SlideShare a Scribd company logo
๒
กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน
ตามยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข
ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗
๑. หลักการและเหตุผล
ระบบติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข
ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ได้กําหนดกรอบการติดตามและประเมินผลภายใต้ ๘ เป้าหมายการให้บริการ
กระทรวง และ ๑๑ ยุทธศาสตร์กระทรวง โดยบูรณาการงานติดตามประเมินผลในระดับกระทรวงให้สะท้อน
ผลสําเร็จทั้งในระดับผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบที่ส่งผลถึงประชาชนได้อย่างเป็นรูปธรรม ตามเป้าหมาย
ยุทธศาสตร์ระดับกระทรวงและระดับชาติ เพื่อให้ได้ข้อมูลสารสนเทศด้านประเมินผล ที่สามารถนําไปใช้ประโยชน์
ในการแก้ไขปัญหาอุปสรรคการดําเนินงาน หรือการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดและเป้าหมาย กลยุทธหลัก
รวมถึงการปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานให้มีความเหมาะสม ตลอดจนเพื่อให้สอดรับกับ
กระบวนการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ ในการที่จะต้องมีการทบทวนและกําหนด
เป้าหมายการให้บริการ ผลผลิตของหน่วยงาน โดยการพิจารณาผลการดําเนินงานที่ผ่านมาของหน่วยงาน เพื่อใช้
เป็นข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ที่สําคัญสําหรับเป็นทิศทางให้หน่วยงานนําไปจัดทําแผนปฏิบัติราชการประจําปีต่อไป
๒. วัตถุประสงค์
เพื่อพัฒนาระบบและกลไกการติดตามและประเมินผลตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวง
สาธารณสุข ให้มีฐานข้อมูลสารสนเทศเชิงยุทธศาสตร์ที่สะท้อนผลสําเร็จทุกระดับ สําหรับใช้เป็นข้อมูลประกอบการ
ตัดสินใจของผู้บริหารระดับกระทรวงต่อการปรับเปลี่ยนนโยบายและยุทธศาสตร์การดําเนินงานให้เหมาะสมใน
ระยะต่อไป และเป็นทิศทางให้หน่วยงานนําไปเป็นข้อมูลประกอบการจัดทําคําของบประมาณ และจัดทํา
แผนปฏิบัติราชการประจําปีให้สอดคล้องกับแผนบริหารราชการแผ่นดิน ตลอดจนนําเสนอข้อมูลต่อหน่วยงานกลาง
เพื่อประมวลผลการประเมินในระดับประเทศต่อไป
๓. แนวคิดการติดตามและประเมินผล
๓.๑ ระบบและกลไกการติดตามและประเมินผล ยึดหลักการกระจายอํานาจ โดยสนับสนุนให้ใช้กลไก
การบริหารงาน ซึ่งมีหัวหน้ากลุ่มภารกิจ (รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข) และอธิบดี เป็นผู้มีอํานาจและบทบาท
อย่างเต็มที่ในการบริหารกลยุทธ์และรับผิดชอบติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามกลยุทธ์ที่ตนรับผิดชอบ
โดยสํานักนโยบายและยุทธศาสตร์ เป็นผู้วิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปในภาพรวมของกระทรวงสาธารณสุขเพื่อให้
ข้อเสนอต่อผู้บริหารในการปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์การดําเนินงาน และนําเสนอรายงานต่อหน่วยงานกลางเพื่อ
๓
ประมวลผลการประเมินในระดับประเทศต่อไป
๓.๒ ขอบเขตการบูรณาการงานติดตามและประเมินผลในระดับกระทรวง กําหนดระดับความสําเร็จ
เป็น ๓ ระดับ ได้แก่ ระดับผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบที่ส่งผลถึงประชาชน ตามภาระความรับผิดชอบของ
หน่วยงาน ตั้งแต่ระดับกรม ระดับกระทรวงและระดับชาติ โดยเชื่อมโยงระดับความสําเร็จและภาระรับผิดชอบ
ดังนี้
๑) ระดับผลผลิต เป็นการประเมินผลสําเร็จของโครงการสําคัญที่เป็นเงื่อนไขความสําเร็จของ
เป้าหมายนโยบายและยุทธศาสตร์ระดับกระทรวง ซึ่งเป็นการบูรณาการผลสําเร็จของหน่วยงานตั้งแต่ระดับ
จังหวัด/ศูนย์เขตในสังกัด กอง จนถึงระดับกรม /สํานักงาน/สถาบัน
๒) ระดับผลลัพธ์ เป็นการประเมินผลสําเร็จตามเป้าหมายยุทธศาสตร์และนโยบายระดับกระทรวง
ซึ่งเป็นการบูรณาการผลสําเร็จของหน่วยงานตั้งแต่ระดับกรม /สํานักงาน/สถาบัน จนถึงระดับกระทรวง
