SlideShare a Scribd company logo
หน่วยที่ 8
การใช้ระบบฐานข้อมูล
ปัญหาในการใช้ระบบฐานข้อมูล
ในระบบฐานข้อมูลจะต้องมีการควบคุมดูแลการทางาน ตลอดจนการควบคุมความปลอดภัย
ของข้อมูล ฐานข้อมูล ในบทนี้จึงจะได้กล่าวถึงการควบคุมการใช้ระบบฐานข้อมูล ทั้งในแง่ความ
ปลอดภัยและความบูรณภาพของข้อมูล
การควบคุมการใช้ระบบฐานข้อมูล
ในการควบคุมการใช้ระบบฐานข้อมูล จะพิจารณามนเรื่องของ การบารุงรักษาระบบ และ
การป้องกันข้อมูลในระบบ ดังนี้
1.การบารุงรักษาระบบ ได้แก่
1.1 การควบคุมการใช้งาน เพื่อให้การใช้งานในระบบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การ
ตรวจเช็คขนาดข้องแฟ้ มข้อมูลต่างๆ กับขนาดเนื้อที่ของสื่อบันทึกข้อมูลที่มีใช้อยู่ อัตราการอ่าน/บันทึก
ข้อมูลในสื่อบันทึก ทั้งนี้เพื่อในการจัดการข้อมูลในสื่อบันทึก ทั้งนี้เพื่อให้การจักการข้อมูลในระบบมี
ประสิทธิภาพ และ สามารถรองรับการขยายของานข้อมูลต่อไปได้
1.2การปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงการใช้งานในระบบ เพื่อปรับปรุงแบบการทางานของระบบไป
ตามที่ผู้ใช้ต้องการ โดยใช้เทคโนโลยีหรือวิธีการที่เหมาะสม เช่น อาจต้องเพิ่มเติมอุปกรณ์เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการทางาน
1.3การวางแผน เพื่อให้ระบบมีความเหมาะสมกับการใช้งาน และการขยายตัวของหน่วยงานใน
อนาคต
2.การป้ องกันข้อมูล ได้แก่
2.1 การป้องกันการเรียกใช้ข้อมูลที่เป็นความลับ เช่น ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตัวเลขจานวนเงิน เป็นต้น
2.2 การป้องกันการทาลายข้อมูล โดยการแก้ไขหือลบข้อมูลที่จาเป็นต่อการใช้งาน
2.3 การป้ องกันการผิดพราดของระบบ ระบบที่ทางานผิดพราดก็มีส่วนทาให้ระบบฐานข้อมูลเกิด
ข้อผิดพลาด ข้อมูลเสียหายได้
ความปลอดภัยของข้อมูล (Data Security)
การจัดระบบความปลอดภัยของข้อมูล จึงเป็นเรื่องสาคัญที่จะช่วยป้องกันทั้งผู้ใช้ภายในและผู้ใช้
ภายนอกหน่วยงาน มิให้มาทาลายข้อมูลในระบบอาจจะไม่ตั้งใจหรือไม่เจตนาก็ตาม จะมีวิธีการป้ องกัน
ข้อมูล ด้วยวิธีต่างๆ ได้แก่
1. การป้ องกันทางกายภาพ ได้แก่ การจัดเก็บรักษาสื่อที่ใช้ในการเก็บข้อมูลต่างๆด้วยวิธีเหมาะสม
2. การป้ องกันการเข้าถึงข้อมูล ได้แก่ การควบคุมค่าข้อมูลใดที่เป็นความลับ จะต้องจัดวิธีการ
ตรวจสอบ เมื่อมีการเรียกใช้ข้อมูลนั้นๆ
3.การกาหนดสิทธิในการใช้ข้อมูลแก่ผู้ใช้ ได้แก่ ทั้งนี้ผู้บริหารฐานข้อมูลจะเป็นผู้ระบุสิทธิการใช้
ข้อมูล ซึ่งแบ่งได้เป็น
3.1 การกาหนดบัญชีผู้ใช้(User Account)และตั้งรหัสผ่าน(Password) ซึ่งผู้บริหารฐานข้อมูลจะเป็นผู้
กาหนดขึ้นมาให้กับผู้แต่ละคน จึงเป็นการป้องกันการขโมยใช้บัญชีผู้อื่น
3.2การให้สิทธิและยกเลิกสิทธิของผู้ใช้ ด้วยคาสั่งในภาษา SQL คือ การที่ผู้บริหาร ฐานข้อมูลมี
