดจากการที่ผู้เรียนได้มีการคิดไตร่ตรองว่าควรทาโครงงาน ใดและไม่ควรทาโครงงานใด เนื่องจากโครงงานที่สร้างขึ้นอาจส่งผลกระทบต่อสังคมโดยรวม เช่น โครงงาน ระบบคานวณเลขหวย สาหรับหาเลขที่คาดว่าสลากกินแบ่งรัฐบาลจะออกในแต่ละงวด อาจส่งผลกระทบต่อ สังคม ทาให้คนในสังคมเกิดความหมกมุ่นในกับการใช้เงินเล่นหวยมากขึ้น 2.5 การคิดอย่างเป็นระบบ เกิดจากการที่ผู้เรียนคิดแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน โดยใช้ ขั้นตอนในการพัฒนาโครงงาน คือ ผู้เรียนเป็นผู้วางแผนในการศึกษา ค้นคว้า เก็บรวบรวมข้อมูล พัฒนา หรือ ประดิษฐ์คิดค้นผลงาน รวมทั้งการสรุปผลและการนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยมีผู้สอนและ ผู้ทรงคุณวุฒิเป็นผู้ให้คาปรึกษา 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เกิดจากการที่ผู้เรียนวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจ และอธิบายปัญหา ทางด้านคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
  • 7. | 7ห น ้ า 5. เกิดจากการที่ผู้เรียนได้นาความรู้และกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการพัฒนาโครงงาน และนาไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม รวมถึงการพัฒนาโครงงาน ก่อให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง อันนาไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต 6. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เกิดจากการที่ผู้เรียนสามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ในการแก้ปัญหาได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมและมีคุณธรรม
  • 8. | 8ห น ้ า บทที่ 2 หลักการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ 1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ 2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล 3. จัดทา เค้าโครงของโครงงาน 4. การลงมือทา โครงงาน 5. การเขียนรายงาน 6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน 1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ โดยทั่วไปเรื่องที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ มักจะได้มาจากปัญหา คาถาม หรือความ สนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ รอบตัว ปัญหาที่จะ นามาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ได้จากแหล่งต่างๆ กัน ดังนี้ 1. การอ่านค้นคว้าจากหนังสือ เอกสาร หนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่างๆ 2. การไปเยี่ยมชมสถานที่ต่างๆ 3. การฟังบรรยายทางวิชาการ รายการวิทยุและโทรทัศน ์ รวมทั้งการสนทนาอภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นระหว่างเพื่อนนักเรียนหรือกับบุคคลอื่นๆ 4. กิจกรรมการเรียนการสอนในโรงเรียน 5. งานอดิเรกของนักเรียน 6. การเข้าชมงานนิทรรศการหรืองานประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ ในการตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนา มาพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ควรพิจารณาองค์ประกอบสาคัญ ดังนี้ 1. ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา 2. สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้ 3. มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคา ปรึกษา 4. มีเวลาเพียงพอ 5. มีงบประมาณเพียงพอ 6. มีความปลอดภัย 2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล ซึ่งรวมถึงการขอคาปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิจะช่วยให้ นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้ เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษาจนสามารถใช้ออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงานนั้นได้อย่างเหมาะสม ในการศึกษาจะต้องได้คาตอบว่า