๓) ระดับผลกระทบ เป็นการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ ของนโยบายและยุทธศาสตร์
กระทรวง ซึ่งเป็นการบูรณาการผลสําเร็จของหน่วยงานตั้งแต่ระดับกระทรวง จนถึงระดับชาติ
๓.๓ กระบวนการนําส่งผลผลิตตามภาระความรับผิดชอบของหน่วยงาน มีความเชื่อมโยงกันในแต่ละ
ระดับ ดังนี้
๑) ความสําเร็จของแผนงาน / โครงการ / เป้าหมายผลผลิตในระดับโครงการ เป็นภาระ
รับผิดชอบของหน่วยงานระดับสํานัก/กอง ในการบูรณาการผลสําเร็จของการดําเนินงานในระดับจังหวัด/ศูนย์เขต
ในสังกัด
๒) ความสําเร็จของเป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน/กลยุทธ์หน่วยงาน เป็นภาระรับผิดชอบของ
หน่วยงานระดับกรม /สํานักงาน/สถาบัน ในการบูรณาการผลสําเร็จของการดําเนินงานในระดับสํานัก/กอง
๓) ความสําเร็จของเป้าหมายการให้บริการกระทรวง/ยุทธศาสตร์กระทรวง เป็นภาระรับผิดชอบ
ของหน่วยงานระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ ในการบูรณาการผลสําเร็จของการดําเนินงานในระดับกรม /
สํานักงาน/สถาบัน โดยมีสํานักนโยบายและยุทธศาสตร์ เป็นหน่วยติดตามประเมินผลระดับกระทรวง
๔) ความสําเร็จของเป้าหมายยุทธศาสตร์ระดับชาติ เป็นภาระรับผิดชอบของหน่วยงานระดับ
ได้แก่ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สํานัก
เลขาธิการนายกรัฐมนตรี สํานักงบประมาณ ในการบูรณาการผลสําเร็จของการดําเนินงานในระดับกระทรวง
โดยระบบและกลไกการติดตามประเมินผล ขอบเขตและความเชื่อมโยงของระดับความสําเร็จและ
กระบวนการนําส่งผลผลิต แสดงดังแผนภูมิที่ ๑ กรอบแนวคิดการติดตามและประเมินผลของกระทรวง
สาธารณสุข
๔
ติดตามประเมินผล
ระดับกระทรวง
ระดับกลุ่มภารกิจ/กรม
ระดับกอง/สํานัก
จังหวัด/ภูมิภาค
รมว./ปลัดกระทรวง
เลขาธิการ/อธิบดี
กรม
ผอ.กอง/สํานัก
ศูนย์เขต/สสจ.
สํานักโยบายและ
ยุทธศาสตร์
หน่วยติดตามประเมินผล
ของกระทรวง สธ
กองแผนงานและกอง
วิชาการของกรม
กลุ่มแผนงานของ
กอง/สํานัก
หน่วยแผนงาน
ศูนย์เขต/สสจ.
โครงการสําคัญ
- ส่งผลสําเร็จต่อเป้า
หมายยุทธศาสตร/
นโยบาย กระทรวง
- นวัตกรรมใหม่
- โครงการต่อเนื่อง
ผลกระทบ
ผลลัพธ์
สถานะสุขภาพ
ผลผลิต
นโยบายรัฐบาล/แผน
การบริหารราชการแผ่นดิน
เป้าหมายนโยบาย/
ยุทธศาสตร์
ระดับกระทรวง
/
หน่วยงานใน
กํากับ
กระทรวง
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ. ๒๕๕๕
แผนบริหารราชการ/
ปฏิบัติราชการกระทรวง
พรบ.สุขภาพแห่งชาติ
แผนปฏิบัติราชการ
กระทรวง
สํานักงาน
ปลัดกระทรวง
เป้าหมาย/ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ระดับชาติ
(หมวด ๕ แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ)
แผนพัฒนาสุขภาพ
แห่งชาติ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ
นโยบาย/ยุทธศาสตร์
ระดับกระทรวง
การนํานโยบาย/ยุทธศาสตร์
สู่การปฏิบัติ
กรอบการประเมินผล
ระบบติดตามประเมินผล
ระดับกระทรวง
ติดตามประเมินผล
เรงดวน : รายเดือน
ปกติ : รายไตรมาส
คณะรัฐมนตรี
องค์กรการประเมิน
ระดับชาติ
สศช.
สลค.
สลน.
สงป.
เร่งรัด แก้ไขปัญหา
ปรับปรุง ทบทวนนโยบายและยุทธศาสตร์
ข้อมูลประกอบการพิจารณาจัดสรรงบประมาณ
ผลการประเมิน
ภาพรวมกระทรวง
แผนภูมิที่ ๑ กรอบการติดตามและประเมินผลของกระทรวงสาธารณสุข
ที่มา: กลุ่มภารกิจด้านประเมินผล สํานักนโยบายและยุทธศาสตร์
๕
๔. แนวทางการจัดทําระบบรายงานการติดตามและประเมินผล
๔.๑ การจัดทําแผนติดตามและประเมินผลการดําเนินงานโครงการสําคัญตามยุทธศาสตร์กระทรวง
สาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗
แนวทางการจัดทําแผนติดตามประเมินผลการดําเนินงานโครงการสําคัญตามยุทธศาสตร์ของกระทรวง
สาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ กําหนดไว้ ดังนี้
๑. กําหนดประเด็นหลักของการติดตามและประเมินผลให้ตอบสนองและเชื่อมโยงกับนโยบายและ
ยุทธศาสตร์ระดับกระทรวงและระดับชาติ ดังนี้
