SlideShare a Scribd company logo
จุดประสงค์การเรียนรู้
หลังจากจบบทเรียนแล้วผู้เรียน
สามารถ1. บอกทิศทางการมองภาพฉายด้านต่าง ๆ ได้
2.อธิบายหลักการมองภาพและจัดตำาแหน่งภาพฉาย
สามด้านของงานทรงเหลี่ยม
ตัดตรงให้อยู่ในตำาแหน่งของภาพฉายมุมที่ 1 ตา
ระบบ ISO Method E
และมุมที่ 3 ISO Method Aได้
3. บอกวิธีการเขียนภาพฉายทิศต่าง ๆ ได้
4. อธิบายการเขียนเส้นต่าง ๆ ในภาพฉายได้
ขียนภาพฉายสามด้านของงานรูปทรงเหลี่ยมตัดตรงตามแบบท
6 4
5
3
2 1
การมองภาพฉายชิ้นงานตามทิศทางของ
การมอง สามารถมองได้ 6 ด้าน ซึ่งมี
หลักการเขียนภาพฉาย
มุมที่1และมุมที่3
ความ
กว้าง
ความยาว
ความ
สูง
ภาพสามมิติประกอบไปด้วย
ความกว้าง ความยาว และ
ความสูง อยู่ในภาพเดียวกัน
ภาพสองมิติ เป็นการมองภาพแนวตรงของแต่ละด้าน
ประกอบด้วย ขนาดสองมิติ ถ้าต้องการทราบราย
ละเอียดของขนาดครบทุกมิติ ต้องใช้ภาพสองมิติตั้งแต่
ความ
กว้าง
ความสูง
ความย
าว
ความ
สูง
ความย
าว
ความ
กว้าง
9
0
3
6
0
27
0
1
8
0
4
3
2
1
0
ทิศทาง
การมอง
ฉากรับ
ภาพ
0 – 90 องศา เป็นฉากรับภาพมุมที่ 1 (First
Angle Projection)90 – 180 องศา เป็นฉากรับภาพมุมที่ 2
(Second Angle Projection)180 – 270 องศา เป็นฉากรับภาพมุมที่ 3
(Third Angle Projection)270 – 360 องศา เป็นฉากรับภาพมุมที่ 4
ภาพที่มองเห็นจะปรากฏอยู่ด้านหลังตาม
ทิศทางการมอง ซึ่งจะเห็นเป็นภาพ สองมิติ
คือ ความกว้างกับความสูง เรียกว่า ภาพด้าน
หน้า ( Front View)
ทิศทาง
การมอง
ทิศทาง
การมอง
การมองภาพตามทิศทางการมองด้านบน จะ
เห็นเป็นภาพสองมิติเช่นกัน คือ ความกว้าง และ
ความยาว เรียกว่า ภาพด้านบน (Top View)
การมองภาพทางด้านซ้ายมือตามทิศทางการ
มองจะเห็นเป็นภาพสองมิติ
เช่นกัน คือ ความยาว และความสูง เรียกว่า
ภาพด้านข้าง (Side View)
ภาพด้านข้างจะต้องเป็นภาพที่อยู่ทางด้านซ้าย
มือของภาพด้านหน้าเสมอ
ทิศทาง
การมอง
ภาพฉายที่เกิดขึ้นจากการมองชิ้น
งานในทิศทางตั้งฉากกับชิ้นงานซึ่ง
สามารถมองและเขียนภาพฉายได้
ทั้งหมด 6 ด้าน ส่วนใหญ่นิยมเขียน
เพียง 3 ด้าน ก็สามารถทราบราย
ภาพด้าน
บน
ภาพด้าน
หน้า
ภาพด้าน
ข้าง
ภาพด้าน
หน้า
ภาพด้าน
ข้าง
ภาพด้าน
บน
ภาพฉายมุมที่ 1 (First Angle Projection)
ISO Method E ( E = European)ตาม DIN
ISO 5456-2 (1998-04)
หลักการฉายภาพมุมที่ 1
มีหลักเกณฑ์ดังนี้
ภาพด้านข้างจะอยู่ขวา
มือของภาพด้านหน้า
ภาพด้านบนจะอยู่ด้านล่าง
ของภาพด้านหน้า
ความ
ยาว
ความ
สูง
ความ
กว้าง
การมองชิ้นงานตามทิศทางการมองในแต่ละด้าน จะเกิด
เป็นภาพสองมิติ ซึ่งมีความสัมพันธ์กัน ดังนี้
-ภาพด้าน
ข้างเกิดจาก
การมองทาง
ด้านซ้ายมือ
ของภาพ
ด้านหน้า
-ภาพด้านบนเกิดจากการมองทางด้านบนของภาพด้านหน้า
ขนาดความสูงของภาพด้านหน้าจะเท่ากับความสูงของ
ภาพด้านข้าง
ขนาดความยาวของภาพด้านข้างจะเท่ากับความกว้าง
ของภาพด้านบน