  • 9. | 9ห น ้ า 1. จะทาอะไร 2. ทาไมต้องทา 3. ต้องการให้เกิดอะไร 4. ทาอย่างไร 5. ใช้ทรัพยากรอะไร 6. ทากับใคร 7. เสนอผลอย่างไร 3. องค์ประกอบของเค้าโครงของโครงงาน หัวข้อ/รายงาน รายละเอียดที่ต้องระบุ - ชื่อโครงงาน ทา อะไร กับใคร เพื่ออะไร - ชื่อผู้จัดทาโครงงาน ผู้รับผิดชอบโครงงาน อาจเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มก็ได้ - อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครู-อาจารย์ผู้ทาหน้าที่เป็นที่ปรึกษา ควบคุมการทาโครงงานของ นักเรียน - ระยะเวลาดาเนินงาน ระยะเวลาการดาเนินงานโครงงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด - แนวคิด ที่มา และ - ความสาคัญ - สภาพปัจจุบันที่เป็นความต้องการและความคาดหวังที่จะเกิดผล - วัตถุประสงค์ สิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดโครงงานทั้งในเชิงกระบวนการ และผลผลิต - หลักการและทฤษฎี หลักการและทฤษฎีที่นา มาใช้ในการพัฒนาโครงงาน - วิธีดาเนินงาน - กิจกรรมหรือขั้นตอนการดาเนินงาน เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ สถานที่ และ - งบประมาณ - ขั้นตอนการปฏิบัติ วัน เวลา และกิจกรรมดาเนินการต่างๆ ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด - ผลที่คาดว่าจะได้รับ สภาพของผลที่ต้องการให้เกิด ทั้งที่เป็นผลผลิต กระบวนการ และผลกระทบ - เอกสารอ้างอิง ซื่อเอกสาร ข้อมูลที่ได้จากแหล่งต่างๆ ที่นามาใช้ในการดาเนินงาน 4. การลงมือทาโครงงาน เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทา โครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่าครึ่ง ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ดังนี้ 4.1 การเตรียมการ การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการพัฒนา ให้พร้อมด้วย และควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึก การทากิจกรรมต่างๆ ระหว่างทา โครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้หรือไม่ อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ
  • 10. | 10ห น ้ า 4.2 การลงมือพัฒนา 1. ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วย ทา ให้ผลงานดีขึ้น 2. จัดระบบการทา งานโดยทา ส่วนที่เป็นหลักสาคัญๆ ให้แล้วเสร็จก่อน จึงค่อยทาส่วนที่เป็น ส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทา ให้ตกลง รายละเอียดในการต่อเชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย 3. พัฒนาระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ และบันทึกข้อมูลไว้อย่างเป็นระบบและ ครบถ้วน 4.3 การทดสอบผลงานและแก้ไข การตรวจสอบความถูกต้องของผลงานเป็นความจา เป็นเพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้นทา งานได้ถูกต้องตรงกับความต้องการที่ระบุไว้ในเป้าหมาย และทาด้วยประสิทธิภาพสูงด้วย 4.4 การอภิปรายและข้อเสนอแนะ เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทา สรุปด้วยข้อความที่สั้นกะทัดรัดอย่างครอบคลุมเพื่อ ช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทาโครงงาน และทาการอภิปรายผลด้วยเพื่อพิจารณาข้อมูลและผล ที่ได้ พร้อมกับนาไปหาความสัมพันธ์กับหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้ยังรวมถึงการนา หลักการ ทฤษฎี หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบการอภิปรายผลที่ ได้ด้วย 4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ เมื่อทาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว นักเรียนอาจพบข้อสังเกต ประเด็นที่สาคัญหรือปัญหา ซึ่งสามารถเขียนเป็นข้อเสนอแนะและสิ่งที่ควรจะศึกษาและหรือใช้ประโยชน์ต่อไปได้ 5. การเขียนรายงาน การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิด วิธีดาเนินการศึกษาค้นคว้า ข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่างๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น ในการเขียนรายงาน นักเรียนควรใช้ ภาษาที่อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่างๆ เหล่านี้ 5.1 ส่วนนา ส่วนนาเป็นการให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานนั้นซึ่งประกอบด้วย 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผู้ทาโครงงาน 3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 4. คาขอบคุณ เป็นคากล่าวขอบคุณบุคคลหรือหน่วยงาน ที่มีส่วนช่วยทาให้โครงงานนี้ ประสบความสาเร็จ 5. บทคัดย่อ อธิบายถึงที่มา ความสาคัญ วัตถุประสงค์ วิธีดา เนินการ และผลที่ได้ โดยย่อ (ประมาณ 150-250 คา )