๑) สอดคล้องกับ ๘ เป้าหมายการให้บริการของกระทรวงสาธารณสุข และ ๑๑ ยุทธศาสตร์ของ
กระทรวงสาธารณสุข
๒) แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๐) แผนปฏิบัติราชการประจําปี พ.ศ. ๒๕๕๗
กระทรวงสาธารณสุข
๓) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
๒. กําหนดโครงการสําคัญของหน่วยงานเพื่อบรรจุเป็นแผนติดตามและประเมินผลของกระทรวง
สาธารณสุข โดยหน่วยงานในระดับกรม / สํานักงาน / สํานักต่าง ๆ ในสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขและ
หน่วยงานในกํากับของกระทรวงสาธารณสุขที่เป็นเจ้าของแผนงาน/โครงการ วิเคราะห์ความสอดคล้องและ
เชื่อมโยงตามประเด็นหลักของการติดตามและประเมินผล ข้อ ๑ ข้างต้นที่กล่าวมา โดยดําเนินการคัดเลือกร่วมกับ
สํานักนโยบายและยุทธศาสตร์ ตามหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกโครงการที่จะติดตามประเมินผล ดังนี้
๑) โครงการสําคัญที่ตอบสนองต่อนโยบายและยุทธศาสตร์การดําเนินงานระดับกระทรวงและ
ระดับชาติ ตามประเด็นหลักของการติดตามและประเมินผล ข้อ ๑ ข้างต้นที่กล่าวมา
๒) โครงการสําคัญที่เป็นนวัตกรรมใหม่ ที่ส่งผลต่อการบริหารและบริการด้านสุขภาพ
๓) โครงการสําคัญที่สะท้อนภารกิจหลักของหน่วยงาน และเป็นโครงการที่ดําเนินการต่อเนื่องจาก
ปีงบประมาณก่อน และจะดําเนินการต่อเนื่องไปในปีงบประมาณถัดไป
๔) โครงการที่มีลักษณะเป็นโครงการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน
๓. กําหนดรายละเอียดของโครงการสําคัญตามแผนติดตามและประเมินผล ประกอบด้วยชื่อโครงการ
ความสําคัญและที่มาของโครงการ /วัตถุประสงค์ กรอบแนวคิดการดําเนินงานโครงการ ตัวชี้วัด / ค่าเป้าหมาย
ของผลผลิตและผลลัพธ์ ขั้นตอนการดําเนินงาน / กิจกรรม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ หน่วยงาน
รับผิดชอบ
๖
๔.๒ รูปแบบการจัดทํารายงานติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน กําหนดให้สอดคล้องกับกรอบ
แนวคิด ฯ โดยจําแนกเป็น ๒ ระดับ ดังนี้
๑) การติดตามผลการดําเนินงาน (Monitoring) ในที่นี้หมายถึง การกํากับติดตาม
ความก้าวหน้าของการดําเนินงานโครงการสําคัญตามยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข ภายใต้แผนปฏิบัติ
ราชการประจําปี ให้เป็นไปตามเป้าหมายของแผนการดําเนินงานและระยะเวลาที่กําหนด (Project Schedule)
โดยวิเคราะห์ตั้งแต่การใช้ปัจจัยนําเข้า (Input) กิจกรรม/ขั้นตอนการดําเนินงาน (Process) และผลผลิตที่เกิดขึ้น
(Output) ตลอดจนปัญหาอุปสรรค เพื่อจัดทําข้อมูลรายงานผลการดําเนินงาน ฯ นําเสนอต่อหน่วยติดตามและ
ประเมินผลระดับชาติ ได้แก่ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตลอดจนนําเสนอผู้บริหารภายในหน่วยงาน เพื่อประกอบการตัดสินใจแก้ไขปรับปรุง
วิธีการปฏิบัติให้ผลงานเป็นไปตามแผนงานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
๒) การประเมินผลการดําเนินงาน (Evaluation) ในที่นี้หมายถึง การวิเคราะห์สรุปผลการ
ดําเนินงาน เพื่ออธิบายถึงระดับความสําเร็จของการดําเนินงาน (result) ต่อการบรรลุวัตถุประสงค์และ
เป้าประสงค์ที่กําหนดในระดับนโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข ตลอดจนการวิเคราะห์ หา
ปัจจัย หรือกระบวนการสําคัญ ที่ส่งผลหรือมีอิทธิพลต่อการบรรลุและไม่บรรลุเป้าหมาย เพื่อนําไปสู่การจัดทํา
ข้อเสนอแนวทางการพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ต่อไป
๓) ระยะเวลาการติดตามและประเมินผล
กําหนดการรายงานเป็น ๓ ระยะ คือ การรายงานรอบ ๖ เดือน ๙ เดือน และรอบ ๑
ปีงบประมาณ โดยสํานักนโยบายและยุทธศาสตร์ดําเนินการประมวลผลและวิเคราะห์ผลภาพรวมของกระทรวง
ดังนี้
รอบที่ ๑: ไตรมาส ๒ รอบ ๖ เดือนปีงบประมาณ
รอบที่ ๒: ไตรมาส ๓ รอบ ๙ เดือนปีงบประมาณ
รอบที่ ๓: ไตรมาส ๔ รอบ ๑ ปีงบประมาณ