อานาจในการใช้สิทธิ หรือยกเลิกสิทธิของผู้ใช้ ในการใช้ข้อมูลในตาราง ด้วยการใช้คาสั่ง GRANT และ
REVOK
คาสั่ง GRANT
เป็นคาสั่งที่ใช้ระบุการให้สิทธิการใช้ข้อมูลแก่ผู้ใช้ สิทธิดังกล่าวไดแก่ สิทธิในการเรียกดูข้อมูล
(SELWCT) สิทธิในการปรับปรุงข้อมูล อันได้แก่ สิทธิในการเพิ่มข้อมูล (INSRT)สิทธิในการลบข้อมูล
(DELETE) สิทธิในการแก่ไขข้อมูล (UPDATE) สิทธิในการสร้างดัชนี (INDEX)
ตัวอย่างเช่น
 GRANT SELECT ON STUDENT TO USER2;
เป็นการใช้สิทธิแก่ผู้ใช้ USER2 ในการเรียกดูข้อมูลในรีเลชัน STUDENT
 GRANT INSERT ON STUDENT TO USER2;
เป็นการใช้สิทธิแก่ผู้ใช้ USER2 ในการเพิ่มข้อมูลในรีเลชัน STUDENT
 GRANT DELETE ON STDENT TO USER2;
เป็นการใช้สิทธิแก่ผู้ใช้ USER2 ในการลบข้อมูลในรีเลชัน STUDENT
 GRANT INSERT. DELETE ON STUDENT TO USER2;
เป็นการใช้สิทธิแก่ผู้ใช้ USER2 ในการเพิ่มและลบข้อมูลในรีเลชัน STUDENT
 GRANT UPDATE ON STUDENT TO USER2;
เป็นการใช้สิทธิแก่ผู้ใช้ USER2 ในการแก่ไขข้อมูลในรีเลชัน STUDENT
 GRANT ALL ON STUSENT TO USR2;
เป็นการใช้สิทธิแก่ผู้ใช้ USER2 ในการทาไรก็ได้กับข้อมูลในรีเลชัน STUDENT
 GRANT INDEX ON STUDENT TO USER2;
เป็นการใช้สิทธิแก่ผู้ใช้ USER2 ในการสร้างดัชนีกับรีเลชัน STUDENT
คาสั่ง REVOKE
เป็นคาสั่งที่ใช้ยกเลิกสิทธิจากผู้ใช้
ตัวอย่างเช่น
 REVOKE SELECT ON STUDENT FROM USER2;
เป็นการยกเลิกสิทธิจาก USER2 ในการเรียกดูข้อมูลในรีเลชัน STUDENT
 REVOKE INSERT ON STUDENT FROM USER2;
เป็นการยกเลิกสิทธิจาก USER2 ในการเพิ่มข้อมูลในรีเลชัน STUDENT
 REVOKE INSERT , DELETE ON STUDENT EROM USER2;
เป็นการยกเลิกสิทธิจาก USER2 ในการเพิ่มและลบข้อมูลในรีเลชัน STUDENT
 REVOKE ALL ON STYDENT FROM USER2;
เป็นการยกเลิกสิทธิทั้งหมดที่เคยให้ไว้ใจจาก USER2
จากการใช้คาสั่ง REVOKE ข้างต้น เมื่อยกเลิกสิทธิใดๆ จาก USER2 จะเป็นการยกเลิกสิทธินั้นๆ
จาก USER3 ซึ่งเคยได้รับสิทธิจาก USER2 มาอีกทอดหนึ่งด้วย
ความบูรณภาพของข้อมูล (DATA INTEGRITY)
ความบูรณภาพของข้อมูล คือการควบคุมการถูต้องของข้อมูลไม่ว่าจะกระทาการไดๆ กับข้อมูล
ในระบบก็ตาม ผลลัพธ์ที่ได้จะต้องถูกตามที่กาหนดที่ระบุไว้เสมอ ในการกาหนดความบูรณภาพของ
ข้อมูล สามารถสรุปได้ดังนี้
1.ความบูรณภาพของเค้าร่างฐานข้อมูล
เป็นข้อจากัดเกี่ยวกับโครงสร้างของข้อมูล ได้แก่ คีย์ต่างๆ ประเภทของข้อมูล, การกาหนด
โดเมน (DOMAIN) หรือขอบเขตของข้อมูลในแต่ละแอททริบิวต์ ตลอดจนความสาพันธ์ระหว่างรีเลชัน
เป็นต้น
2.ความบูรณภาพของการอ้างอิง ระหว่างคีย์นอกของรีเลชันกับคีย์หลัก ในอีกรีเลชันหนึ่ง
3.ความบูรณภาพของการขึ้นต่อกัน
ถ้าในระบบได้ออกแบบหรือชื่อนักศึกษา ขึ้นกับรหัสประจาตัวนักศึกษาแล้ว จะไม่สามารถมี
นักศึกษาคนใดที่มีรหัสประจาตัวซ้ากันได้เป็นต้น