  • 11. | 11ห น ้ า 5.2 บทนา บทนา เป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานซึ่งประกอบด้วย 1. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 2. เป้าหมายของการศึกษาค้นคว้า 3. ขอบเขตของโครงงาน 5.3 หลักการและทฤษฎี หลักการและทฤษฎี เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหาข้อมูลหรือหลักการ ทฤษฎี หรือวิธีการที่ จะนามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน ซึ่งรวมถึงการระบุผลงานของผู้อื่นที่นักเรียนนามาเปรียบเทียบหรือพัฒนา เพิ่มเติมด้วย 5.4 วิธีดาเนินการ วิธีดาเนินการ อธิบายขั้นตอนการดาเนินงานโดยละเอียด พร้อมทั้งระบุปัญหาหรืออุปสรรคที่พบพร้อม ทั้งวิธีการที่ใช้แก้ไข พร้อมทั้งระบุวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการทางาน 5.5 ผลการศึกษา ผลการศึกษา นาเสนอข้อมูลหรือระบบที่พัฒนาได้ โดยอาจแสดงเป็นตาราง หรือ กราฟ หรือข้อความ ทั้งนี้ให้คา นึกถึงความเข้าใจของผู้อ่านเป็นหลัก 5.6 สรุปผลและข้อเสนอแนะ สรุปผลและข้อเสนอแนะ อธิบายผลสรุปที่ได้จากการทางาน ถ้ามีการตั้งสมมติฐานควรระบุด้วยว่า ข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้านสมมติฐานที่ตั้งไว้หรือยังสรุปไม่ได้ นอกจากนั้นยังควรกล่าวถึงการนาผลการ ทดลองหรือพัฒนาไปใช้ประโยชน ์ อุปสรรคของการทาโครงงาน หรือข้อสังเกตที่สาคัญหรือข้อผิดพลาดบาง ประการที่เกิดขึ้นจากการทาโครงงานนี้ รวมทั้งข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแก้ไขหากจะมีผู้ศึกษาค้นคว้าใน เรื่องทานองนี้ต่อไปในอนาคตด้วย 5.7 ประโยชน์ ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน ระบุประโยชน์ที่นักเรียนได้รับจากการพัฒนาโครงงานนั้น และ ประโยชน์ที่ผู้ใช้จะได้รับจากการนา ผลงานของโครงงานได้ใช้ด้วย 5.8 บรรณานุกรม บรรณานุกรม รวบรวมรายชื่อหนังสือ วารสาร เอกสาร หรือเว็บไซด์ต่างๆ ที่ผู้ทาโครงงานใช้ค้นคว้า หรืออ่านเพื่อศึกษาข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ ที่นามาใช้ประโยชน์ในการทาโครงงานนี้ การเขียนเอกสาร บรรณานุกรมต้องให้ถูกต้องตามหลักการเขียนด้วย 5.9 การจัดทาคู่มือการใช้งาน หาโครงงานที่นักเรียนจัดทาเป็นการพัฒนาระบบใหม่ขึ้นมา ให้นักเรียนจัดทา คู่มืออธิบาย วิธีการใช้ ผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย 1. ชื่อผลงาน 2. ความต้องการของระบบคอมพิวเตอร์ ระบุรายละเอียดของคอมพิวเตอร์ที่ต้องมีเพื่อจะใช้ผลงานนั้น ได้
  • 12. | 12ห น ้ า 3. ความต้องการของซอฟต์แวร์ ระบุรายชื่อซอฟต์แวร์ที่ต้องมีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อจะให้ ผลงานนั้นทางานได้อย่างสมบูรณ์ 4. คุณลักษณะของผลงาน อธิบายว่าผลงานนั้นทาหน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลขาเข้าและส่วน อะไรออกมาเป็นข้อมูลขาออก 5. วิธีการใช้งานของแต่ละฟังก์ชัน อธิบายว่าจะต้องกดคาสั่งใด หรือกดปุ่มใด เพื่อให้ผลงานทางานใน ฟังก์ชันหนึ่งๆ 6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน การนาเสนอและการแสดงผลงานเป็นขั้นตอนที่สาคัญอีกขั้นตอนหนึ่งของการทาโครงงาน เพื่อ แสดงออกถึงผลิตผลความคิด ความพยายามในการทางานที่ผู้ทาโครงงานได้ทุ่มเท และเป็นวิธีทาให้ผู้อื่นได้รับรู้ และเข้าใจถึงผลงานนั้น การเสนอผลงานอาจทาได้ในหลายรูปแบบต่างๆ กัน เช่น การแสดงผลงานโดยไม่มีการอธิบาย ประกอบ การรายงานด้วยคาพูดในที่ประชุม การจัดนิทรรศการโดยโปสเตอร์และอธิบายด้วยคาพูดเป็นต้น โดยผลงานที่นามาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบด้วยสิ่งต่อไปนี้ 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผู้จัดทาโครงงาน 3. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 4. คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน 5. วิธีการดาเนินการที่สาคัญ 6. การสาธิตผลงาน 7. ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน
  • 13. | 13ห น ้ า บทที่ 3 ประเภทของโครงงาน โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานในชีวิตประจาวันอาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่ง ภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้ จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมี การทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงาน ประเภทนี้ผู้เรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่างโครงงานประยุกต์ใช้งาน -โปรแกรม สารบรรณสาเร็จรูป : Readymade Archivist -โปรแกรมระบบฐานข้อมูลทางการแพทย์เบื้องต้น โปรแกรมระบบแฟ้มฐานข้อมูลผู้เรียน 2001 -เครื่องรดน้าต้นไม้และให้อาหารปลาผ่านโทรศัพท์มือถือ -เครื่องให้อาหารไก่ไข่อัตโนมัติ ระบบบริหารจัดการข้อมูลผู้เรียนของโรงเรียน -ระบบจัดการข้อมูลการเงินส่วนบุคคล ระบบจองตั๋วรถไฟบนอินเทอร์เน็ต -ระบบแนะนาเส้นทางเดินรถประจาทาง -โปรแกรมสังเคราะห์เสียงสาหรับคนตาบอดบนรถประจาทาง -โปรแกรมออกและตรวจข้อสอบ -โฮมเพจส่วนบุคคล -โปรแกรมช่วยปฐมพยาบาลเบื้องต้น -โปรแกรมพจนานุกรมไทย-อังกฤษ ที่มาของข้อมูล : http://blog.eduzones.com/jipatar/85915 http://krumewstp.wordpress.com (สืบค้นวันที่ 14/08/2555) โครงงานประเภท การพัฒนาเครื่องมือ โครงงานพัฒนาเครื่องมือ โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือช่วย สร้างงานประยุกต์ ต่างๆ โดยส่วนใหญ่ จะอยู่ในรูป ซอฟต์แวร์ เช่น ซอฟต์แวร์ วาดรูป ซอฟต์แวร์ พิมพ์งาน และซอฟต์แวร์ช่วย การมองวัตถุในมุมต่างๆ เป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์ เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลค่า ซึ่งจะเป็นเครื่องมือให้เราใช้ในการพิมพ์งานต่างๆบนเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนซอฟต์แวร์ การวาดรูป พัฒนาขึ้น เพื่ออานวยความสะดวกให้การวาดรูปบนเครื่องคอมพิวเตอร์ ให้เป็นไปได้โดยง่าย สาหรับซอฟต์แวร์ ช่วยการ มองวัตถุในมุมต่างๆ ใช้สาหรับช่วยการออกแบบสิ่งของ อาทิเช่นผู้ใช้ วาดแจกันด้านหน้า และต้องการจะดูว่า ด้านบนและด้านข้างเป็นอย่างไร ก็ให้ซอฟต์แวร์ คานวณค่าและภาพที่ควรจะเป็นมาให้ เพื่อพิจารณาและแก้ไข ภาพแจกันที่ออกแบบไว้ได้อย่างสะดวก
  • 14. | 14ห น ้ า ตัวอย่างโครงงานการพัฒนาซอฟแวร์ โปรแกรมสร้างโมเดลสามมิติจากการวาดอย่างง่าย (CPS’ketchuu) ประเภทโปรแกรม -เพื่อประยุกต์ ใช้ งานสาหรับลินุ๊กซ์ (ระดับนิสิตนักศึกษา) โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี เป็น โครงงานใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการทดลองของสาขาต่าง ๆ เป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษา รวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริงและแนวความคิดต่าง ๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษา แล้วเสนอเป็น แนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสมการ สูตร หรือคาอธิบายก็ได้ พร้อมทั้งนาเสนอวิธีการ จาลองทฤษฎีด้วยคอมพิวเตอร์ การทาโครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้เรื่องนั้น ๆ เป็น อย่างดี ตัวอย่าง เช่น การทดลองเรื่องการไหลของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาอโรวาน่า ทฤษฎี การแบ่งแยกดีเอ็นเอ เป็นต้น ตัวอย่างโครงงานจาลองทฤษฎี -การทดลองปัจจัยต่างๆ ในการเลี้ยงปลานิลด้วยคอมพิวเตอร์ -การทดลองปัจจัยต่างๆ ในการเพาะปลูกแก้วมังกรด้วยคอมพิวเตอร์ -การทดลองผสมสารเคมีต่างๆ ด้วยคอมพิวเตอร์ -ปัจจัยต่างๆ กับการเคลื่อนที่ของเครื่องบิน -ผลการปลูกข้าวในสภาวะแวดล้อมที่ต่างกัน -โปรแกรมสังเคราะห์เสียงพูดเบื้องต้น -โปรแกรมจาลองการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล -การทานายอุณหภูมิจากข้อมูลที่ผ่านมา -การเปรียบเทียบเทคนิคของการย่อขนาดแฟ้มข้อมูล ที่มาของข้อมูล : http://blog.eduzones.com/jipatar/85915 http://krumewstp.wordpress.com (สืบค้นวันที่ 14/08/2555) โครงงานประเภท"การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์" โครงงานพัฒนาเกม โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้ ความ เพลิดเพลิน เช่น เกมหมารุก โปรแกรม ต่อให้เพิ่ม เติมให้เต็ม (Magic Puzzle) โปรแกรม เกมผู้รอดชีวิต โปรแกรมเกมทศกัณฑ์ เกมทายคาศัพท์ และเกมการคานวณเลข เป็นต้น ซึ่งเกมที่พัฒนาขึ้นนี้น่าจะเน้นให้เป็น เกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกความคิดอย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะ และกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจแก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการ สารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่างๆ ที่มีอยู่ทั่วไป และนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อให้เป็นเกมที่ แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่างๆ
  • 15. | 15ห น ้ า ตัวอย่าง 1. โปรแกรม ต่อให้เพิ่ม เติมให้เต็ม (Magic Puzzle) 2. โปรแกรม เกมผู้รอดชีวิต 3. โปรแกรมเกมทศกัณฑ์ 4. โปรแกรมรองเท้าอาถรรพ์ 5. เกมผจญภัยกับพระอภัยมณี 6. เกมอักษรเขาวงกต 7. เกมเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 8. เกมผจญภัยกับภาษาอังกฤษ 9. เกมหมากฮอส 10. เกมบวกลบเลขแสนสนุก 11. เกมศึกรามเกียรติ์ 12. เกมมวยไทย