More Related Content

Viewers also liked

สอบครูดอทคอม(อ.บวร) แนวข้อสอบพนักงานราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไป
สอบครูดอทคอม(อ.บวร) แนวข้อสอบพนักงานราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไปสอบครูดอทคอม(อ.บวร) แนวข้อสอบพนักงานราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไป
สอบครูดอทคอม(อ.บวร) แนวข้อสอบพนักงานราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไป
สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยSuriyawaranya Asatthasonthi
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
ปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)peter dontoom
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
ประพันธ์ เวารัมย์
 

Viewers also liked (8)

สอบครูดอทคอม(อ.บวร) แนวข้อสอบพนักงานราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไป
สอบครูดอทคอม(อ.บวร) แนวข้อสอบพนักงานราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไปสอบครูดอทคอม(อ.บวร) แนวข้อสอบพนักงานราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไป
สอบครูดอทคอม(อ.บวร) แนวข้อสอบพนักงานราชการ ความรู้ความสามารถทั่วไป
 
แนวข้อสอบภาษาไทย
แนวข้อสอบภาษาไทยแนวข้อสอบภาษาไทย
แนวข้อสอบภาษาไทย
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
 
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
แนวข้อสอบความรู้ความสามารถทั่วไป 120 ข้อ (สอบครูดอทคอม ติวสอบครูผู้ช่วย)
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
 

Similar to 5.กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล

แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕dentalfund
 
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
Utai Sukviwatsirikul
 
รายงานผลการดำเนินการป้องกันทุจริต
รายงานผลการดำเนินการป้องกันทุจริตรายงานผลการดำเนินการป้องกันทุจริต
รายงานผลการดำเนินการป้องกันทุจริต
Watcharasak Chantong
 
Thai Research Policy # 8
Thai Research Policy # 8Thai Research Policy # 8
Thai Research Policy # 8
Boonlert Aroonpiboon
 
01 1
01 101 1
แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กระทรวงศึกษาธิการแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กระทรวงศึกษาธิการ
สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
แผนพัฒนา 3 ปี เทศบาลเมืองบุรีรัมย์ - Buriram World มหานครอีสานใต้ เซราะกราวออ...
แผนพัฒนา 3 ปี เทศบาลเมืองบุรีรัมย์ - Buriram World มหานครอีสานใต้ เซราะกราวออ...แผนพัฒนา 3 ปี เทศบาลเมืองบุรีรัมย์ - Buriram World มหานครอีสานใต้ เซราะกราวออ...
แผนพัฒนา 3 ปี เทศบาลเมืองบุรีรัมย์ - Buriram World มหานครอีสานใต้ เซราะกราวออ...
บุรีรัมย์ เวิลด์
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Tang Thowr
 
สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 - 2558
สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 -  2558สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 -  2558
สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 - 2558
Utai Sukviwatsirikul
 
Transformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandTransformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailand
Pattie Pattie
 
NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552NSTDA Plan 2552
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_commentเล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
Kitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์0884045430
 
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณการบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
WeIvy View
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2
reraisararat
 
แผนการปฎิบัติราชการ
แผนการปฎิบัติราชการแผนการปฎิบัติราชการ
แผนการปฎิบัติราชการ
jax jaxguitar
 
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 

Similar to 5.กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล (20)

แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
 
NSTDA-Plan-2561
NSTDA-Plan-2561NSTDA-Plan-2561
NSTDA-Plan-2561
 
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
 
รายงานผลการดำเนินการป้องกันทุจริต
รายงานผลการดำเนินการป้องกันทุจริตรายงานผลการดำเนินการป้องกันทุจริต
รายงานผลการดำเนินการป้องกันทุจริต
 
Thai Research Policy # 8
Thai Research Policy # 8Thai Research Policy # 8
Thai Research Policy # 8
 
01 1
01 101 1
01 1
 
แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กระทรวงศึกษาธิการแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กระทรวงศึกษาธิการ
แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 กระทรวงศึกษาธิการ
 
แผนพัฒนา 3 ปี เทศบาลเมืองบุรีรัมย์ - Buriram World มหานครอีสานใต้ เซราะกราวออ...
แผนพัฒนา 3 ปี เทศบาลเมืองบุรีรัมย์ - Buriram World มหานครอีสานใต้ เซราะกราวออ...แผนพัฒนา 3 ปี เทศบาลเมืองบุรีรัมย์ - Buriram World มหานครอีสานใต้ เซราะกราวออ...
แผนพัฒนา 3 ปี เทศบาลเมืองบุรีรัมย์ - Buriram World มหานครอีสานใต้ เซราะกราวออ...
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
 
สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 - 2558
สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 -  2558สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 -  2558
สถิติสาขาสุขภาพทางการของประเทศไทย 2557 - 2558
 
Transformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailandTransformation to hi value and sustainable thailand
Transformation to hi value and sustainable thailand
 
NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552
 
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_commentเล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
เล่ม (ร่าง) แผนจัดการมลพิษ ปี 66-70 (22ส.ค.65)_comment
 
แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์แผนยุทธศาสตร์
แผนยุทธศาสตร์
 
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณการบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
 
Orchid export strategy
Orchid export strategyOrchid export strategy
Orchid export strategy
 
551212 moph policy
551212 moph policy551212 moph policy
551212 moph policy
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2
 
แผนการปฎิบัติราชการ
แผนการปฎิบัติราชการแผนการปฎิบัติราชการ
แผนการปฎิบัติราชการ
 
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
แผนปฏิบัติราชการกระทรวงศึกษาธิการปีงบประมาณ 2560
 