More Related Content

What's hot

แบบฝึกหัด เรื่อง พื้นฐานโปรแกรม-FLASH-CS6
แบบฝึกหัด เรื่อง พื้นฐานโปรแกรม-FLASH-CS6แบบฝึกหัด เรื่อง พื้นฐานโปรแกรม-FLASH-CS6
แบบฝึกหัด เรื่อง พื้นฐานโปรแกรม-FLASH-CS6
nittaya cnp
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
Watcharapon Donpakdee
 
เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
พัน พัน
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
peter dontoom
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานRattana Wongphu-nga
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ pptข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ ppt
Latae Chutipas
 
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excelการจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
Satapon Yosakonkun
 
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
Thanawut Rattanadon
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpointอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
Chonlamas Supsomboon
 
เปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรเปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตร
sirato2539
 
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
joyzazaz
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
Thanawut Rattanadon
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
Kritsadin Khemtong
 
ใบความรู้ Powerpoint 2010
ใบความรู้ Powerpoint 2010 ใบความรู้ Powerpoint 2010
ใบความรู้ Powerpoint 2010
สุดรัก หวานใจ
 

What's hot (20)

เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
 
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
 
แบบฝึกหัด เรื่อง พื้นฐานโปรแกรม-FLASH-CS6
แบบฝึกหัด เรื่อง พื้นฐานโปรแกรม-FLASH-CS6แบบฝึกหัด เรื่อง พื้นฐานโปรแกรม-FLASH-CS6
แบบฝึกหัด เรื่อง พื้นฐานโปรแกรม-FLASH-CS6
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internetความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
 
เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
 
ข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ pptข้อมูลและสารสนเทศ ppt
ข้อมูลและสารสนเทศ ppt
 
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excelการจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
 
ข้อสอบ Power point 2010
ข้อสอบ Power point 2010ข้อสอบ Power point 2010
ข้อสอบ Power point 2010
 
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การศึกษาประวัติศาสตร์ไทยโดยวิธีการทางประวัติศาสตร์
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpointอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
 
เปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตรเปรียบเทียบหลักสูตร
เปรียบเทียบหลักสูตร
 
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
 
ใบความรู้ Powerpoint 2010
ใบความรู้ Powerpoint 2010 ใบความรู้ Powerpoint 2010
ใบความรู้ Powerpoint 2010
 

Similar to บทที่ 8

งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลchanoot29
 
นาย ณัฐพงษ์ สุดก้องไพร
นาย ณัฐพงษ์  สุดก้องไพรนาย ณัฐพงษ์  สุดก้องไพร
นาย ณัฐพงษ์ สุดก้องไพรBen Benben
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลchanoot29
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลskiats
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
nunzaza
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
Sassygirl Sassyboy
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
Sassygirl Sassyboy
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลchanoot29
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
warathip-por
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลwarathip-por
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
chaiwat vichianchai
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
Thanaporn Singsuk
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศjureeratlove
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล Watuka Wannarun
 

Similar to บทที่ 8 (20)

งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
 
นาย ณัฐพงษ์ สุดก้องไพร
นาย ณัฐพงษ์  สุดก้องไพรนาย ณัฐพงษ์  สุดก้องไพร
นาย ณัฐพงษ์ สุดก้องไพร
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 

More from nunzaza

บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
nunzaza
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
nunzaza
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
nunzaza
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
nunzaza
 
บทที่ 4
บทที่  4บทที่  4
บทที่ 4
nunzaza
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
nunzaza
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
nunzaza
 

More from nunzaza (7)

บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่  4บทที่  4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 

บทที่ 8

  • 2. ปัญหาในการใช้ระบบฐานข้อมูล ในระบบฐานข้อมูลจะต้องมีการควบคุมดูแลการทางาน ตลอดจนการควบคุมความปลอดภัย ของข้อมูล ฐานข้อมูล ในบทนี้จึงจะได้กล่าวถึงการควบคุมการใช้ระบบฐานข้อมูล ทั้งในแง่ความ ปลอดภัยและความบูรณภาพของข้อมูล การควบคุมการใช้ระบบฐานข้อมูล ในการควบคุมการใช้ระบบฐานข้อมูล จะพิจารณามนเรื่องของ การบารุงรักษาระบบ และ การป้องกันข้อมูลในระบบ ดังนี้ 1.การบารุงรักษาระบบ ได้แก่ 1.1 การควบคุมการใช้งาน เพื่อให้การใช้งานในระบบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การ ตรวจเช็คขนาดข้องแฟ้ มข้อมูลต่างๆ กับขนาดเนื้อที่ของสื่อบันทึกข้อมูลที่มีใช้อยู่ อัตราการอ่าน/บันทึก ข้อมูลในสื่อบันทึก ทั้งนี้เพื่อในการจัดการข้อมูลในสื่อบันทึก ทั้งนี้เพื่อให้การจักการข้อมูลในระบบมี ประสิทธิภาพ และ สามารถรองรับการขยายของานข้อมูลต่อไปได้
  • 3. 1.2การปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงการใช้งานในระบบ เพื่อปรับปรุงแบบการทางานของระบบไป ตามที่ผู้ใช้ต้องการ โดยใช้เทคโนโลยีหรือวิธีการที่เหมาะสม เช่น อาจต้องเพิ่มเติมอุปกรณ์เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการทางาน 1.3การวางแผน เพื่อให้ระบบมีความเหมาะสมกับการใช้งาน และการขยายตัวของหน่วยงานใน อนาคต 2.การป้ องกันข้อมูล ได้แก่ 2.1 การป้องกันการเรียกใช้ข้อมูลที่เป็นความลับ เช่น ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับตัวเลขจานวนเงิน เป็นต้น 2.2 การป้องกันการทาลายข้อมูล โดยการแก้ไขหือลบข้อมูลที่จาเป็นต่อการใช้งาน 2.3 การป้ องกันการผิดพราดของระบบ ระบบที่ทางานผิดพราดก็มีส่วนทาให้ระบบฐานข้อมูลเกิด ข้อผิดพลาด ข้อมูลเสียหายได้
  • 4. ความปลอดภัยของข้อมูล (Data Security) การจัดระบบความปลอดภัยของข้อมูล จึงเป็นเรื่องสาคัญที่จะช่วยป้องกันทั้งผู้ใช้ภายในและผู้ใช้ ภายนอกหน่วยงาน มิให้มาทาลายข้อมูลในระบบอาจจะไม่ตั้งใจหรือไม่เจตนาก็ตาม จะมีวิธีการป้ องกัน ข้อมูล ด้วยวิธีต่างๆ ได้แก่ 1. การป้ องกันทางกายภาพ ได้แก่ การจัดเก็บรักษาสื่อที่ใช้ในการเก็บข้อมูลต่างๆด้วยวิธีเหมาะสม 2. การป้ องกันการเข้าถึงข้อมูล ได้แก่ การควบคุมค่าข้อมูลใดที่เป็นความลับ จะต้องจัดวิธีการ ตรวจสอบ เมื่อมีการเรียกใช้ข้อมูลนั้นๆ 3.การกาหนดสิทธิในการใช้ข้อมูลแก่ผู้ใช้ ได้แก่ ทั้งนี้ผู้บริหารฐานข้อมูลจะเป็นผู้ระบุสิทธิการใช้ ข้อมูล ซึ่งแบ่งได้เป็น 3.1 การกาหนดบัญชีผู้ใช้(User Account)และตั้งรหัสผ่าน(Password) ซึ่งผู้บริหารฐานข้อมูลจะเป็นผู้ กาหนดขึ้นมาให้กับผู้แต่ละคน จึงเป็นการป้องกันการขโมยใช้บัญชีผู้อื่น 3.2การให้สิทธิและยกเลิกสิทธิของผู้ใช้ ด้วยคาสั่งในภาษา SQL คือ การที่ผู้บริหาร ฐานข้อมูลมี อานาจในการใช้สิทธิ หรือยกเลิกสิทธิของผู้ใช้ ในการใช้ข้อมูลในตาราง ด้วยการใช้คาสั่ง GRANT และ REVOK
