SlideShare a Scribd company logo
1 of 288
Download to read offline
คู่มือการทาโปรแกรมที่ใช้ในวิชาเทคนิคการทาแผนที่การใช้ที่ดิน
(877353 Land Use Mapping Techniques)
จัดทาโดย
นางสาว สริตา เอี่ยมศิรินพกุล
รหัสนิสิต 58170087 กลุ่ม 01
เสนอ
อาจารย์กฤษณะ อิ่มสวาสดิ์
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560
คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
Week 1
-เปิดโปรแกรม Arc map10.1
-ขั้นตอนการเปิดรูปภาพ village >ไปที่โฟลเดอร์จัดเก็บรูปภาพ
-เลือกไฟล์รูปภาพ ลากเข้ามาในตัวโปรแกรม
-กด yes
-จะได้รูปภาพ
-ทาการแปลงนามสกุลไฟล์ > ไปที่ Data >เลือก Export Data เพื่อทาการแปลงไฟล์
-เลือก Raster Dataset (Original)
-กด yes
-ทาการเปลี่ยนสีเป็นขาวดา (จัดกลุ่มชั้นข้อมูลใหม่)
> ไปที่หน้าต่าง Search >พิมพ์คาว่า reclassify ในช่องค้นหา >เลือก reclassify (Special
Analysis)
-กดเลือกแค่ตัวสีน้าเงินเท่านั้น จะได้หน้าต่างนี้ขึ้นมา >ช่อง Input raster เลือกข้อมูลที่จะนามา
แปลง และเลือก Field ในช่อง Reclass Field >เลือกที่จัดเก็บในช่อง Out put > ok
Input raster
Reclass Field
Out put Raster
-จะได้หน้าต่างนี้ขึ้นมา > กดเลือก Manual ในช่องแรก และเลือก 2 class
-ได้ 2 Class ในตาราง
-กด OK จะได้รูปนี้ขึ้นมา
-ทาการเปลี่ยนสี > คลิกขวาที่ re_village > ไปที่ Symbology >เลือก Classifed ปรับสี >กด
OK
-จะได้รูปนี้ขึ้นมา
-ขั้นตอนต่อไป ไปที่ Arc scan > เลือก Customize > เลือก Toolbars >กด เครื่องหมายถูกที่ Arc
scan
-จะได้หน้าต่างเครื่องมือ Arc scan ขึ้นมา
-ขั้นตอนต่อไป > เลือก Customize > เลือก Extensions
-จะได้หน้าต่างนี้ขึ้นมา
-ทาการสร้าง shapefile >คลิกขวาที่โฟลเดอร์ >เลือก New >ไปที Shapfile
-ตั้งชื่อ Shapefile > เลือกเป็น Polyline >ok
-จะได้ shapefile
-คลิกขวา Shapefile ที่เพิ่งสร้างขึ้น >ไปที่ Edit feature >เลือก Start Editing
>ไปที่ Cell selection >เลือก Select connected cells
-จะได้หน้าต่าง Select connected cells ขึ้นมา >เลือก less than or equa to > กด OK
-ไปที่คาสั่ง Raster clean up >เลือก Start clean up
-ไปที่คาสั่ง Raster clean up >เลือกErase Selected cells
-ไปที่คาสั่ง Vectorization >เลือก Vectorinization Settings
-ตั้งค่า กดApply
-จะได้ดังนี้
-ไปที่คาสั่ง Vectorization >เลือก Generate Features
-ตั้งค่า กด OK
-รอประมวลผล
-จะผลลัพธ์ดังในรูป
-ไปที่ editor >เลือก Stop Editing
-ไปที่คาสั่ง Feature to polygon
-ช่อง Input Feature เลือกไฟล์ >ในช่อง Output Feature Class กดเลือกที่ Save
-จะได้ผลลัพธ์ดังในรูป
-ปิดไฟล์ที่ไม่ใช้งาน
-ทาการเปิด Add basemap
-เลือก Imagery กด Add
-คลิกขวาที่ World imagery >เลือก Zoom to layer
-จะได้รูปขึ้นมา
-ซูมเพือหาตาแหน่ง
Week 2
Land surface temperrature LST การดูอุณหภูมิพื้นผิว
-เปิดข้อมูลไฟล์ภาพ
-เปิดขอบเขต Chantaburi
-เปิดคาสั่ง Model
-ลากไฟล์รูปภาพ Band10 กับ ขอบเขต Chantaburi เข้าไปใน Model >-ดับเบิลคลิก raster ในรูป
-จะได้หน้าต่างนี้ขึ้นมา
-ไปที่ไฟล์ภาพ >คลิกขวา open with >เลือก worldpad
-Copy code ตามรูปภาพ
-แล้วนาไปวางที่ช่องค้นหาใน Google
-จะได้ค่าที่ถูกคานวณแล้ว
-Copy ค่าที่ได้ มาใส่ในช่องว่าง ดังรูป >เลือกที่จัดเก็บ > กด OK