5.กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผล

  • 1. ๒ กรอบแนวทางการติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน ตามยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ๑. หลักการและเหตุผล ระบบติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ได้กําหนดกรอบการติดตามและประเมินผลภายใต้ ๘ เป้าหมายการให้บริการ กระทรวง และ ๑๑ ยุทธศาสตร์กระทรวง โดยบูรณาการงานติดตามประเมินผลในระดับกระทรวงให้สะท้อน ผลสําเร็จทั้งในระดับผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบที่ส่งผลถึงประชาชนได้อย่างเป็นรูปธรรม ตามเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ระดับกระทรวงและระดับชาติ เพื่อให้ได้ข้อมูลสารสนเทศด้านประเมินผล ที่สามารถนําไปใช้ประโยชน์ ในการแก้ไขปัญหาอุปสรรคการดําเนินงาน หรือการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดและเป้าหมาย กลยุทธหลัก รวมถึงการปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานให้มีความเหมาะสม ตลอดจนเพื่อให้สอดรับกับ กระบวนการบริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ ในการที่จะต้องมีการทบทวนและกําหนด เป้าหมายการให้บริการ ผลผลิตของหน่วยงาน โดยการพิจารณาผลการดําเนินงานที่ผ่านมาของหน่วยงาน เพื่อใช้ เป็นข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ที่สําคัญสําหรับเป็นทิศทางให้หน่วยงานนําไปจัดทําแผนปฏิบัติราชการประจําปีต่อไป ๒. วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบและกลไกการติดตามและประเมินผลตามนโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวง สาธารณสุข ให้มีฐานข้อมูลสารสนเทศเชิงยุทธศาสตร์ที่สะท้อนผลสําเร็จทุกระดับ สําหรับใช้เป็นข้อมูลประกอบการ ตัดสินใจของผู้บริหารระดับกระทรวงต่อการปรับเปลี่ยนนโยบายและยุทธศาสตร์การดําเนินงานให้เหมาะสมใน ระยะต่อไป และเป็นทิศทางให้หน่วยงานนําไปเป็นข้อมูลประกอบการจัดทําคําของบประมาณ และจัดทํา แผนปฏิบัติราชการประจําปีให้สอดคล้องกับแผนบริหารราชการแผ่นดิน ตลอดจนนําเสนอข้อมูลต่อหน่วยงานกลาง เพื่อประมวลผลการประเมินในระดับประเทศต่อไป ๓. แนวคิดการติดตามและประเมินผล ๓.๑ ระบบและกลไกการติดตามและประเมินผล ยึดหลักการกระจายอํานาจ โดยสนับสนุนให้ใช้กลไก การบริหารงาน ซึ่งมีหัวหน้ากลุ่มภารกิจ (รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข) และอธิบดี เป็นผู้มีอํานาจและบทบาท อย่างเต็มที่ในการบริหารกลยุทธ์และรับผิดชอบติดตามและประเมินผลการดําเนินงานตามกลยุทธ์ที่ตนรับผิดชอบ โดยสํานักนโยบายและยุทธศาสตร์ เป็นผู้วิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปในภาพรวมของกระทรวงสาธารณสุขเพื่อให้ ข้อเสนอต่อผู้บริหารในการปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์การดําเนินงาน และนําเสนอรายงานต่อหน่วยงานกลางเพื่อ
  • 2. ๓ ประมวลผลการประเมินในระดับประเทศต่อไป ๓.๒ ขอบเขตการบูรณาการงานติดตามและประเมินผลในระดับกระทรวง กําหนดระดับความสําเร็จ เป็น ๓ ระดับ ได้แก่ ระดับผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบที่ส่งผลถึงประชาชน ตามภาระความรับผิดชอบของ หน่วยงาน ตั้งแต่ระดับกรม ระดับกระทรวงและระดับชาติ โดยเชื่อมโยงระดับความสําเร็จและภาระรับผิดชอบ ดังนี้ ๑) ระดับผลผลิต เป็นการประเมินผลสําเร็จของโครงการสําคัญที่เป็นเงื่อนไขความสําเร็จของ เป้าหมายนโยบายและยุทธศาสตร์ระดับกระทรวง ซึ่งเป็นการบูรณาการผลสําเร็จของหน่วยงานตั้งแต่ระดับ จังหวัด/ศูนย์เขตในสังกัด กอง จนถึงระดับกรม /สํานักงาน/สถาบัน ๒) ระดับผลลัพธ์ เป็นการประเมินผลสําเร็จตามเป้าหมายยุทธศาสตร์และนโยบายระดับกระทรวง ซึ่งเป็นการบูรณาการผลสําเร็จของหน่วยงานตั้งแต่ระดับกรม /สํานักงาน/สถาบัน จนถึงระดับกระทรวง ๓) ระดับผลกระทบ เป็นการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ ของนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวง ซึ่งเป็นการบูรณาการผลสําเร็จของหน่วยงานตั้งแต่ระดับกระทรวง จนถึงระดับชาติ ๓.