  • 16. | 16ห น ้ า บทที่ 4 การเขียนเค้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) …………………………………………………………………………………………………………………….. (ภาษาอังกฤษ) ……………………………………………..………………………………….……………………………... ประเภทของโครงงาน.…………………………………………………………………..……………………………………………………. ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. …………………………………………………………4. ……………………………………………………………. 2. …………………………………………………………5. ………………………………………………………..….. 3. …………………………………………………………6. ………………………..………………………………..… ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ………………………………………………………………………………………………………………………….. ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาร่วม ……………………………………………….…………………………………………………………………… รายละเอียดเกี่ยวกับโครงงาน 1. แนวคิด ที่มา และความสาคัญ 2. วัตถุประสงค์ 3. หลักการและทฤษฎี 4. วิธีดาเนินงาน 5. แผนปฏิบัติงาน 6. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 7. เอกสารอ้างอิง
  • 17. | 17ห น ้ า บทที่ 5 การเขียนโครงงานคอมพิวเตอร์ การเขียนเอกสารประกอบโครงงาน โครงงานเป็นผลงานทางด้านวิชาการที่ต้องมีความถูกต้องทั้งด้านเนื้อหาและรูปแบบ ทั้งนี้ความถูกต้อง ขึ้นอยู่กับรูปแบบการจัดพิมพ์ และ ส่วนประกอบต่าง ดังนั้นนักศึกษาควรจะทาความเข้าใจและศึกษา หลักเกณฑ์ต่างๆ เกี่ยวกับการพิมพ์โครงงานอย่างถ่องแท้ ตลอดจนทาการตรวจทานแก้ไขต้นฉบับให้ถูกต้อง สมบูรณ์ จึงได้มีการกาหนดหลักเกณฑ์และรูปแบบการพิมพ์โครงงานดังนี้ 5.1 คาแนะนาในการเขียนและพิมพ์เอกสารประกอบโครงงาน เอกสารประกอบโครงงานที่จะทาการเขียนนั้นจะต้องพิมพ์เป็นภาษาไทย หรือ ภาษาอังกฤษด้วย โปรแกรม MS-Word 2007 เป็นอย่างตามรูปแบบที่กาหนดให้ โดยในการเขียนเอกสารนั้นต้องได้รับความ เห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา 5.1.1 การพิมพ์ 1) ให้กาหนดชนิดของกระดาษที่จะใช้ในการพิมพ์เป็นกระดาษ A4 สีขาว แบบหนึ่งคอลัมน์ 80 แกรมขึ้นไป 2) การพิมพ์เนื้อหาให้พิมพ์โดยไม่เว้นบรรทัด เว้นแต่เมื่อขึ้นหัวข้อใหม่ให้เว้น 1 บรรทัดและต้อง พิมพ์ให้เต็มคอลัมน์ก่อนที่จะขึ้นคอลัมน์ใหม่ โดยจัดขอบทางขวาและทางซ้ายให้ตรงกัน 3) การพิมพ์ให้พิมพ์ข้อความต่อเนื่องกันไปเป็นวรรคตอน การเว้นวรรคตอนให้ใช้แป้น Space Bar ได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น 4) พิมพ์หน้าเดียวด้วยตัวพิมพ์สีดาขนาดมาตรฐานชนิดเดียวกันตลอดทั้งเล่ม 5) พิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์เท่านั้น 5.1.2 การลาดับหัวข้อในเนื้อเรื่อง 1) ให้ใช้หมายเลขกากับ โดยให้ระบุหมายเลขของบท นาหน้าหมายเลขกากับหัวเรื่องด้วย ยกตัวอย่างเช่น บทนาของบทที่ 1 ให้ใช้หมายเลขกากับเป็น 1.1 บทนา 2) หากมีการแบ่งหัวข้อย่อย ให้ใช้ระบบเลขทศนิยม กากับหัวข้อย่อย เช่น 1.1, 1.2, 1.3 3) หากมีการแบ่งหัวข้อย่อยของหัวข้อย่อย ให้มีการแบ่งหัวข้อย่อยได้เพียงตัวเลข 3 ตัวเท่านั้น เช่น 1.1.1, 1.1.2, 1.1.3 เท่านั้น 4) หากต้องการแบ่งหัวข้อย่อยอีกให้ใช้ตัวเลขตามด้วยวงเล็บปิด เช่น 1) 2) 3) 5) หากต้องการแบ่งหัวข้อย่อยอีกให้ใช้เครื่องหมาย – นาหน้าหัวข้อย่อย ตัวอย่างเช่น 1.1 ส่วนของหน้าร้าน 1.1.1 ระบบสมัครสมาชิก 1) การตรวจสอบสิทธิการเข้าใช้ - ชื่อผู้ใช้ - สถานะของสิทธิในการเข้าใช้
  • 18. | 18ห น ้ า 5.1.3 การใส่หมายเลขหน้า ให้ใส่หมายเลขไว้ที่ตรงกลางของหน้ากระดาษทุกหน้า ยกเว้นแผ่นแรกของบท โดยเรียงลาดับ ตามลาดับของเอกสารฉบับสมบูรณ์ ดังนี้ 1) ปกนอก ต้องพิมพ์ด้วยหมึกสีน้าเงิน และตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยเป็นภาพสี 2) ปกใน กาหนดให้มีหมายเลขหน้า เป็น ก แต่ไม่ต้องพิมพ์แสดงหมายเลขหน้า 3) หน้าอนุมัติ ให้มีหมายเลขหน้า เป็น ข 4) หน้ากิตติกรรมประกาศ ให้มีหมายเลขหน้า เป็น ค 5) หน้าบทคัดย่อ ให้มีหมายเลขหน้า เป็น ง โดยประกอบไปด้วยหัวข้อคือ ชื่อเรื่อง ผู้จัดทาโครงงาน ชื่อปริญญา อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน บทคัดย่อ 6) หน้าสารบัญ ให้เริ่มหมายเลขหน้าเป็น จ แต่ไม่ต้องพิมพ์แสดงหมายเลขหน้า มีลาดับ ดังนี้ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ สารบัญแผนภูมิ 7) เนื้อหาหน้าแรกของทุกๆ บท ให้นับหมายเลขหน้า แต่ไม่ต้องพิมพ์แสดงหมายเลขหน้า โดย หน้าแรกของ บทที่ 1 ให้นับเป็นหน้าที่ 1 8) ภาคผนวก ให้เขียนหมายเลขหน้า เป็นดังนี้ ลาดับภาคผนวก-หมายเลขหน้า เช่น ก-1 หมายถึง หน้าที่ 1 ของภาคผนวก