-ดับเบิลคลิก Band10อันบน
-Copy ค่า ดังรูป
-นามาใส่ในช่อง >กด OK
-สร้างโฟลเดอร์ใหม่ >ตั้งชื่อไฟล์
-จะได้ผลลัพธ์ดังรูป
-ไปที่ Tools > ค้นหาคาสั่ง Extract by mask
-ดึงคาสั่งแล้วนามาปล่อยในหน้าต่าง Model
-กด Connect เพื่อทาการเชื่อมต่อแผนภาพ
-คลิกขวาแล้วเลือก นาไปลากเส้น
-คลิกขวา เลือก Input raster
-คลิกลาก Shapefile Chantaburi ไปที่ Extract by Mask ดังรูป
-กด Extract_LS8_1
-เลือกโฟลเดอร์จัดเก็บ
-ไปที่คาสั่ง Auto Layout
-จะได้ภาพที่เป็นระเบียบมากขึ้น
-ไปที่ Tools >เลือก raster….ตามภาพ
-คลิกแล้วลากเข้ามาในหน้าต่าง Model
-Copy ค่าตัวเลขมาใส่
-กดเลือกเครื่องหมายหาร
-ไป Copy ค่าที่ได้
-นามาวางเป็นตัวหาร
-คลิกเลือกตามรูปภาพ
-นาค่าตัวเลขที่ได้มาคานวณ
-ตั้งชื่อไฟล์
-กด Auto Layout เพื่อจัดระเบียบแผนผัง
-คลิกขวาสีเขียว กด add to display ทุกอัน
-กด Run
-สังเกตว่าจะมีสีเทาอยู่ท้ายๆ
ต่อไปเป็นการคานวณค่าอุณหภูมิวัตถุ
-Dubble click tempalature
- เลือก Symbology > กดStretched >Ok
-จะได้ดังรูป
-คลิกขวาพื้นที่ว่าง เลือกคาสั่ง 3D Analyst
การทาภาพตัดขวาง
-กดเลือก Temperature
-ไปที่คาสั่ง Interpolate Line
-เลือกคาสั่ง Profile Graph
-ลากพื้นที่ดู Profile Graph Title
Week 3
Accuracy Assessment การประเมินค่าความถูกต้อง
-เปิดโปรแกรม Envi 5.3 64 bit
-เลือกไฟล์รูป Subset_reflectance_LS8_2014_class >Open
-จะได้ไฟล์รูป
-เลือกไฟล์รูป Subset_reflectance_LS8_2014_class >Open
-จะได้ไฟล์ภาพ
ทาการเปลี่ยนสี >คลิกขวาที่ไฟล์ภาพ >เลือก Change RGB Bands
-กด 564 ตามลาดับจะเรียงตาม RGB
-ปรับเป็น 5 %
-ทา Traning Area
-เลือกคาสั่ง Region of Interest (ROI) Tool >ไปที่ New ROI
-พิมพ์ชื่อในช่อง ROI Name
-ทาการDigitizeไปประมาณให้ครบ 15 Class แล้วเริ่มทาต่อเรียงจาก
Water,Forest,Building,Bareland,Agriculture
-เมื่อ Digitize เสร็จแล้ว >เลือกพื้นที่จัดเก็บ
-เลือกไฟล์ที่ต้องการ > ok
>เปิดคาสั่ง Classification Input File ในช่อง Toolbox
-ไปที่คาสั่ง Match Classes Parameters
Land cover change:LCC
-เปิดไฟล์ทั้งภาพ 2014กับ 2017
-จะได้ไฟล์ภาพ 2014
-เลือกเปิดไฟล์ภาพ 2017
-จะได้ไฟล์ภาพ 2017
-ลากไฟล์2014ให้อยู่บน2017
-เปิดคาสั่ง Image Change Workflow ใน Toolbox
-เลือกไฟล์ภาพ
-เลือกไฟล์ภาพอีกรูป
-เมื่อเปิดไฟล์ภาพได้แล้ว >ไปที่ Next
-ไปที่ขอบเขตจันทบุรี
-เปิดไฟล์ภาพ Chantaburi >ในคาสั่ง File Selection >กดเลือก SWIR 2(2 2010)
-คาสั่ง File Selection > เลือก Chantaburi
-กด Next
-เลือก Skip Image Registration > กด Next
-กดเลือก Image difference > Next
-กดเลือก Difference of Input Band >Next
-รอการประมวลผล
-เลือก Apply Thresholding >Next
Week 4
-เปิดโปรแกรม Arc Map
-เปิดไฟล์ภาพ 1880-14c
-ทาการตรึงค่าพิกัด >ไปที่คาสั่ง Data Frame Properties >เลือกค่าพิกัด > กด Ok
-เริ่มทาการตรึงพิกัดภาพ
-ไปที่คาสั่ง Add Control Point
-ใส่ค่าพิกัด
-กด Ok
-ตรึงพิกัดภาพทุกมุม
-ใส่ค่าพิกัด
ไปมุมขวาบน ขวาล่างทาเหมือนโดยเดิมให้ครบ4มุม
-ไปที่คาสั่ง View Link Table
-ดูค่าพิกัด
ยิ่งน้อยยิ่งดี
ทาการ Save point >ไปที่ Georeferencing
-เลือกคาสั่ง Update Display
-คลิกขวาที่ไฟล์ภาพ >เลือก Data >ไปที่ Export Data
-ใส่ค่าตามภาพ
-ทาการเปลี่ยนหน่วย