  • 5. คาสั่ง GRANT เป็นคาสั่งที่ใช้ระบุการให้สิทธิการใช้ข้อมูลแก่ผู้ใช้ สิทธิดังกล่าวไดแก่ สิทธิในการเรียกดูข้อมูล (SELWCT) สิทธิในการปรับปรุงข้อมูล อันได้แก่ สิทธิในการเพิ่มข้อมูล (INSRT)สิทธิในการลบข้อมูล (DELETE) สิทธิในการแก่ไขข้อมูล (UPDATE) สิทธิในการสร้างดัชนี (INDEX) ตัวอย่างเช่น  GRANT SELECT ON STUDENT TO USER2; เป็นการใช้สิทธิแก่ผู้ใช้ USER2 ในการเรียกดูข้อมูลในรีเลชัน STUDENT  GRANT INSERT ON STUDENT TO USER2; เป็นการใช้สิทธิแก่ผู้ใช้ USER2 ในการเพิ่มข้อมูลในรีเลชัน STUDENT  GRANT DELETE ON STDENT TO USER2; เป็นการใช้สิทธิแก่ผู้ใช้ USER2 ในการลบข้อมูลในรีเลชัน STUDENT  GRANT INSERT. DELETE ON STUDENT TO USER2; เป็นการใช้สิทธิแก่ผู้ใช้ USER2 ในการเพิ่มและลบข้อมูลในรีเลชัน STUDENT
  • 6.  GRANT UPDATE ON STUDENT TO USER2; เป็นการใช้สิทธิแก่ผู้ใช้ USER2 ในการแก่ไขข้อมูลในรีเลชัน STUDENT  GRANT ALL ON STUSENT TO USR2; เป็นการใช้สิทธิแก่ผู้ใช้ USER2 ในการทาไรก็ได้กับข้อมูลในรีเลชัน STUDENT  GRANT INDEX ON STUDENT TO USER2; เป็นการใช้สิทธิแก่ผู้ใช้ USER2 ในการสร้างดัชนีกับรีเลชัน STUDENT
  • 7. คาสั่ง REVOKE เป็นคาสั่งที่ใช้ยกเลิกสิทธิจากผู้ใช้ ตัวอย่างเช่น  REVOKE SELECT ON STUDENT FROM USER2; เป็นการยกเลิกสิทธิจาก USER2 ในการเรียกดูข้อมูลในรีเลชัน STUDENT  REVOKE INSERT ON STUDENT FROM USER2; เป็นการยกเลิกสิทธิจาก USER2 ในการเพิ่มข้อมูลในรีเลชัน STUDENT  REVOKE INSERT , DELETE ON STUDENT EROM USER2; เป็นการยกเลิกสิทธิจาก USER2 ในการเพิ่มและลบข้อมูลในรีเลชัน STUDENT  REVOKE ALL ON STYDENT FROM USER2; เป็นการยกเลิกสิทธิทั้งหมดที่เคยให้ไว้ใจจาก USER2 จากการใช้คาสั่ง REVOKE ข้างต้น เมื่อยกเลิกสิทธิใดๆ จาก USER2 จะเป็นการยกเลิกสิทธินั้นๆ จาก USER3 ซึ่งเคยได้รับสิทธิจาก USER2 มาอีกทอดหนึ่งด้วย
  • 8. ความบูรณภาพของข้อมูล (DATA INTEGRITY) ความบูรณภาพของข้อมูล คือการควบคุมการถูต้องของข้อมูลไม่ว่าจะกระทาการไดๆ กับข้อมูล ในระบบก็ตาม ผลลัพธ์ที่ได้จะต้องถูกตามที่กาหนดที่ระบุไว้เสมอ ในการกาหนดความบูรณภาพของ ข้อมูล สามารถสรุปได้ดังนี้ 1.ความบูรณภาพของเค้าร่างฐานข้อมูล เป็นข้อจากัดเกี่ยวกับโครงสร้างของข้อมูล ได้แก่ คีย์ต่างๆ ประเภทของข้อมูล, การกาหนด โดเมน (DOMAIN) หรือขอบเขตของข้อมูลในแต่ละแอททริบิวต์ ตลอดจนความสาพันธ์ระหว่างรีเลชัน เป็นต้น 2.ความบูรณภาพของการอ้างอิง ระหว่างคีย์นอกของรีเลชันกับคีย์หลัก ในอีกรีเลชันหนึ่ง 3.ความบูรณภาพของการขึ้นต่อกัน ถ้าในระบบได้ออกแบบหรือชื่อนักศึกษา ขึ้นกับรหัสประจาตัวนักศึกษาแล้ว จะไม่สามารถมี นักศึกษาคนใดที่มีรหัสประจาตัวซ้ากันได้เป็นต้น