ขนาดความกว้างของภาพด้านหน้าจะเท่ากับความกว้าง
ของภาพด้านบน
ความย
าว
การแสดงสัญลักษณ์วิธีฉายภาพไว้ที่หัว
กระดาษเขียนแบบ
วางภาพฉาย 3 ด้าน ภาพด้านหน้าจะต้องห่างจากขอบ
กระดาษทั้งด้านบน และด้านข้าง ซ้ายมือ ประมาณ 20
มิลลิเมตร และระยะห่างระหว่างภาพด้านละ25 มิลลิเมตร
10
30
20
10
20
20141075
3.
5
2.
5
1.
8
ความสูง h เช่น ตัว
หนังสือใหญ่
(ขนาดกำาหนด) เป็น
mm
h = ความสูงของตัว
อักษรเป็น มม.
H = 2 เท่าของความสูง
d = 0.1 เท่าของความ
สูง
ภาพสัญลักษณ์วิธี
ฉายภาพมุมที่1
h
H 3·d
H
d
ทิศทาง
การมอง
ภาพที่มองเห็นจะปรากฏอยู่ด้านหลังตาม
ทิศทางการมอง ซึ่งจะเห็นเป็นภาพสองมิติ คือ
ความกว้างกับความสูง เรียกว่า ภาพด้านหน้า
( Front View)
ทิศทาง
การมอง
การมองภาพตามทิศทางการมองด้านบน จะ
เห็นเป็นภาพสองมิติ เช่นกัน คือ ความกว้าง
และความยาว เรียกว่า ภาพด้านบน (Top
ทิศทาง
การมอง
การมองภาพทางด้านขวามือตามทิศทางการ
มองด้านข้าง จะเห็นเป็นภาพสองมิติ เช่นกัน คือ
ความยาว และความสูง เรียกว่า ภาพด้านข้าง
(Side View)
ภาพด้านข้างจะต้องเป็นภาพที่อยู่ด้านขวามือ
ภาพด้าน
หน้า
ภาพด้าน
ข้าง
ภาพด้าน
บน
จะได้ภาพฉายที่เกิดขึ้นจาก
การมองชิ้นงานในทิศทางตั้ง
ฉากกับหน้างาน ซึ่งสามารถ
มองและเขียนภาพฉายทั้งหมด
6 ด้าน ส่วนใหญ่นิยมเขียน
ภาพฉายมุมที่ 3 (Third Angle Projection)
ISO Method A ( A = American ) ตาม DIN
ISO 5456-2 (1998-04)
ภาพด้าน
หน้า
ภาพด้าน
ข้าง
ภาพด้าน
บน
หลักการวางภาพฉายมุมที่
3 มีหลักเกณฑ์ดังนี้
ภาพด้านข้าง จะอยู่ขวา
มือของภาพด้านหน้า
ภาพด้านบน จะอยู่ด้านบน
ของภาพด้านหน้า
ความกว้าง ความยาว
ความยาว
ความ
สูง
ภาพด้านข้างเกิดจากการมองทางด้านขวามือ
ของภาพด้านหน้าภาพด้านบนเกิดจากการมองทางด้านบนของ
ภาพด้านหน้า
การมองชิ้นงานตามทิศทางการมองในแต่ละ
ด้าน เกิดเป็นภาพสองมิติ
ซึ่งมีความสัมพันธ์ ดังนี้ขนาดความสูงของภาพด้านหน้า
เท่ากับความสูงของภาพด้านข้างขนาดความกว้างของภาพด้านหน้า
เท่ากับความกว้างของภาพด้านบนขนาดความยาวของภาพด้านบน
การแสดงสัญลักษณ์วิธีฉายภาพไว้ที่หัว
กระดาษเขียนแบบ
วางภาพฉาย 3 ด้าน ภาพด้านหน้าจะต้องห่างจากขอบ
กระดาษทั้งด้านบน และด้านข้าง ซ้ายมือ ประมาณ 20
มิลลิเมตร และระยะห่างระหว่างภาพด้านละ25 มิลลิเมตร
10
30
20
10
20
20141075
3.
5
2.
5
1.
8
ความสูง h เช่น ตัว
หนังสือใหญ่
(ขนาดกำาหนด) เป็น
mm
h = ความสูงของตัว
อักษรเป็น มม.
H = 2 เท่าของความสูง
d = 0.1 เท่าของความ
สูง
ภาพสัญลักษณ์วิธี
ฉายภาพมุมที่3
h
H3·d
H
d
ทิศทางการมองเหมือนกัน มี 3 ทิศทางการมอง
คือ ด้านหน้า ด้านบน และด้านข้าง
ภาพด้าน
หน้า
ภาพด้าน
ข้าง
ภาพด้าน
บน
ภาพด้าน
หน้า
ภาพด้าน
ข้าง
ภาพด้าน
บน
ภาพฉายมุมที่ 3ภาพฉายมุมที่ 1
ภาพด้านข้างของการมองภาพฉายมุมที่ 1 เกิดจากการ
มองภาพด้านซ้ายมือของภาพด้านหน้าภาพด้านข้างของการมองภาพฉายมุมที่ 3 เกิดจาก