๓ กระบวนการนําส่งผลผลิตตามภาระความรับผิดชอบของหน่วยงาน มีความเชื่อมโยงกันในแต่ละ ระดับ ดังนี้ ๑) ความสําเร็จของแผนงาน / โครงการ / เป้าหมายผลผลิตในระดับโครงการ เป็นภาระ รับผิดชอบของหน่วยงานระดับสํานัก/กอง ในการบูรณาการผลสําเร็จของการดําเนินงานในระดับจังหวัด/ศูนย์เขต ในสังกัด ๒) ความสําเร็จของเป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน/กลยุทธ์หน่วยงาน เป็นภาระรับผิดชอบของ หน่วยงานระดับกรม /สํานักงาน/สถาบัน ในการบูรณาการผลสําเร็จของการดําเนินงานในระดับสํานัก/กอง ๓) ความสําเร็จของเป้าหมายการให้บริการกระทรวง/ยุทธศาสตร์กระทรวง เป็นภาระรับผิดชอบ ของหน่วยงานระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ ในการบูรณาการผลสําเร็จของการดําเนินงานในระดับกรม / สํานักงาน/สถาบัน โดยมีสํานักนโยบายและยุทธศาสตร์ เป็นหน่วยติดตามประเมินผลระดับกระทรวง ๔) ความสําเร็จของเป้าหมายยุทธศาสตร์ระดับชาติ เป็นภาระรับผิดชอบของหน่วยงานระดับ ได้แก่ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สํานัก เลขาธิการนายกรัฐมนตรี สํานักงบประมาณ ในการบูรณาการผลสําเร็จของการดําเนินงานในระดับกระทรวง โดยระบบและกลไกการติดตามประเมินผล ขอบเขตและความเชื่อมโยงของระดับความสําเร็จและ กระบวนการนําส่งผลผลิต แสดงดังแผนภูมิที่ ๑ กรอบแนวคิดการติดตามและประเมินผลของกระทรวง สาธารณสุข
  • 3. ๔ ติดตามประเมินผล ระดับกระทรวง ระดับกลุ่มภารกิจ/กรม ระดับกอง/สํานัก จังหวัด/ภูมิภาค รมว./ปลัดกระทรวง เลขาธิการ/อธิบดี กรม ผอ.กอง/สํานัก ศูนย์เขต/สสจ. สํานักโยบายและ ยุทธศาสตร์ หน่วยติดตามประเมินผล ของกระทรวง สธ กองแผนงานและกอง วิชาการของกรม กลุ่มแผนงานของ กอง/สํานัก หน่วยแผนงาน ศูนย์เขต/สสจ. โครงการสําคัญ - ส่งผลสําเร็จต่อเป้า หมายยุทธศาสตร/ นโยบาย กระทรวง - นวัตกรรมใหม่ - โครงการต่อเนื่อง ผลกระทบ ผลลัพธ์ สถานะสุขภาพ ผลผลิต นโยบายรัฐบาล/แผน การบริหารราชการแผ่นดิน เป้าหมายนโยบาย/ ยุทธศาสตร์ ระดับกระทรวง / หน่วยงานใน กํากับ กระทรวง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๕ แผนบริหารราชการ/ ปฏิบัติราชการกระทรวง พรบ.สุขภาพแห่งชาติ แผนปฏิบัติราชการ กระทรวง สํานักงาน ปลัดกระทรวง เป้าหมาย/ยุทธศาสตร์การพัฒนา ระดับชาติ (หมวด ๕ แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ) แผนพัฒนาสุขภาพ แห่งชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ นโยบาย/ยุทธศาสตร์ ระดับกระทรวง การนํานโยบาย/ยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ กรอบการประเมินผล ระบบติดตามประเมินผล ระดับกระทรวง ติดตามประเมินผล เรงดวน : รายเดือน ปกติ : รายไตรมาส คณะรัฐมนตรี องค์กรการประเมิน ระดับชาติ สศช. สลค. สลน. สงป. เร่งรัด แก้ไขปัญหา ปรับปรุง ทบทวนนโยบายและยุทธศาสตร์ ข้อมูลประกอบการพิจารณาจัดสรรงบประมาณ ผลการประเมิน ภาพรวมกระทรวง แผนภูมิที่ ๑ กรอบการติดตามและประเมินผลของกระทรวงสาธารณสุข ที่มา: กลุ่มภารกิจด้านประเมินผล สํานักนโยบายและยุทธศาสตร์
  • 4. ๕ ๔. แนวทางการจัดทําระบบรายงานการติดตามและประเมินผล ๔.๑ การจัดทําแผนติดตามและประเมินผลการดําเนินงานโครงการสําคัญตามยุทธศาสตร์กระทรวง สาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ แนวทางการจัดทําแผนติดตามประเมินผลการดําเนินงานโครงการสําคัญตามยุทธศาสตร์ของกระทรวง สาธารณสุข ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ กําหนดไว้ ดังนี้ ๑. กําหนดประเด็นหลักของการติดตามและประเมินผลให้ตอบสนองและเชื่อมโยงกับนโยบายและ ยุทธศาสตร์ระดับกระทรวงและระดับชาติ ดังนี้ ๑) สอดคล้องกับ ๘ เป้าหมายการให้บริการของกระทรวงสาธารณสุข และ ๑๑ ยุทธศาสตร์ของ กระทรวงสาธารณสุข ๒) แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๐) แผนปฏิบัติราชการประจําปี พ.ศ. ๒๕๕๗ กระทรวงสาธารณสุข ๓) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) ๒. กําหนดโครงการสําคัญของหน่วยงานเพื่อบรรจุเป็นแผนติดตามและประเมินผลของกระทรวง สาธารณสุข โดยหน่วยงานในระดับกรม / สํานักงาน / สํานักต่าง ๆ ในสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขและ หน่วยงานในกํากับของกระทรวงสาธารณสุขที่เป็นเจ้าของแผนงาน/โครงการ วิเคราะห์ความสอดคล้องและ เชื่อมโยงตามประเด็นหลักของการติดตามและประเมินผล ข้อ ๑ ข้างต้นที่กล่าวมา โดยดําเนินการคัดเลือกร่วมกับ สํานักนโยบายและยุทธศาสตร์ ตามหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกโครงการที่จะติดตามประเมินผล ดังนี้ ๑) โครงการสําคัญที่ตอบสนองต่อนโยบายและยุทธศาสตร์การดําเนินงานระดับกระทรวงและ ระดับชาติ ตามประเด็นหลักของการติดตามและประเมินผล ข้อ ๑ ข้างต้นที่กล่าวมา ๒) โครงการสําคัญที่เป็นนวัตกรรมใหม่ ที่ส่งผลต่อการบริหารและบริการด้านสุขภาพ ๓) โครงการสําคัญที่สะท้อนภารกิจหลักของหน่วยงาน และเป็นโครงการที่ดําเนินการต่อเนื่องจาก ปีงบประมาณก่อน และจะดําเนินการต่อเนื่องไปในปีงบประมาณถัดไป ๔) โครงการที่มีลักษณะเป็นโครงการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน ๓. กําหนดรายละเอียดของโครงการสําคัญตามแผนติดตามและประเมินผล ประกอบด้วยชื่อโครงการ ความสําคัญและที่มาของโครงการ /วัตถุประสงค์ กรอบแนวคิดการดําเนินงานโครงการ ตัวชี้วัด / ค่าเป้าหมาย ของผลผลิตและผลลัพธ์ ขั้นตอนการดําเนินงาน / กิจกรรม พื้นที่ดําเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ หน่วยงาน รับผิดชอบ
  • 5. ๖ ๔.๒ รูปแบบการจัดทํารายงานติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน กําหนดให้สอดคล้องกับกรอบ แนวคิด ฯ โดยจําแนกเป็น ๒ ระดับ ดังนี้ ๑) การติดตามผลการดําเนินงาน (Monitoring) ในที่นี้หมายถึง การกํากับติดตาม ความก้าวหน้าของการดําเนินงานโครงการสําคัญตามยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข ภายใต้แผนปฏิบัติ ราชการประจําปี ให้เป็นไปตามเป้าหมายของแผนการดําเนินงานและระยะเวลาที่กําหนด (Project Schedule) โดยวิเคราะห์ตั้งแต่การใช้ปัจจัยนําเข้า (Input) กิจกรรม/ขั้นตอนการดําเนินงาน (Process) และผลผลิตที่เกิดขึ้น (Output) ตลอดจนปัญหาอุปสรรค เพื่อจัดทําข้อมูลรายงานผลการดําเนินงาน ฯ นําเสนอต่อหน่วยติดตามและ ประเมินผลระดับชาติ ได้แก่ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตลอดจนนําเสนอผู้บริหารภายในหน่วยงาน เพื่อประกอบการตัดสินใจแก้ไขปรับปรุง วิธีการปฏิบัติให้ผลงานเป็นไปตามแผนงานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ๒) การประเมินผลการดําเนินงาน (Evaluation) ในที่นี้หมายถึง การวิเคราะห์สรุปผลการ ดําเนินงาน เพื่ออธิบายถึงระดับความสําเร็จของการดําเนินงาน (result) ต่อการบรรลุวัตถุประสงค์และ เป้าประสงค์ที่กําหนดในระดับนโยบายและยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข ตลอดจนการวิเคราะห์ หา ปัจจัย หรือกระบวนการสําคัญ ที่ส่งผลหรือมีอิทธิพลต่อการบรรลุและไม่บรรลุเป้าหมาย เพื่อนําไปสู่การจัดทํา ข้อเสนอแนวทางการพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ต่อไป ๓) ระยะเวลาการติดตามและประเมินผล กําหนดการรายงานเป็น ๓ ระยะ คือ การรายงานรอบ ๖ เดือน ๙ เดือน และรอบ ๑ ปีงบประมาณ โดยสํานักนโยบายและยุทธศาสตร์ดําเนินการประมวลผลและวิเคราะห์ผลภาพรวมของกระทรวง ดังนี้ รอบที่ ๑: ไตรมาส ๒ รอบ ๖ เดือนปีงบประมาณ รอบที่ ๒: ไตรมาส ๓ รอบ ๙ เดือนปีงบประมาณ รอบที่ ๓: ไตรมาส ๔ รอบ ๑ ปีงบประมาณ