ก, ข-1 หมายถึง หน้าที่ 1 ของภาคผนวก ข 5.1.4 คาศัพท์เทคนิคที่เป็นคาศัพท์ภาษาอังกฤษ ควรแทนด้วยคาแปลภาษาไทยตามที่นิยมใช้ แล้ววงเล็บคาศัพท์ภาษาอังกฤษต่อท้าย หรือ เขียนทับศัพท์ภาษาไทยตามความเหมาะสม 5.2 ขนาดตัวอักษรและการเว้นระยะ 5.2.1 ขนาดตัวอักษร การพิมพ์เอกสารประกอบโครงงานภาษาไทย ให้ใช้ชนิดตัวอักษรแบบ AngsanaUPC หรือ AngsanaNew เท่านั้น โดยขนาดของตัวอักษรให้เป็นไปตามข้อกาหนดดังนี้ 1) ปกนอก-ปกใน แสดงตราสัญลักษณ์ของโรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (มัธยมวัดหัตถสารเกษตร) ในพระ ราชูปถัมภ์ฯ เฉพาะในส่วนของปกหน้า กาหนดให้มีเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด เป็น 1.5 นิ้ว กาหนดให้ห่างจาก ขอบบน เป็น 1 นิ้ว และเว้นระยะห่างระหว่าง ขอบล่างของตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยกับชื่อโครงงาน เป็น 0.5 นิ้ว ตัวอักษรแสดง ชื่อโครงงาน มีขนาด 22 พอยต์ ตัวหนา
  • 19. | 19ห น ้ า ตัวอย่างเช่น คู่มือการจัดทาโครงงาน 2) เนื้อหา ตัวอักษรแสดง ชื่อแต่ละบท มีขนาด 20 พอยต์ ตัวหนา ตัวอย่างเช่น บทที่1 บทนา ตัวอักษรแสดงหัวข้อหลักของบท มีขนาด 18 พอยต์ ตัวหนา ตัวอักษรแสดงเนื้อหา มีขนาด 16 พอยต์ ตัวธรรมดา เนื้อหาในบรรทัดแรกของแต่ละพารากราฟ ให้ย่อหน้าห่างจากขอบซ้ายเท่ากับ 0.5 นิ้ว และ ถ้ามีพารากราฟย่อยอีกให้ย่อหน้าของพารากราฟย่อยนั้นห่างจากย่อหน้าเดิมครั้งละ 0.25 นิ้วเสมอ 3) ภาคผนวก ให้เริ่มต้นภาคผนวกด้วยการพิมพ์คาว่า ภาคผนวก ขนาดตัวอักษร 20 พอยน์ ตัวหนา ไว้กึ่งกลาง แผ่นกระดาษ และตามด้วยภาคผนวกในแต่ละเรื่องโดยให้เรียง ตามลาดับอักษร ดังเช่น ภาคผนวก ก, ภาคผนวก ข, ภาคผนวก ค, ... เป็นต้น โดยกาหนดให้มีขนาดตัวอักษรและการเว้นระยะเหมือนในแต่ละบท 5.2.2 การเว้นระยะ 1) การเว้นระยะห่างจากขอบกระดาษ กาหนดระยะห่างจากขอบกระดาษ ด้านซ้าย ด้านขวา ด้านบน และด้านล่าง (ดังรูปที่ 3-2) ด้านบน 1.5 นิ้ว ด้านล่าง 1 นิ้ว ด้านซ้ายมือ 1.5 นิ้ว ด้านขวามือ 1 นิ้ว ยกเว้น หน้าแรกของแต่ละบท ให้กาหนดระยะห่างจากขอบกระดาษด้านบน เป็น 2 นิ้ว (ดังรูปที่ 3-1) รูปที่ 3-1 การจัดหน้ากระดาษหน้าแรกของแต่ละบท รูปที่ 3-2 การจัดหน้ากระดาษหน้าทั่วไป
  • 20. | 20ห น ้ า 2) การย่อหน้า ให้เว้นระยะพิมพ์แปดช่วงตัวอักษร แล้วตั้งแท็บกั้นขวา 3) การเว้นช่องว่างระหว่างตัวอักษร หลังเครื่องหมายจุลภาค(Comma หรือ ,) และเครื่องหมายอัฒภาค(Semicolon หรือ ;) ให้เว้นหนึ่งช่วงตัวอักษร หลังเครื่องหมายมหัพภาค(Fullstop หรือ .) เครื่องหมายทวิภาคหรือจุดคู่(Colon หรือ :) เครื่องหมายปรัศนีย์(question mark หรือ ?) และเครื่องหมายอัศเจรีย์ (exclamation mark หรือ !) ให้เว้น สองช่วงตัวอักษร ยกเว้นกรณีหลังชื่อย่อ (initial) ให้เว้นหนึ่งช่วงตัวอักษร 5.3 การจัดทารูปภาพ 1) รูปภาพต้องมีขนาดความกว้างไม่เกินหน้ากระดาษที่กาหนด ตัวอักษรในรูปภาพต้องมีขนาดใหญ่ เพียงพอที่จะสามารถอ่านได้สะดวกและไม่ควรมีขนาดเล็กกว่าตัวอักษรในเนื้อเรื่อง 2) รูปภาพทุกภาพจะต้องมีการเขียนหมายเลขกากับภาพต่อจากคาว่า รูปที่ โดยเขียนหมายเลข กากับและคาบรรยายกากับไว้ใต้ภาพ ซึ่งจะเรียงตามลาดับของภาพในแต่ละบท เช่น รูปที่ 2-1 หมายถึง เป็นภาพที่ 1 ของบทที่ 2 3) การเขียนคาบรรยายชื่อภาพประกอบใต้ภาพ ควรเป็นข้อความที่กระทัดรัดและสื่อความหมายอย่าง ชัดเจน ไม่ต้องใช้คาว่า “แสดง” นา 4) ไม่ต้องเว้นบรรทัดเหนือรูปภาพ แต่ต้องเว้นบรรทัดให้คาบรรยายอยู่ห่างรูปภาพ 1 บรรทัด ตัวอย่าง รูปที่ 2.1 การจาลองรูปภาพ 1 บรรทัด คาบรรยาย หรือรายละเอียดเพิ่มเติม รูปที่ 3-3 การแทรกภาพประกอบ
  • 21. | 21ห น ้ า 5.4 การเขียนบทดาเนินเรื่อง บทดาเนินเรื่อง(Storyboard) คือ การเขียนภาพเล่าเรื่องราวเพื่อสื่อสารแนวความคิดรวบยอด ซึ่งเกิดจากการตีความโจทย์ที่ได้รับมอบหมาย นาเสนอในลักษณะของกรอบภาพหลายๆ รอบต่อเนื่องกันโดยมี คาบรรยายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในภาพนั้นๆ เพื่ออธิบายการดาเนินเรื่องราวตั้งแต่ต้นจนจบ ลักษณะของ Storyboard คือ ภาพร่าง(Sketch) เพื่อลาดับเรื่องราวต่างๆ ในลักษณะภาพนิ่งหลายๆ ภาพที่มีความ ต่อเนื่องกัน พร้อมคาบรรยายใต้ภาพแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่แรก เป็นการเขียนคาบรรยายเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในภาพนั้นๆ เพื่อให้ผู้อ่านเกิดจินตนาการ เป็นภาพเคลื่อนไหว เช่น จิ้งจกกาลังตกลงมาจากเพดานด้วยความเร็วสูง