การมองภาพด้านขวามือของภาพด้านหน้า
การนำามาใช้งาน ประเทศในกลุ่มยุโรปจะใช้
การมองภาพฉายมุมที่ 1 ประเทศในกลุ่ม
สหรัฐอเมริกาจะใช้การมองภาพฉายมุมที่ 3
ประเทศไทยมีใช้ทั้งสองระบบ คือ ภาพฉายมุมที่ 1
และมุมที่ 3 แต่ระบบที่ใช้เป็นมาตรฐานผลิตภัณฑ์
อุตสาหกรรมคือ การมองภาพฉายมุมที่ 1 ดังนั้น
การศึกษาวิธีการเขียนภาพฉายรูปทรงต่าง ๆ ต่อไป
ภาพด้าน
หน้า
ภาพด้าน
ข้าง
ภาพด้าน
บน
ภาพฉายมุมที่ 1
ภาพด้านหน้าเป็นภาพที่มีราย
ละเอียดมากที่สุด
วิธีการเขียนภาพฉายงาน
ทรงเหลี่ยมตัดตรง
ถ่ายขนาดจากภาพด้านหน้า มายังภาพด้านบนด้วยเส้น
เต็มเบา (0.25 มิลลิเมตร)
นำาเอาขนาดความยาวของชิ้นงานมาเขียนด้วยเส้นเต็ม
บาง (0.25มิลลิเมตร)ของภาพด้านบน
เขียนเส้นขอบรูปขอบชิ้นงานที่มองเห็นด้วยเส้น
เต็มหนัก (0.5 มิลลิเมตร )ลงบนขอบชิ้นงานที่มอง
เห็นของภาพด้านบน
ถ่ายขนาดจากภาพด้านหน้า ด้วยเส้นเต็ม
เบา(0.25 มิลลิเมตร) มายังภาพด้านข้าง
เขียนเส้นทำามุม 45 องศา ด้วยเส้นเต็มเบา (0.25
มิลลิเมตร) จากมุมขวามือของภาพด้านหน้า
เขียนเส้นฉายจากภาพด้านบนมายังเส้นทำามุม 45
องศา ด้วยเส้นเต็มเบา (0.25 มิลลิเมตร)
เขียนเส้นฉายจากเส้นทำามุม 45 องศา ไปยังภาพด้านข้างด้วย
เส้นเต็มเบา (0.25 มิลลิเมตร)ของภาพด้านข้าง
เขียนเส้นขอบรูปขอบชิ้นงานที่มองเห็นด้วยเส้น
เต็มหนัก (0.5 มิลลิเมตร) และขอบชิ้นงานที่มองไม่
เห็น ให้เขียนด้วยเส้นประ (0.35 มิลลิเมตร)ของ
ภาพด้านข้าง
ภาพฉายทั้งสามด้านก็จะเป็นเส้นตรงที่ตั้งฉากกันทุกด้าน
กำาหนดขนาด รายละเอียดต่าง ๆ ให้ครบตามกรรมวิธี
การผลิต
3
5
3
0
1
4
8
3
0
22
ควรหลีกเลี่ยงการกำาหนดขนาดที่เส้นประ
การวางภาพฉาย 3 ด้าน ภาพด้านหน้าจะต้องห่างจาก
ขอบกระดาษทั้งด้านบน และด้านข้าง ซ้ายมือ ประมาณ
20 มิลลิเมตร และระยะห่างระหว่างภาพด้านละ25
มิลลิเมตร
เขียนภาพสัญลักษณ์แสดงวิธีฉายภาพ
แสดงไว้ที่หัวกระดาษเขียนแบบ
ใบ
งาน
1. จากรูปจงเขียนแบบภาพ3 ด้าน ภาพ
ฉายมุมที่1 โดยใช้มาตราส่วน1:2
พร้อมกำาหนดขนาดลงในแบบภาพฉาย
ให้ถูกต้อง (ขนาดวัดจากแบบ)
ใบ
งาน
2. จากรูปจงเขียนแบบภาพ3 ด้าน ภาพฉายมุมที่1
โดยใช้มาตราส่วน1:1
พร้อมกำาหนดขนาดลงในแบบภาพฉายให้ถูก
ต้อง (ขนาดวัดจากแบบ)
3. จากรูปจงเขียนแบบภาพ3 ด้าน ภาพฉายมุม
ที่1 โดยใช้มาตราส่วน2:1
พร้อมกำาหนดขนาดลงในแบบภาพฉายให้ถูก
ต้อง (ขนาดวัดจากแบบ)
ใบ
งาน
เฉลยใบ
งาน
1. จากรูปจงเขียนแบบภาพ3 ด้าน ภาพ
ฉายมุมที่1 โดยใช้มาตราส่วน1:2
พร้อมกำาหนดขนาดลงในแบบภาพฉาย
ให้ถูกต้อง (ขนาดวัดจากแบบ)
2. จากรูปจงเขียนแบบภาพ3 ด้าน ภาพฉายมุมที่1
โดยใช้มาตราส่วน1:1
พร้อมกำาหนดขนาดลงในแบบภาพฉายให้ถูก
ต้อง (ขนาดวัดจากแบบ)
เฉลยใบ
งาน
3. จากรูปจงเขียนแบบภาพ3 ด้าน ภาพฉายมุม
ที่1 โดยใช้มาตราส่วน2:1
พร้อมกำาหนดขนาดลงในแบบภาพฉายให้ถูก
ต้อง (ขนาดวัดจากแบบ)
เฉลยใบ
งาน

More Related Content

What's hot

แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
Duangnapa Jangmoraka
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสง
พัน พัน
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
Peerapong Veluwanaruk
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
srkschool
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
Noi Nueng
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
krupornpana55
 

What's hot (20)

แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสง
 
วัสดุและเครื่องมือช่างพื้นฐาน.pdf
วัสดุและเครื่องมือช่างพื้นฐาน.pdfวัสดุและเครื่องมือช่างพื้นฐาน.pdf
วัสดุและเครื่องมือช่างพื้นฐาน.pdf
 
2 2
2 22 2
2 2
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
 
ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
 
PowerPoint for micro:bit makeCode (JavaScript Blocks editor ) Thai
PowerPoint for micro:bit makeCode (JavaScript Blocks editor ) ThaiPowerPoint for micro:bit makeCode (JavaScript Blocks editor ) Thai
PowerPoint for micro:bit makeCode (JavaScript Blocks editor ) Thai
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
 
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูลใบงานที่  1.1  เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ประเภทแหล่งข้อมูล
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
วิทยาศาสตร์โลกทั้งระบบ : Earth system science (basic)
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 

Viewers also liked

แบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อแบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อ
Muta Oo
 
ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติ
mou38
 
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
Tolaha Diri
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
peter dontoom
 

Viewers also liked (8)

แบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิก
แบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิกแบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิก
แบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิก
 
555555555
555555555555555555
555555555
 
แบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อแบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อ
 
บทที่ 5 ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
บทที่ 5 ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ บทที่ 5 ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
บทที่ 5 ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
 
ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติ
 
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
1 การเขียนแบบเบื้อนต้น
 
แบบฝึกหัดที่ 4 การบอกขนาด
แบบฝึกหัดที่ 4 การบอกขนาดแบบฝึกหัดที่ 4 การบอกขนาด
แบบฝึกหัดที่ 4 การบอกขนาด
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 

บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3