-สร้าง Shapefile ใหม่ >คลิกขวาที่โฟลเดอร์ >คลิก New >เลือก Shapefile
-ทาการตั้งชื่อ Shapfile > ช่องFeature Type เลือก Polygon >กด OK
-ต้องการเก็บฐานข้อมูล >คลิกขวาที่ Shapfile >เลือก Open Attribute Table
-เลือก Add Field
-ตั้งชื่อ Attibute > กด Ok
-ทาการ Add Field เพิ่ม
-ทาการตั้งชื่อ
-ไปที่ Editor > เลือก Start Editing
-ไปที่ Editor >เลือก Editing Windows >Create Features
-เปิด Attibutes
-เริ่ม Digitize >ใส่ค่าเข้าไปในตารางด้วย
-สามารถใช้ Auto Complete Polygon เมื่อ Digitize polygon ติดกันได้
-เริ่ม Digitize อันที่อยู่ติดกัน โดยการคลิกจากข้างในพื้นที่ที่ Digitize ไปก่อนแล้ว
- Digitize เสร็จ 1 อัน กรอกค่าใส่ตาราง
-ทาการ Digitize ไปเรื่อยๆ
-เมื่อทาเสร็จแล้ว ทาการ Save >ไปที่ Stop Editing
Week 5
-ลาก Shapfile เข้า ตามภาพ
-พิมพ์ AHP 2.0 ในช่องค้นหาของGoogle >คลิกตามลิงค์ในภาพ
-แสดงผลการค้นหา
-คลิกขวาที่ Land_price > ไปที่ Symbology >ตั้งค่าตามภาพ
-กด Add all values
-จะได้ผลตามภาพ
-ไปที่ Editor >เลือก Start Editing
-เลือกใช้เครื่องมือ Edit Tool
-เริ่ม Digitize ในขอบเขตที่ต้องการ
-ไปที่ตาราง Attributes
-ใส่ค่าราคาที่ดินในช่องของตาราง
-ไปที่คาสั่ง Clear Selected Features
-เมื่อ Digitize เสร็จแล้ว ไปที่ Editor >เลือกคาสั่ง Stop Editing
-ไปที่ช่องค้นหาคาสั่ง (Search) >ค้นหาคาสั่ง Density
-ค้นหาคาสั่ง Feature to point ใน Search
-เลือกไฟล์ และพื้นที่จัดเก็บ
-ค้นหาคาสั่ง Point density ในช่อง Search
-ไปที่ environment เลือก admin ในช่อง Mask
-ไปที่ environment เลือก Same as layer Admin
-ตั้งค่าในช่องตามภาพ >กด Ok
-ค้นหาคาสั่ง Euclidean ในช่อง Search
-ใส่ค่าตามภาพ
-การทาPolygon to raster ไม่ต้องกด environment
-ค้นหาคาสั่ง Polygon to raster ในช่อง Search
-ใส่ค่าตามภาพ
-เอามาทาเป็นชั้นข้อมูล >ค้นหาคาสั่ง Reclassify ในช่อง Search
-เลือก Ras_price ในช่อง Input raster >เลือกที่จัดเก็บไฟล์ในช่อง Output raster
-เมื่อทาการ Reclassify เสร็จ จะได้ดังภาพ
-ไปที่คาสั่ง AHP
-ดึงข้อมูล ras_price ไปไว้อีกช่องของตาราง
-ใส่ค่าตามภาพ
-โดยค่า cr (การซ้า) ควรต่ากว่า 0.1 > กดคาสั่ง Create map
-Save file ตั้งชื่อ
สีเขียวคือไม่เหมาะในการสร้าง
สีแดงคือเหมาะสม
-กด Finish
Week 6
-เปิดโปรแกรม Arc map
-ลาก Shapefile chantaburi
-คลิกขวาที่โฟลเดอร์ ทาการสร้าง Shapefile
-ไปที่ New >เลือก Shapefile
-ทาการตั้งชื่อ Shapefile >ตั้งค่า Feature Type เป็น Point
-เปิดตาราง >open attribute table
-ไปที่ Add field
-ทาการตั้งชื่อ field
-ไปที่คาสั่ง Editor >เลือก Start Editing
-ทาการจุดตาแหน่งตามที่ต้องการ
-ไปที่ตาราง Attributes
-ทาการกาหนดค่า
-เริ่มจุดที่ 2 และทาการกาหนดค่าเอง
-เริ่มจุดตาแหน่งที่ต้องการเรื่อยๆ
-เมื่อได้จานวนจุดครบตามต้องการแล้ว กดคาสั่ง Clear Salected Features
-ไปที่คาสั่ง Editor >เลือก Stop Editing
-เช็คค่า Speed โดยเปิดตาราง
-ไปที่คาสั่ง Modelbuilder
-ค้นหาคาสั่ง Model ในช่อง Search แล้วดึง wind เข้าในคาสั่งของ Model
-กดshift copy แล้วนาไปวางในคาสั่ง Model
-กด Copy
-ไปที่คาสั่ง Auto Layout
-ไปที่เครื่องมือ Select
-เลือกใส่ค่าตามภาพ
-เลือกพื้นที่จัดเก็บ
-กด Ok
-ไปที่ Model เลือกคาสั่ง Model properties
-เลือกคาสั่งตามภาพ > ไปที่ Value
-ทาการตั้งค่าตามภาพในคาสั่ง Environment Settings
-กด Run
-ไปที่คาสั่ง Add to display
-จะได้ผลลัพธ์ดังรูป
-ค้นหาคาสั่ง Create fishnet (data managerment) ในช่อง Search
-เลือกพื้นที่จัดเก็บ
-ทาการตั้งค่าดังรูป
-ค้นหาคาสั่ง Clip ในช่อง Search
-เลือก Shapefile ที่จะนาไปclip
-จะได้ผลลัพธ์ดังรูป
-คลิกขวา Clip_wind >เลือก open attribute table
-ค้นหาคาสั่ง Extract….ในช่อง Search
-ในช่อง Input point features เลือก Clip_wind
-ไปที่ Layer properties >เลือก Single symbol
-ทาการตั้งค่าตามภาพ
-เลือกสีและลักษณะของ point
-Type เลือกเป็น Character Marker symbol
-ทาการเลือกลักษณะ
-เลือกเป็นลูกศร
-กด ok
-ทาการ Save as
-เลือกพื้นที่จัดเก็บ
-กด Yes
-ค้นหาซิปไฟล์ DEM ที่ประวัติการดาวน์โหลด
-เปิดไฟล์ภาพในโปรแกรม Arc map
-เลือกโฟลเดอร์ 2017
-เลือกเปิดไฟล์ภาพดังรูป
-ไปที่ Windows >เลือก Image Analysis
-เลือกคาสั่ง Composite Bands
-ค้นหาคาสั่ง Clip (data management) ในช่อง Search
-ในช่อง output extent เลือก Attribute
-เลือกพื้นที่จัดเก็บ
-ไปที่เครื่องมือ Rectangle
-ไปที่เครื่องมือ Drawing >เลือก convert graphics to features
-ตั้งชื่อ shapefile
-กด ok
-คลิกขวา delete
-เปิดโปรแกรม Arc scene
-เปิดไฟล์ข้อมูล clip_LS8
-เปิดไฟล์ข้อมูลดังภาพ
-ไปที่คาสั่ง layer properties ทาการตั้งค่าตามภาพ
-เลือกไฟล์ตามภาพ ในคาสั่ง Base Heights
-ไปที่คาสั่ง Animation > เลือก Animation manager
-เลือก Type เป็น Layer ช่อง Source object เลือกเป็น Flood > กด New
-กด close
-ไปที่คาสั่ง open animations controls
-ใส่ค่าตามรูป
-ไปที่คาสั่ง animations เลือก Export animation
Week 7
-เปิดโปรแกรม Arc map
-เปิด Google chrome กด ctrl=j เพื่อดูประวัติการดาวน์โหลด
-นาไฟล์ที่ได้ Save ใส่โฟลเดอร์
-เปิดภาพจังหวัดจันทบุรี
-กด Ok
-คลิกขวาที่โฟลเดอร์ สร้าง Shapefile ใหม่ และทาการตั้งชื่อ
-คลิกขวาที่ Shapefile ที่เพิ่งสร้าง > กด open attribute table
-กด Add field
-ทาการตั้งชื่อ Field ใหม่ Lu_name ใส่ค่าเป็น 30
-กด Add field
-ทาการตั้งชื่อ Field ใหม่ Lu_code ใส่ค่าเป็น 10
-จะได้ Field ใหม่ทั้ง 2 Field
-ทาการเปลี่ยนสี
-เปลี่ยนสีเป็น no color
-ไปที่คาสั่ง Editor >เลือก Start Editing
-เริ่ม Digitize เลือกเป็น Polygon
-Digitize พื้นที่ที่ต้องการ
-เมื่อDigitize พื้นที่แล้ว ไปเปิดตารางที่ Attributes
-พิมพ์ชื่อ
-ค้นหารหัสของพื้นที่
-นาไปใส่ในตารางช่องกรอก Code
-เริ่มDigitize พื้นที่อันต่อไป และใส่ค่า
-หากต้องการตัดรูป ไปที่คาสั่ง cut editer
-เลือกพื้นที่ที่ต้องการตัด
-โดยคลิกเลือกให้เป็นสีฟ้าก่อน
-เริ่ม Digitize พื้นที่จนครบ เมื่อเสร็จแล้ว ไปที่ Editor >แล้วเลือก Stop Editing
Week 8
-เปิดโปรแกรม QGIS 2.18
-ไปที่คาสั่ง Plugins >เลือก Manage and Install plugins
-ใส่เครื่องหมายถูกช่องแรก
-ไปที่คาสั่ง SCP
-เลือกคาสั่ง Preprocessing > ไปที่ Landsat
-ใส่เครื่องหมายถูกที่ คาสั่ง Create Band set and use Band set tools
-เลือกคาสั่ง Select a directory
-เลือกไฟล์ภาพ
-ไปที่ Open a file เพื่อเลือกไฟล์ภาพ
-ลบอันที่ไม่ใช้ออก
-ลบ band9 ออกเพิ่มด้วย เหลือไว้แค่อันที่ใช้
-สร้างโฟลเดอรในกลุ่ม1 ตั้งชื่อว่า week9 กด select Folder
-จะได้ไฟล์ภาพที่ใช้ขึ้นมา
-ไปที่คาสั่ง Add vector layer >เลือก Browse เพื่อเปิดไฟล์ภาพ
-เลือกไฟล์ที่จะนาไปใช้
-กด open
-จะได้ขอบเขตจันทบุรีขึ้นมา
-กด Refresh list 1 ครั้ง
-ไฟล์ภาพที่ถูกเลือกจะขึ้นมา
-กด Select all เพื่อเลือกทั้งหมด
-กดเลือก Use shapefile for dipping
-เลือก Chantaburi กด Reflesh list 1 ครั้ง
-กด Run
-สร้างโฟลเดอร์ใหม่ใน week 9 2014
-กด Select Rasters
-จะได้ดังรูป
-ไปที่ Preprocessing >เลือก Stack raster bands
-กด Refresh list 1 ครั้ง
-จะได้ดังรูป
-กด Run
-เลือกที่จัดเก็บ
-กดเลือกไฟล์ภาพที่ไม่ต้องการ คลิกขวาแล้วกด Remove
-เหลือไว้เฉพาะอันที่ใช้
-ไปที่ Layer properties >เลือก Style
-กดเรียงBand 564 ตามภาพ
-จะได้ผลลัพธ์ดังนี้
-ไปที่คาสั่ง Local cumulative cut stretch using current extent
-ไปที่คาสั่ง Settings
-เลือก Options
-เลือก CRS ใส่ค่าตามภาพ กด Ok
-คลิกขวาที่ว่า เลือกคาสั่ง SCR Dock
-เลือก LS8 2014.tif
-ไปที่ Create a new training input
-ตั้งชื่อไฟล์
-ไปที่ Activate ROI pointer
-เริ่ม Digitize พื้นที่ที่ต้องการ
-กด Save temporary ROI to training input
Week 9
-เปิดโปรแกรม Monteverdi application
-ไปที่ Flie
-เลือก Open dataset
-เลือก Chantaburi
-กด Open
-กด Chantaburi > เลือก display in viewer
-กด Color
-ไปที่คาสั่ง Filtering
-เลือก Mean shift clustering
-คลิกเพื่อเลือก Rader 2 >ไปที่ Chantaburi
-จะได้ดังภาพ กด OK
-เลือกหน้าต่าง Display Cluster
-กดRun
-จะได้ผลลัพธ์ดังภาพ
-ไปที่หน้าต่างโปรแกรม Monteverdi application
-เลือก Export dataset
-เลือกพื้นที่จัดเก็บ
-เลือกเป็น unsigned char (8 bit)
-กดSave
-เปิดโปรแกรม Arc map
-ลากไฟล์ Durian เข้า
-ไปที่ Polygon
-Digitize ขอบเขตพื้นที่ที่ต้องการ
-ไปที่คาสั่ง Drawing >เลือก Convert Graphics To Features
-ตั้งชื่อไฟล์ เลือกพื้นที่จัดเก็บ
-กด Yes
-คลิกขวา กด Delete
-ไปที่ช่อง Search เลือกคาสั่ง Tools
-ค้นหาเครื่องมือ Extract by mask
-ช่อง Input raster เลือก durian.tif เข้า >Input raster or feature mask data เลือก Area > เลือก
พื้นที่จัดเก็บ
-กด Ok
-จะได้ผลลัพธ์ดังภาพ
-ไปที่เครื่องมือ Image Classification เลือก Ex_durian
-เลือกคาสั่ง Training Sample Manager
-เลือก Draw Polygon
-เริ่ม Digitize พื้นที่ตัวอย่าง
-เมื่อ Digitize ครบแล้ว กดเลือกทั้งหมด >ไปที่คาสั่ง Merge training samples เพื่อรวมพื้นที่
ตัวอย่าง
-รวมพื้นที่ตัวอย่างได้ 1 class
-เริ่มเก็บพื้นที่ตัวอย่าง และทาคลาสที่ 2
-เมื่อรวมพื้นที่ตัวอย่างได้ตามต้องการแล้ว ไปที่คาสั่ง Create a signature file
-เลือกพื้นที่จัดเก็บ
-เลือกคาสั่ง Interactive Supervised Classification
-จะได้ผลลัพธ์ดังรูป
-ค้นหาเครื่องมือ Raster to polygon
-เลือกพื้นที่จัดเก็บไฟล์ และตั้งชื่อ
-กด Ok เพื่อทาการประมวลผล
-ค้นหาคาสั่ง Feature to point
-ในช่อง Input Feature เลือก Ras_polygon และเลือกพื้นที่จัดเก็บ
-กด Ok
Week10
-เปิดโปรแกรม Envi
-เปิดไฟล์ภาพ
-เปิดไฟล์ tif
-ไปที่คาสั่ง Crosshairs จะได้หน้าต่าง Cursor Value
-ไปที่ Radiometric correction
-จะได้หน้าต่าง Calibration Input File
-กดเลือกไฟล์ภาพที่ต้องการ
-เลือกพื้นที่จัดเก็บ > เปิดคาสั่ง IAR Reflectance correction
-ตั้งชื่อไฟล์
-ไปที่หน้าต่าง Cursor Value
-เปิด Shapefile chantaburi
-เปิดคาสั่ง Select Input File to Subset
-ไปที่คาสั่ง Spatial Subset via ROI Parameters เลือกตามภาพ
-กดเลือก Gram-Schmidt Pan Sharpening
-กดเลือก INND iffuse Pan Sharpening
-ใน File Selection เลือก Subset_reflectance_Ls8_2017
-ใน File Selection เลือก Subset_pan_reflectance1_pan2017
-เลือกพื้นที่จัดเก็บ
-กด Ok
-รอการประมวลผล
-คลิกขวาที่ NNDiffusePanSharppening_2017 >เลือก Change RGB Bands
-กดเรียง 564
-กด Ok รอการประมวลผลจะได้ตามภาพ
-เลือกเป็น Equalization
-ลอง Zoom ภาพ
-ไปที่คาสั่ง Feature Extraction >เลือกไฟล์ NNDiffusePanSharppening_2017 > Next
-รอการประมวลผล
-ปรับ Edge เป็น 50
-เลือก Preview
-ปรับแก้ค่าเป็น 80 >Next
-รอการประมวลผล
-คลิกเลือก All Classes
-คลิกแล้วเลื่อนดูภาพ
-กด Add class
-เลือก Class ที่ต้องการดู
-ลองเลื่อนปรับแก้ภาพ
-กด Add classes เพื่อดูคลาสเพิ่มเติม
-ลองเลื่อนดูภาพ
-กดสลับ invert
Week 11
-เปิดโปรแกรม Monteverdi application ในช่อง Search >จะได้หน้าต่างโปรแกรมขึ้นมา
-ไปที่ Open dataset
-เลือกไฟล์ Chantaburi
-เลือก Display in viewer
-จะได้หน้าต่างดังภาพ
-แล้วปิดหน้าต่างนั้นไปจะเหลือเพียงหน้าต่างของโปรแกรม
-ไปที่คาสั่ง Filtering >เลือก Mean shift clustering
-จะได้หน้าต่าง Set inputs
-เลือก Chantaburi
-กด Ok
-เลือก Display cluster
-กด Run
-เลือกDisplay Boundaries
-แล้วกด close
-เลือกclustered image แล้วคลิกขวา
-คลิกที่ Export dataset
-เลือกพื้นที่จัดเก็บ
-ตั้งชื่อไฟล์
-ทาการเปลี่ยน Output Data Type เป็น unsigned char
-กด Save
-เปิดโปรแกรม Arc map
-เปิดไฟล์ Durian_tif
-ไปที่เครื่องมือ Rectangle
-เลือก Polygon
-เริ่ม Digitize
-Digitize เสร็จแล้ว
-ไปที่คาสั่ง Convert Graphics To Features
-ใส่ค่าดังภาพ
-เลือกพื้นที่จัดเก็บ
- กด Ok
-จะได้ Shapefile จากคาสั่งวาดภาพ
-ค้นหาเครื่องมือ Extract by mask จากช่อง Search
-จะได้หน้าต่างคาสั่งขึ้นมา
-ช่อง Input raster เลือก durian.tif >ช่อง Input raster or feature mask data เลือกเป็น Area
และเลือกพื้นที่จัดเก็บในช่อง Output raster
-กด Ok รอการประมวลผล
-กด Close เพื่อปิดหน้าต่างหลังจากประมวลผลเสร็จแล้ว
-ใช้คาสั่ง Image Classification
-เลือกเป็น Ex_durian
-ไปที่ Training Sample Manager
-จะปรากฎหน้าต่างคาสั่งขึ้นมา
-เลือก Draw Polygon
-เริ่มเก็บ Training Area
-เลือก class ข้อมูลที่ต้องการรวม > เลือกคาสั่ง Merge training samples เพื่อทาการรวมข้อมูล
-รวมข้อมูลได้ 1 class
-เริ่มเก็บ Training ที่ 2 และทาการรวมข้อมูล
-ได้ Training ที่ได้ทาการรวมแล้ว 2 class
-ไปที่คาสั่ง Create a signature file
-เลือกใช้คาสั่ง Interactive Supervised Classification
-จะได้ผลลัพธ์ดังภาพ
-ค้นหาคาสั่ง Raster to polygon ในช่อง Search
-เลือกพื้นที่จัดเก็บไฟล์
-กด Ok
-รอการประมวลผล
-ค้นหาคาสั่ง Feature to point ในช่อง Search
-จะได้หน้าต่างคาสั่งขึ้นมา
-ช่อง Input Features เลือก ras_polygon และเลือกพื้นที่จัดเก็บไฟล์
-คลิกเลือก Inside
-กด Ok รอการประมวลผล
-คลิกขวาที่ point_durian > เลือก open attribute table
-จะได้ข้อมูลตารางขึ้นมา

More Related Content

Similar to คู่มือ58170087

รุ่งนภา
รุ่งนภารุ่งนภา
รุ่งนภาBoo' Noypeng
 
นางสาวพัชรี เพ็ชร์อุดม 55670194 กลุ่ม 3301
นางสาวพัชรี เพ็ชร์อุดม 55670194 กลุ่ม 3301นางสาวพัชรี เพ็ชร์อุดม 55670194 กลุ่ม 3301
นางสาวพัชรี เพ็ชร์อุดม 55670194 กลุ่ม 3301Builtt Susa
 
น.ส นันทพร จันหอม 58170012
น.ส นันทพร  จันหอม  58170012น.ส นันทพร  จันหอม  58170012
น.ส นันทพร จันหอม 58170012Chutikarn Jitsuwan
 
Rs2 55670193 พัชรภรณ์ สายน้ำ_3301
Rs2 55670193 พัชรภรณ์ สายน้ำ_3301Rs2 55670193 พัชรภรณ์ สายน้ำ_3301
Rs2 55670193 พัชรภรณ์ สายน้ำ_3301creaminiie
 
Captureหลักกกกก
CaptureหลักกกกกCaptureหลักกกกก
Captureหลักกกกกranggo24
 
Captureหลักกกกก
CaptureหลักกกกกCaptureหลักกกกก
Captureหลักกกกกranggo24
 
Captureหลักกกกก
CaptureหลักกกกกCaptureหลักกกกก
Captureหลักกกกกranggo24
 
Captureหลักกกกก
CaptureหลักกกกกCaptureหลักกกกก
Captureหลักกกกกranggo24
 
Captureหลักกกกก
CaptureหลักกกกกCaptureหลักกกกก
Captureหลักกกกกranggo24
 

Similar to คู่มือ58170087 (11)

รุ่งนภา
รุ่งนภารุ่งนภา
รุ่งนภา
 
นางสาวพัชรี เพ็ชร์อุดม 55670194 กลุ่ม 3301
นางสาวพัชรี เพ็ชร์อุดม 55670194 กลุ่ม 3301นางสาวพัชรี เพ็ชร์อุดม 55670194 กลุ่ม 3301
นางสาวพัชรี เพ็ชร์อุดม 55670194 กลุ่ม 3301
 
Land use 58670354 3301
Land use 58670354 3301Land use 58670354 3301
Land use 58670354 3301
 
น.ส นันทพร จันหอม 58170012
น.ส นันทพร  จันหอม  58170012น.ส นันทพร  จันหอม  58170012
น.ส นันทพร จันหอม 58170012
 
Rs2 55670193 พัชรภรณ์ สายน้ำ_3301
Rs2 55670193 พัชรภรณ์ สายน้ำ_3301Rs2 55670193 พัชรภรณ์ สายน้ำ_3301
Rs2 55670193 พัชรภรณ์ สายน้ำ_3301
 
Captureหลักกกกก
CaptureหลักกกกกCaptureหลักกกกก
Captureหลักกกกก
 
Captureหลักกกกก
CaptureหลักกกกกCaptureหลักกกกก
Captureหลักกกกก
 
Captureหลักกกกก
CaptureหลักกกกกCaptureหลักกกกก
Captureหลักกกกก
 
Captureหลักกกกก
CaptureหลักกกกกCaptureหลักกกกก
Captureหลักกกกก
 
Photoshop lab1
Photoshop lab1Photoshop lab1
Photoshop lab1
 
Captureหลักกกกก
CaptureหลักกกกกCaptureหลักกกกก
Captureหลักกกกก
 

More from Bongkotporn Jachernram

คู่มือJavascript and Python
คู่มือJavascript and Pythonคู่มือJavascript and Python
คู่มือJavascript and PythonBongkotporn Jachernram
 
Matlab นางสาว-อุษณีย์-อาทรกิจวัฒน์-58670427
Matlab นางสาว-อุษณีย์-อาทรกิจวัฒน์-58670427Matlab นางสาว-อุษณีย์-อาทรกิจวัฒน์-58670427
Matlab นางสาว-อุษณีย์-อาทรกิจวัฒน์-58670427Bongkotporn Jachernram
 
Matlab นางสาว-สุนิษา-คงงาม-58670054
Matlab นางสาว-สุนิษา-คงงาม-58670054Matlab นางสาว-สุนิษา-คงงาม-58670054
Matlab นางสาว-สุนิษา-คงงาม-58670054Bongkotporn Jachernram
 
Matlab นางสาว-นิรชา-ป้อมคำ-58670095-3305
Matlab นางสาว-นิรชา-ป้อมคำ-58670095-3305Matlab นางสาว-นิรชา-ป้อมคำ-58670095-3305
Matlab นางสาว-นิรชา-ป้อมคำ-58670095-3305Bongkotporn Jachernram
 
Matlab นางสาว-ณัฐกานต์-การปลูก-58670013-3305
Matlab นางสาว-ณัฐกานต์-การปลูก-58670013-3305Matlab นางสาว-ณัฐกานต์-การปลูก-58670013-3305
Matlab นางสาว-ณัฐกานต์-การปลูก-58670013-3305Bongkotporn Jachernram
 
Matlab นางสาว-จินตนา-ปิ่นกุล-58670003-3305
Matlab นางสาว-จินตนา-ปิ่นกุล-58670003-3305Matlab นางสาว-จินตนา-ปิ่นกุล-58670003-3305
Matlab นางสาว-จินตนา-ปิ่นกุล-58670003-3305Bongkotporn Jachernram
 

More from Bongkotporn Jachernram (14)

คู่มือ58170016
คู่มือ58170016คู่มือ58170016
คู่มือ58170016
 
คู่มือ58170028
คู่มือ58170028คู่มือ58170028
คู่มือ58170028
 
คู่มือ58170038
คู่มือ58170038คู่มือ58170038
คู่มือ58170038
 
คู่มือJavascript and Python
คู่มือJavascript and Pythonคู่มือJavascript and Python
คู่มือJavascript and Python
 
55670150
5567015055670150
55670150
 
Matlab
MatlabMatlab
Matlab
 
58170130 math-lab
58170130 math-lab58170130 math-lab
58170130 math-lab
 
Matlab นางสาว-อุษณีย์-อาทรกิจวัฒน์-58670427
Matlab นางสาว-อุษณีย์-อาทรกิจวัฒน์-58670427Matlab นางสาว-อุษณีย์-อาทรกิจวัฒน์-58670427
Matlab นางสาว-อุษณีย์-อาทรกิจวัฒน์-58670427
 
Matlab นางสาว-สุนิษา-คงงาม-58670054
Matlab นางสาว-สุนิษา-คงงาม-58670054Matlab นางสาว-สุนิษา-คงงาม-58670054
Matlab นางสาว-สุนิษา-คงงาม-58670054
 
Matlab นางสาว-นิรชา-ป้อมคำ-58670095-3305
Matlab นางสาว-นิรชา-ป้อมคำ-58670095-3305Matlab นางสาว-นิรชา-ป้อมคำ-58670095-3305
Matlab นางสาว-นิรชา-ป้อมคำ-58670095-3305
 
Matlab นางสาว-ณัฐกานต์-การปลูก-58670013-3305
Matlab นางสาว-ณัฐกานต์-การปลูก-58670013-3305Matlab นางสาว-ณัฐกานต์-การปลูก-58670013-3305
Matlab นางสาว-ณัฐกานต์-การปลูก-58670013-3305
 
Matlab นางสาว-จินตนา-ปิ่นกุล-58670003-3305
Matlab นางสาว-จินตนา-ปิ่นกุล-58670003-3305Matlab นางสาว-จินตนา-ปิ่นกุล-58670003-3305
Matlab นางสาว-จินตนา-ปิ่นกุล-58670003-3305
 
55670150
5567015055670150
55670150
 
58170038
5817003858170038
58170038
 

คู่มือ58170087