ส่วนที่สอง เป็นการระบุเสียงประกอบที่เกิดขึ้นขณะที่ภาพเหตุการณ์กาลังดาเนินไป เช่น เสียงสนทนา ของตัวละคร เสียงปิดประตุ หรือเสียงเพลงประกอบที่สร้างความตื่นเต้น เป็นต้น ตัวอย่างการเขียน Storyboard การสื่อความหมายแทนที่จะบรรยายด้วยข้อความ แต่เราจะใช้ภาพเป็นการเล่าเรื่องแทน ดังนั้นการ จัดลาดับภาพจะต้องแสดงให้เห็นถึงความต่อเนื่องของการกระทา เช่น ที่มาของรูป: http://province.m-culture.go.th/trat/storyboard2553/3.pdf 5.5 การเขียนแผนผังโครงสร้างเว็บไซต์ การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ คือ การวางแผนการจัดลาดับ เนื้อหาสาระของเว็บไซต์ออกเป็น หมวดหมู่ เพื่อจัดทาเป็นโครงสร้างในการจัดวางหน้าเว็บเพจทั้งหมด เปรียบเสมือนแผนที่ที่ทาให้เห็นโครงสร้าง ทั้งหมดของเว็บไซต์ ช่วยในนักออกแบบเว็บไซต์ไม่ให้หลงทาง การจัดโครงสร้างของเว็บไซต์ มีจุดมุ่งหมาย สาคัญคือ การที่จะทาให้ผู้เข้าเยี่ยมชม สามารถค้นหา ข้อมูลในเว็บเพจได้อย่างเป็นระบบ ซึ่งถือว่าเป็นขั้นตอน ที่สาคัญ ที่สามารถสร้างความสาเร็จให้กับ ผู้ที่ทาหน้าที่ในการออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์การออกแบบ โครงสร้างหรือจัดระเบียบของข้อมูลที่ชัดเจน แยกย่อยเนื้อหาออกเป็นส่วนต่าง ๆ ที่สัมพันธ์กันและให้อยู่ใน มาตรฐานเดียวกัน จะช่วยให้น่าใช้งานและง่าย ต่อการเข้าอ่านเนื้อหาของผู้ใช้เว็บไซต์
  • 22. | 22ห น ้ า ตัวอย่าง 1 การเขียนโครงสร้างแผนผังเว็บไซต์ ที่มาของรูป : http://www.google.co.th/imgres? 5.6 การเขียนบรรณานุกรม บรรณานุกรม คือ รายชื่อวัสดุที่ใช้อ้างอิงทั้งหมดในการทาโครงงาน ทั้งที่อ้างอิงอยู่อย่างชัดเจนในตัว เล่มโครงงาน และที่นาความรู้มาเรียบเรียงโดยไม่ได้อ้างอิงในเล่ม 5.6.1 การพิมพ์บรรณานุกรม 1) ในหน้าแรกของบรรณานุกรมให้พิมพ์ว่า “บรรณานุกรม” โดยพิมพ์ไว้กลางหน้ากระดาษตอนบน ห่างจากริมขอบบกระดาษด้านบนสองนิ้ว ตัวอักษรตัวเข้มขนาด 20 พอยต์ โดยไม่ต้องใส่เลขหน้าในหน้าแรก ของบรรณานุกรม 2) โครงงานให้เรียงบรรณานุกรมตามลาดับตัวอักษรตัวแรกแบบพจนานุกรมไทยฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน ถ้ามีวัสดุอ้างอิงภาษาอังกฤษด้วย ให้เขียนเรียงลาดับอักษรเช่นเดียวกันและให้เรียงต่อจาก ภาษาไทย 3) การพิมพ์บรรณานุกรมในวัสดุอ้างอิงแต่ละรายการไม่ต้องมีหมายเลขกากับ 4) เริ่มพิมพ์รายการบรรณานุกรมชิดขอบด้านซ้ายของหน้ากระดาษที่เว้นไว้ประมาณ 1.5 นิ้ว ถ้า บรรณานุกรมรายการเดียวไม่จบให้ขึ้นบรรทัดใหม่ โดยย่อหน้าเข้าไป 0.75 นิ้ว ถ้ารายการบรรณานุกรมไม่จบ ใน 2 บรรทัด ขึ้นบรรทัดที่ 3-4 ให้ตรงกับบรรทัดที่ 2 จนจบรายการ เมื่อขึ้นรายการบรรณานุกรมของวัสดุ อ้างอิงรายการใหม่ ให้เริ่มพิมพ์ชิดขอบซ้ายของหน้ากระดาษเช่นเดิม 5) บรรณานุกรมมีผู้แต่งซ้า ให้พิมพ์เรียงตามลาดับปีที่พิมพ์จากเก่าสุด จนถึงปีล่าสุด 6) การพิมพ์ชื่อวัสดุอ้างอิง ให้พิมพ์ตัวเอนตั้งแต่รายการแรกถึงรายการสุดท้าย 7) ให้บรรทัดสุดท้ายของหน้าอยู่ห่างจากริมขอบกระดาษด้านล่างหนึ่งนิ้ว 8) ให้พิมพ์บรรณานุกรม ภาษาไทยก่อนภาษาต่างประเทศ
  • 23. | 23ห น ้ า 5.7 การเขียนเอกสารอ้างอิง การอ้างอิง หมายถึง การบันทึกที่มาของข้อความที่ยกมากล่าวอ้าง หรืออ้างอิง ในการเรียบเรียง โครงงาน ให้ใช้การอ้างอิงแบบนาม-ปี ทั้งเล่ม 5.7.1 การอ้างอิงแบบนาม-ปี ส่วนประกอบของรายการอ้างอิง (ชื่อผู้แต่ง,/ปีที่พิมพ์)
  • 24. | 24ห น ้ า บทที่ 6 ส่วนประกอบของเอกสารโครงงาน การเขียนเอกสารประกอบโครงงานวิชาโครงงานทางคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เป็นรูปแบบในการเขียน อันเดียวกัน จึงกาหนดรูปแบบของการพิพม์เอกสารประกอบโครงงานจะต้องประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ 5 ส่วน ได้แก่ ส่วนนา ส่วนเนื้อความ ส่วนอ้างอิง ภาคผนวก และ ประวัติผู้เขียน ซึ่งมีรายละเอียดของแต่ละส่วน ดังนี้ 6.1 ส่วนนา (Preliminaries) ประกอบด้วย 6.1.1 ปก (Cover) ประกอบด้วย ปกหน้า สันปก และปกหลัง 6.1.2 ใบรองปก (Fly leaf) เป็นกระดาษเปล่าขนาดเดียวกับกระดาษที่ใช้พิมพ์โครงงาน โดยต้องรองทั้งปกหน้า และปกหลังด้านละหนึ่งแผ่น 6.1.3 หน้าปกใน (Title page) เป็นหน้าที่มีข้อความหน้าแรกของโครงงาน 6.1.4 หน้าอนุมัติ (Approval page) เป็นหน้าที่จัดไว้สาหรับกรรมการตรวจและสอบ โครงงานลงนามรับรองหรืออนุมัติโครงงาน 6.1.5 หน้ากิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement page) เป็นส่วนที่ผู้เขียนโครงงาน แสดงความขอบคุณผู้ที่ให้ความช่วยเหลือในการศึกษาค้นคว้าและจัดทาโครงงาน 6.1.6 บทคัดย่อ (Abstract) เป็นการย่อสาระสาคัญของโครงงาน 6.1.7 สารบัญ (Table of contents) เป็นบัญชีแสดงการแบ่งเนื้อเรื่องออกเป็นบท โดย ระบุชื่อบทพร้อมหมายเลขหน้า ตามที่ปรากฏในโครงงาน 6.1.8 สารบัญตาราง (List of tables) เป็นบัญชีตารางพร้อมหมายเลขหน้าที่ปรากฏใน โครงงานใช้สาหรับโครงงานที่มีตารางประกอบหลาย ๆ ตาราง 6.1.9 สารบัญภาพ (List of illustrations) เป็นบัญชีภาพประกอบเนื้อเรื่องพร้อม หมายเลขหน้าที่ปรากฏใช้สาหรับโครงงานที่มีภาพประกอบหลาย ๆ ภาพ 6.1.10 อักษรย่อและสัญลักษณ์ (Abbreviations and symbols) เป็นการนาเสนอักษร ย่อและสัญลักษณ์ที่มีผู้กาหนดไว้แล้วหรือผู้เขียนกาหนดขึ้นใช้ในโครงงาน 6.2 ส่วนเนื้อความ(Text) 6.2.1 บทนา ประกอบด้วย ชื่อบท : บทที่ 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา (statement and significance of the problem) เน้นการเขียนถึงภูมิหลังที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ค้นคว้าวิจัยความจาเป็นหรือสาเหตุที่ต้องศึกษา (Need for the Study) การนาไปสู่ความก้าวหน้าวิชาการแขนงนั้นตลอดจนประโยชน์ที่เกิดจากการศึกษา เรื่องนั้น และหน่วยงานที่นักศึกษาได้นามาเป็นกรณีศึกษา วัตถุประสงค์ของการศึกษา (Objective) เป็นการเขียนถึงจุดมุ่งหมายที่ต้องการค้นคว้าหา ข้อเท็จจริงของผู้ศึกษาค้นคว้า ดังนั้น หัวข้อนี้จะกล่าวถึงปัญหาที่ต้องการทราบคาตอบ เรียงลาดับความสาคัญ ก่อนหลัง การเขียนการใช้ประโยคที่สมบูรณ์ ใช้ถ้อยคาที่แสดงอาการ หรือระบุพฤติกรรมที่สามารถสังเกตุได้ ระบุตัวแปร ข้อมูลที่ต้องการศึกษา ตัวอย่าง หัวเรื่อง “การออกแบบและพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอน ระดับอุดมศึกษา”
  • 25. | 25ห น ้ า วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน ระดับอุดมศึกษา 2. เพื่อวิเคราะห์และออกแบบระบบการจัดการเรียนการสอน ระดับอุดมศึกษา 3. เพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอน ระดับอุดมศึกษา ขอบเขตของการศึกษา (Scope of study) เน้นขอบเขตจากัดในการศึกษาให้แน่ชัดว่าจะศึกษาพิจารณาในขอบเขตใด คุณสมบัติของสิ่งที่ศึกษา สิ่งที่จะทาการออกแบบ ขอบเขตในการพัฒนาระบบ เครื่องมือที่ใช้ทางด้านฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ และ ข้อมูลที่ใช้ โดยกาหนดขอบเขตให้ชัดเจน ระยะเวลาและแผนดาเนินงาน (Duration) เป็นการกล่าวถึงขั้นตอนการทางาน แต่ละขั้นตอนที่เริ่มต้นศึกษาจนกระทั่งสิ้นสุดการศึกษา โดยกาหนดระยะเวลาทุกขั้นตอน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ (Advantages) เป็นการกล่าวถึงผลที่ได้จากการศึกษา โดยดูสิ่งที่ได้นั้นนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร ทั้งในการสร้าง ความรู้ใหม่และการนาไปใช้ในการแก้ไขและป้องกันปัญหาในสังคม การเขียนให้เขียนประโยชน์ที่จะได้รับเป็น ข้อ ๆ คานิยามศัพท์เฉพาะ (Definitions) เป็นการกล่าวถึงความหมายของคาหรือข้อความ ที่ผู้ศึกษาต้องการทาความเข้าใจกับผู้อ่านเพื่อให้ เข้าใจตรงกันกับผู้ศึกษา 6.2.2 ตัวเรื่อง (Body of the text) ประกอบด้วย ชื่อบท : บทที่ 2 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง การเขียนเนื้อหาเกี่ยวกับทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องนับว่ามีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการศึกษา ค้นคว้า ซึ่งแสดงถึงการสารวจตรวจสอบหรือทบทวนทฤษฎีรายงาน การวิจัยและเอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้องใน อดีตอย่างละเอียดครบถ้วนของผู้ศึกษา และเพื่อให้ผู้อ่านเห็นประเด็นปัญหาการศึกษาและแนวความคิดใน การศึกษาอย่างชัดเจน ผู้ที่ศึกษาจะต้องเอาทฤษฎีและข้อค้นพบ จากเอกสารและรายงานทางการวิจัยที่เกี่ยวข้องมาเขียน บรรยายหรือเขียนเป็นผังความคิด เพื่อวิเคราะห์วิจารณ์ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ และเกี่ยวข้องกับปัญหาที่วิจัย เช่นถ้าเป็นการพัฒนาซอฟต์แวร์ ก็น่าจะเน้นการยกตัวอย่างทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง คือ ทฤษฎีการพัฒนาซอร์ฟแวร์ (SDLC: Software Development Life Cycle) โดยมีขั้นตอนกระบวนการศึกษา การทางานอย่างไร เพื่อให้ ได้เป้าหมายหรือเพื่อแก้ไขปัญหาที่เรากาลังทาการศึกษานั้นให้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี