SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
รายงานสารสนเทศสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน
(Honest livelihood Village Report) ปี 2561
บ้านคลองอ้ายจาม หมู่ที่ 5 เทศบาลตาบลบางเตย
อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี
2
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน (สภาพทั่วไป สภาพสังคม สภาพทางเศรษฐกิจ)
- ประวัติความเป็นมา
พ.ศ. 2203 ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช สมิงเปอกับพรรคพวกมอญด้วยกัน
11 คน ได้พาครอบครัวมอญประมาณหมื่นคนอพยพหนีการกดขี่ของพม่าเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารสมเด็จ
พระนารายณ์มหาราช พระองค์ได้โปรดเกล้าฯ ให้ไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ "บ้านสามโคก" ริมฝั่งแม่น้้าเจ้าพระยา
ฝั่งตะวันตก (บริเวณระหว่างวัดต้าหนักกับวัดสะแก) ชุมชนมอญได้ขยายตัวเจริญรุ่งเรืองขึ้นตามล้าดับ จึงได้ตั้ง
เป็นเมืองขึ้นในบริเวณใกล้กับวัดสิงห์และใช้ชื่อว่า เมืองสามโคก
ปรากฏหลักฐานว่า พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พร้อมด้วยกรมพระราชวังบวร
มหาเสนารักษ์ ได้เสด็จพระราชด้าเนินมาประทับแรม ณ ที่พลับพลาริมแม่น้้าเจ้าพระยาฝั่งตะวันออกเยื้องเมือง
สามโคก (บริเวณวัดปทุมทองปัจจุบัน) ทรงรับดอกบัวหลวงจากชาวมอญที่น้ามาทูลเกล้าฯ ถวายอย่างมากมาย
และประกอบกับในครั้งนั้น เดือน 11 เป็นฤดูน้้าหลาก ดอกบัวบานสะพรั่งอยู่ทั่วไป ด้วยเหตุนี้พระบาทสมเด็จ
พระพุทธเลิศหล้านภาลัยจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามเมืองสามโคกใหม่เพื่อให้เป็นสิริมงคล
ว่า เมืองประทุมธานี และยกฐานะขึ้นเป็นหัวเมืองชั้นตรี ภายหลังเปลี่ยนการสะกดเป็น "ปทุมธานี"
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ได้ทรงตั้งเป็น อาเภอ
สามโคก ตามพระราชบัญญัติการปกครองท้องที่ ร.ศ.116 (พ.ศ. 2440) จึงได้ย้ายที่ว่าการอ้าเภอไปตั้งในที่
แห่งใหม่ที่ปากคลองบางเตยข้างเหนือริมฝั่งแม่น้้าเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก
เมื่อปี พ.ศ. 2524 นายสุนทร ศรีมาเสริม นายอ้าเภอสามโคกได้พิจารณาเห็นว่า อาคารที่ว่า
การอ้าเภอสามโคกหลังเก่าเป็นเรือนไม้ชั้นเดียวใต้ถุนสูงสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2464 มีสภาพช้ารุดทรุดโทรมและ
ตั้งอยู่ริมแม่น้้าเจ้าพระยา สถานที่คับแคบเนื่องจากถูกน้้าเซาะ ตลิ่งพังเหลือที่ดินน้อยมาก ยากแก่การป้องกัน
จึงให้ด้าเนินการย้ายไปสร้างอาคารที่ว่าการอ้าเภอในที่แห่งใหม่ซึ่งอยู่ติดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3111
(สามโคก-เสนา) เยื้องไปทางทิศใต้ในเขตต้าบลบางเตย บนเนื้อที่ 7 ไร่เศษ ซึ่งนายส้ารวย พึ่งประสิทธิ์ ผู้ว่า
ราชการจังหวัดปทุมธานี ได้เป็นประธานประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2526 ตรงกับ
วันแรม 1 ค่้า เดือน 9 ร.ศ. 201 เวลา 11.56 น.
พื้นที่บ้านคลองอ้ายจาม หมู่ ๕ ต้าบลบางเตย อยู่ในเขตเทศบาลต้าบลบางเตย
แบ่งออกเป็น ๒ ชุมชน คือ ชุมชนปู่ท็อป และชุมชนคันทรีพาร์ค ๑๔
ชุมชนปู่ท็อป เป็นชุมชนดั่งเดิม ประชากรส่วนใหญ่เป็นคนเชื้อสายชาวมอญ ประกอบอาชีพ
ดั่งเดิม ท้าอิฐและเกษตรกรรม แต่ปัจจุบันสภาพเศรษฐกิจเปลี่ยนไป ประชาชนในส่วนที่ประกอบอาชีพท้าอิฐ
เปลี่ยนมาประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น ท้านา ปลูกผัก ท้าสวนผลไม้ และปัจจุบันมีเกษตรกรบาง
ส่วนประกอบอาชีพ ปลูกดอกมะลิ ร้อยพวงมะลัยขาย การคมนาคมมีทั้งสัญจรทางเรือและทางรถยนต์
ชุมชนคันทรีพาร์ค ๑๔ เป็นชุมชนสร้างใหม่ เป็นชุมชนหลากหลายอาชีพ ประกอบด้วย
ประชาชนทั่วทุกภาคของประเทศ เข้ามาอยู่อาศัย มีประกอบอาชีพ รับราชการ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย ไม่มี
ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ลักษณะเป็นหมู่บ้านจัดสรร สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๘ เป็นหมู่บ้านจัดสรรที่ยัง
ไม่ได้ยกให้เป็นสาธารณะ เนื่องจากเจ้าของโครงการถูกฟ้องล้มละลายเมื่อวันที่ ๑๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ถึง
ปัจจุบัน เป็นเหตุให้ประชาชนในชุมชนคันทรีพาร์ค๑๔ เข้าไม่ถึงการบริการของภาครัฐ ภาครัฐเข้าช่วยเหลือ
เป็นบางอย่างที่ไม่ขัดกับกฎหมาย ประชาชนในคันทรีพาร์ค ๑๔ ต้องพึ่งพาตนเองตลอดมา
3
- จานวนประชากร
จ้านวนครัวเรือน 197 ครัวเรือน
จ้านวนประชากร 556 คน
แยกเป็น ชาย 278 คน
หญิง 314 คน
- ผู้นาชุมชน กลุ่มองค์กร อัตลักษณ์ชุมชน
๑. นายสัญญา ฐานหมั่น ผู้ใหญ่บ้าน
๒. นางบุญเลื่อน โพธิ์นอก ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
๓. นายจรูญ บุญแท้ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน
4. นายอลงกต แก้วประไพ ประธานชุมชนคันทรีพาร์ค 14
5. นายจรูญ บุญแท้ ประธานชุมชนปู่ท๊อป
6. นางกาญจนา โรจนะนาค ประธานคณะกรรมการพัฒนาสตรีหมู่บ้าน
7. นายชัยวัฒน์ หมู่เย็น สมาชิกเทศบาลต้าบลบางเตย
8. นายส้าองค์ ท้าประเทศ สมาชิกเทศบาลต้าบลบางเตย
9. คณะกรรมการหมู่บ้านคลองอ้ายจาม ประกอบด้วย
ฝ่ายบริหาร
1) นายสัญญา ฐานหมั่น ประธานฯ
2) นายจรูญ บุญแท้ รองประธานฯ
3) นายมงคลสถิต สกุลเดช เลขานุการ
4) นาย สังวร วันตาล ผู้ช่วยเลขานุการ
5) นางบุญเลื่อน โพธิ์นอก เหรัญญิก
6) น.ส ทิพวรรณ จันทรประเสริฐ ผู้ช่วยเหรัญญิก
7) นาย สมบูรณ์ ชาวล้อม ผู้ทรงคุณวุฒิ
8) นายสมพงศ์ จันทร์ประเสริฐ ผู้ทรงคุณวุฒิ
ฝ่ายปกครอง
1) นายสายพิน ธรรมรักษา
2) นายสัมฤทธิ์ ชาวล้อม
3) นายปรีชา ศรีเจริญสุข
4) นายเพรช เนินสนิท
5) นางสาวสง่า ศรีทัศน์
ฝ่ายแผนพัฒนา
1) นางแสงหล้า จิตตรีพรจ
2) นางนงเยาว์ กุลโฮง
3) นางนิตยา เบ้าสิงสวย
4) พ.ท.สัมพันธ์ อาจหาญ
5) นางธนัญญา ฉ่้ารส
4
ฝ่ายอานวยการ
1) นายค้าปอย สุวรรณโชติ
2) นายสมศักดิ์ หมุดเงิน
3) นาง อุ่นใจ ลาสุกร
4) นาง วราพร แซ่อื้อ
5) นาง รันดร ศรีไสล
ฝ่ายสาธารณสุข
1) นางกาญจนา โรจนะนาค
2) นางวาสนา นวลสุวรรณ
3) นางยงทรง แซ่อือ
4) นางมาลัย ผลงาม
5) นางสาวสมคิด บุญนิ่ม
ฝ่ายเศรษฐกิจ
1) นางปราณี รัตนถิรวรรณ
2) นายวิรัช หมู่เย็น
3) นางวิมล เชื้อสุวรรณ
4) นางสาวรุ่งนภา รื่นกลิ่น
5) นางส้ารี อ่อนตาม
ฝ่ายการศึกษา ศาสนา ประเพณี วัฒนาธรรม
1) นายสุวิทย์ ประทุม
2) นายสุภีร์ แสนบุญ
3) นางพรทิพย์ ฐานหมั่น
4) นางสุพัตรา ป้อมน้อย
5) นาย ใหญ่ แป้นแสง
จานวนกลุ่มกิจกรรม/อาชีพ
๑ คณะกรรมการหมู่บ้าน
๒ คณะกรรมการชุมชนปู่ท๊อป
๓ คณะกรรมการชุมชนคันทรีพาร์ค ๑๔
๔ คณะกรรมการพัฒนาสตรีระดับหมู่บ้าน (กพสม.)
๕ คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านคลองอ้ายจาม
๖ คณะกรรมการกองทุนพัฒนาต้าบทบาทสตรีต้าบลบางเตย
๗ ผู้น้าอาสาพัฒนาชุมชน (ผู้น้า อช.)
๘ อาสาสมัครสาธารณสุขประจ้าหมู่บ้าน (อสม.)
๙ อาสาสมัครสายตรวจชุมชน (อสตช.)
๑๐ อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)
๑๑ คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดินบ้านคลองอ้ายจาม
5
๑๒ คณะกรรมการฌาปนกิจหมู่บ้าน
๑๓ ชมรมคนพิการ
๑๔ ชมรมผู้สูงอายุ
๑๕ ชมรมแอโรบิค
๑๖ ชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน (ชรบ.)
๑๐.๑๗ กลุ่มสัมมาชีพสามวัยรวมใจสามัคคี
กองทุนในหมู่บ้าน
๑ กองทุนหมู่บ้านคลองอ้ายจาม
๒ ทุนฌาปนกิจสงเคราะห์
๓ ทุนพัฒนาสวัสดิการเด็กและเยาวชน (ด้านสาธารณสุข )
๔ ทุนพัฒนาสวัสดิการผู้สูงอายุและคนพิการ
๕ ทุนพัฒนาเครื่องมือการเกษตร (ด้านเศรษฐกิจ)
๖ ทุนพัฒนาการศึกษาและการกีฬา (ด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม )
๗ ทุนอาสาป้องกันหมู่ที่ ๕ (ด้านปกครอง)
๘ ทุนด้านอ้านวยการ
๙ ทุนด้านแผนพัฒนา
๑๐ กองทุนแม่ของแผ่นดินบ้านคลองอ้ายจาม
ศาสนา และประเพณีวัฒนธรรม
ประชาชนในหมู่บ้านส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ชาวบ้านคลองอ้ายจามยังคงรักษา
วัฒนธรรมของคนไทยในชนบทอยู่ แต่เนื่องจากเป็นเมืองที่อยู่ในเขตปริมณฑลใกล้กรุงเทพมหานคร ท้าให้มี
ธุรกิจบ้านจัดสรร และโรงงานขยายตัวเข้ามาจ้านวนมาก แต่ประชาชนก็ยังคงมีวิถีชีวิตวัฒนธรรมประเพณี
แบบไทยๆ ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น คือ ประเพณีท้าบุญตักบาตรเข้าพรรษาและออกพรรษา ประเพณีวัน
สงกรานต์ ร่วมก่อพระทรายและปล่อยนกปล่อยปลา น้าน้้าหอมไปสรงน้้าพระ ขอพรจากพระ ประเพณี รดน้้า
ด้าหัวผู้สูงอายุเพื่อขออวยพร ประเพณีส่งข้าวแช่ของชาวมอญ มีประเพณีโกนจุกของชาวมอญ พุทธศาสนิกชน
บ้านคลองอ้ายจามไปท้าพิธีกรรมทางศาสนาวันพระหรือวันส้าคัญทางศาสนาที่วัดบางเตยใน ซึ่งตั้งอยู่ที่
หมู่ที่ ๗ เนื่องจากในพื้นที่ไม่มีวัด
- ผลิตภัณฑ์ชุมชนรายได้/สภาพเศรษฐกิจ
ด้านเศรษฐกิจชุมชน
๑.๑ ครัวเรือนในหมู่บ้านมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการด้ารงชีวิตตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง
๑.๒ ครัวเรือนมีการจัดท้าบัญชีรับ – จ่ายครัวเรือน
๑.๓ ครัวเรือนมีการลดรายจ่ายในครัวเรือน เช่น
การปลูกพืชผักสวนครัวไว้รับประทาน
ใช้ปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์และเศษวัชพืช/ปุ๋ยหมักจากมูลไส้เดือนแทนการใช้สารเคมี
และยาปราบศัตรูพืช
สมาชิกในครัวเรือนมีการออมเงิน เช่น ส่งเสริมให้เป็นสมาชิกกองทุนหมู่บ้าน
6
ผลิตภัณฑ์ชุมชน อาทิ น้้ายาอเนกประสงค์ พรมเช็ดเท้า การท้ากล่องอเนกประสงค์ การท้ากระเป๋าผ้า ฯลฯ
- แหล่งท่องเที่ยวและการบริการ
- ได้รับการคัดเลือกเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบเฉลิมพระเกียรติ ปี ๒๕๕๘
- หมู่บ้านมีศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดิน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
- ผ่านการประเมินผลการท้างานด้านสาธารณสุขสิ่งแวดล้อม ได้รับเกียรติบัตรชุมชนเข้มแข็งด้าน
การจัดการสิ่งแวดล้อมภายในหมู่บ้าน ตามโครงการบ้านสะอาดอนามัยดีชีวีสมบูรณ์
7
ครัวเรือนสัมมาชีพตัวอย่าง
ส่วนที่ 2 การดาเนินงานสัมมาชีพชุมชน ปี 2561
ชื่อ นายสมบูรณ์ ชาวล้อม
ที่อยู่ 66/306 หมู่ที่ 5 ต.บางเตย อ.สามโคก
จ.ปทุมธานี
วัน เดือน ปีเกิด 29 มิถุนายน 2480
ศาสนา พุทธ
จบการศึกษาขั้นสูงสุด ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
นายสมบูรณ์ ชาวล้อม เดิมเป็นชาวอุตรดิตถ์ และได้ย้ายมาอยู่จังหวัดปทุมธานี เมื่อปี พ.ศ.
2536มีสมาชิกในครัวเรือน จ้านวน 2 คน (นายสมบูรณ์ ชาวล้อม และภรรยา) มีอาชีพหลัก คือ ท้าขนมไทย
ขาย เช่น ขนมถั่วแปบ ขนมตะโก้ มีรายได้สุทธิของครัวเรือน จ้านวน 9,000 บาท มีอาชีพเสริม คือ การ
เลี้ยงไก่ และปลูกผัก
อาชีพที่ครัวเรือนได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้จากวิทยากรสัมมาชีพชุมชน คือ การเลี้ยงไก่
ไข่ และไก่บ้าน โดยมีวิทยากรสัมมาชีพชุมชน ที่ท้าหน้าที่เป็นผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านอาชีพให้กับครัวเรือน
คือ นายสัญญา ฐานหมั่น ผู้ใหญ่บ้านบ้านคลองอ้ายจาม และทีมวิทยากรสัมมาชีพ โดยใช้รูปแบบรวมกลุ่มฝัก
ปฏิบัติอาชีพ
ส้าหรับการศึกษาดูงาน ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนบ้านคลองอ้ายจาม ได้ไปศึกษาดูงานการ
เลี้ยงไก่ไข่ ณ ศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านท่าลาน หมู่ที่ 2 ต้าบลกระแชง อ้าเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี โดยมี
นายสมาน สวัสดิ์เฉลิม ประธานศูนย์เรียนรู้ฯ เป็นวิทยากรบรรยายวิธีการเลี้ยงไก่ไข่ของศูนย์เรียนรู้บ้านท่าลาน
โดยเน้นการเลี้ยงแบบใช้สมุนไพร
8
ร่วมกิจกรรมการศึกษาดูงานของหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน ที่เข้ามาศึกษาดูงาน ณ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจ
พอเพียง และเกษตรทฤษฎีใหม่ หมู่ที่ 5 บ้านคลองอ้ายจาม อ้าเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี
9
ส่วนที่ 3 รายงาน
- ภูมิสารสนเทศครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนหมู่บ้าน
- รายงานศูนย์ข้อมูลกลางครัวเรือนสัมมาชีพระดับหมู่บ้าน
- องค์ความรู้ ปราชญ์สัมมาชีพ
- กลุ่มอาชีพ (ถ้ามี)
10
ส่วนที่ 4 ภาคผนวก
การส่งเสริมอาชีพให้กับชุมชน
การท้าน้้ายาอเนกประสงค์
การท้าพรมเช็ดเท้า
การท้ากล่องอเนกประสงค์
11
การท้าขนมไทย
การท้าปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์และเศษวัชพืช/ปุ๋ยหมักจากมูลไส้เดือน
การท้ากระเป๋าผ้า
12
การท้าลูกประคบ
การท้าหมี่กรอบ
การท้าของที่ระลึก
13
การท้าสบู่
ภาพผลิตภัณฑ์ชุมชน

More Related Content

Similar to สพจ.ปทุมธานี : รายงานสารสนเทศสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน หมู่ 5 บ้านคลองอ้ายจาม

ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
ดุซงญอ ตำบล
 
พระคาถาบูชา ร๕
พระคาถาบูชา ร๕พระคาถาบูชา ร๕
พระคาถาบูชา ร๕
Sanchai San
 

Similar to สพจ.ปทุมธานี : รายงานสารสนเทศสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน หมู่ 5 บ้านคลองอ้ายจาม (14)

ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
ข้อมูลสำคัญดุซงญอ.Pdf 1
 
๒๓ พรหมชาลสูตร มจร.pdf
๒๓ พรหมชาลสูตร มจร.pdf๒๓ พรหมชาลสูตร มจร.pdf
๒๓ พรหมชาลสูตร มจร.pdf
 
ธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
ศูนย์เรียนรู้และแนวความคิดของปราชญ์ชาวบ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ศูนย์เรียนรู้และแนวความคิดของปราชญ์ชาวบ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือศูนย์เรียนรู้และแนวความคิดของปราชญ์ชาวบ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ศูนย์เรียนรู้และแนวความคิดของปราชญ์ชาวบ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 
Bioosm
BioosmBioosm
Bioosm
 
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงินเล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
 
จังหวัดนราธิวาส
จังหวัดนราธิวาสจังหวัดนราธิวาส
จังหวัดนราธิวาส
 
จังหวัดนราธิวาส501
จังหวัดนราธิวาส501จังหวัดนราธิวาส501
จังหวัดนราธิวาส501
 
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจันเล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัย
 
4
44
4
 
แต่งไทย ป.ธ. 9.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9.pdfแต่งไทย ป.ธ. 9.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9.pdf
 
พระคาถาบูชา ร๕
พระคาถาบูชา ร๕พระคาถาบูชา ร๕
พระคาถาบูชา ร๕
 

สพจ.ปทุมธานี : รายงานสารสนเทศสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน หมู่ 5 บ้านคลองอ้ายจาม

  • 1. รายงานสารสนเทศสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน (Honest livelihood Village Report) ปี 2561 บ้านคลองอ้ายจาม หมู่ที่ 5 เทศบาลตาบลบางเตย อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี
  • 2. 2 ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน (สภาพทั่วไป สภาพสังคม สภาพทางเศรษฐกิจ) - ประวัติความเป็นมา พ.ศ. 2203 ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช สมิงเปอกับพรรคพวกมอญด้วยกัน 11 คน ได้พาครอบครัวมอญประมาณหมื่นคนอพยพหนีการกดขี่ของพม่าเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารสมเด็จ พระนารายณ์มหาราช พระองค์ได้โปรดเกล้าฯ ให้ไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ "บ้านสามโคก" ริมฝั่งแม่น้้าเจ้าพระยา ฝั่งตะวันตก (บริเวณระหว่างวัดต้าหนักกับวัดสะแก) ชุมชนมอญได้ขยายตัวเจริญรุ่งเรืองขึ้นตามล้าดับ จึงได้ตั้ง เป็นเมืองขึ้นในบริเวณใกล้กับวัดสิงห์และใช้ชื่อว่า เมืองสามโคก ปรากฏหลักฐานว่า พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย พร้อมด้วยกรมพระราชวังบวร มหาเสนารักษ์ ได้เสด็จพระราชด้าเนินมาประทับแรม ณ ที่พลับพลาริมแม่น้้าเจ้าพระยาฝั่งตะวันออกเยื้องเมือง สามโคก (บริเวณวัดปทุมทองปัจจุบัน) ทรงรับดอกบัวหลวงจากชาวมอญที่น้ามาทูลเกล้าฯ ถวายอย่างมากมาย และประกอบกับในครั้งนั้น เดือน 11 เป็นฤดูน้้าหลาก ดอกบัวบานสะพรั่งอยู่ทั่วไป ด้วยเหตุนี้พระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัยจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามเมืองสามโคกใหม่เพื่อให้เป็นสิริมงคล ว่า เมืองประทุมธานี และยกฐานะขึ้นเป็นหัวเมืองชั้นตรี ภายหลังเปลี่ยนการสะกดเป็น "ปทุมธานี" ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ได้ทรงตั้งเป็น อาเภอ สามโคก ตามพระราชบัญญัติการปกครองท้องที่ ร.ศ.116 (พ.ศ. 2440) จึงได้ย้ายที่ว่าการอ้าเภอไปตั้งในที่ แห่งใหม่ที่ปากคลองบางเตยข้างเหนือริมฝั่งแม่น้้าเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก เมื่อปี พ.ศ. 2524 นายสุนทร ศรีมาเสริม นายอ้าเภอสามโคกได้พิจารณาเห็นว่า อาคารที่ว่า การอ้าเภอสามโคกหลังเก่าเป็นเรือนไม้ชั้นเดียวใต้ถุนสูงสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2464 มีสภาพช้ารุดทรุดโทรมและ ตั้งอยู่ริมแม่น้้าเจ้าพระยา สถานที่คับแคบเนื่องจากถูกน้้าเซาะ ตลิ่งพังเหลือที่ดินน้อยมาก ยากแก่การป้องกัน จึงให้ด้าเนินการย้ายไปสร้างอาคารที่ว่าการอ้าเภอในที่แห่งใหม่ซึ่งอยู่ติดกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3111 (สามโคก-เสนา) เยื้องไปทางทิศใต้ในเขตต้าบลบางเตย บนเนื้อที่ 7 ไร่เศษ ซึ่งนายส้ารวย พึ่งประสิทธิ์ ผู้ว่า ราชการจังหวัดปทุมธานี ได้เป็นประธานประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2526 ตรงกับ วันแรม 1 ค่้า เดือน 9 ร.ศ. 201 เวลา 11.56 น. พื้นที่บ้านคลองอ้ายจาม หมู่ ๕ ต้าบลบางเตย อยู่ในเขตเทศบาลต้าบลบางเตย แบ่งออกเป็น ๒ ชุมชน คือ ชุมชนปู่ท็อป และชุมชนคันทรีพาร์ค ๑๔ ชุมชนปู่ท็อป เป็นชุมชนดั่งเดิม ประชากรส่วนใหญ่เป็นคนเชื้อสายชาวมอญ ประกอบอาชีพ ดั่งเดิม ท้าอิฐและเกษตรกรรม แต่ปัจจุบันสภาพเศรษฐกิจเปลี่ยนไป ประชาชนในส่วนที่ประกอบอาชีพท้าอิฐ เปลี่ยนมาประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น ท้านา ปลูกผัก ท้าสวนผลไม้ และปัจจุบันมีเกษตรกรบาง ส่วนประกอบอาชีพ ปลูกดอกมะลิ ร้อยพวงมะลัยขาย การคมนาคมมีทั้งสัญจรทางเรือและทางรถยนต์ ชุมชนคันทรีพาร์ค ๑๔ เป็นชุมชนสร้างใหม่ เป็นชุมชนหลากหลายอาชีพ ประกอบด้วย ประชาชนทั่วทุกภาคของประเทศ เข้ามาอยู่อาศัย มีประกอบอาชีพ รับราชการ รับจ้างทั่วไป ค้าขาย ไม่มี ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ลักษณะเป็นหมู่บ้านจัดสรร สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๘ เป็นหมู่บ้านจัดสรรที่ยัง ไม่ได้ยกให้เป็นสาธารณะ เนื่องจากเจ้าของโครงการถูกฟ้องล้มละลายเมื่อวันที่ ๑๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ถึง ปัจจุบัน เป็นเหตุให้ประชาชนในชุมชนคันทรีพาร์ค๑๔ เข้าไม่ถึงการบริการของภาครัฐ ภาครัฐเข้าช่วยเหลือ เป็นบางอย่างที่ไม่ขัดกับกฎหมาย ประชาชนในคันทรีพาร์ค ๑๔ ต้องพึ่งพาตนเองตลอดมา
  • 3. 3 - จานวนประชากร จ้านวนครัวเรือน 197 ครัวเรือน จ้านวนประชากร 556 คน แยกเป็น ชาย 278 คน หญิง 314 คน - ผู้นาชุมชน กลุ่มองค์กร อัตลักษณ์ชุมชน ๑. นายสัญญา ฐานหมั่น ผู้ใหญ่บ้าน ๒. นางบุญเลื่อน โพธิ์นอก ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ๓. นายจรูญ บุญแท้ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 4. นายอลงกต แก้วประไพ ประธานชุมชนคันทรีพาร์ค 14 5. นายจรูญ บุญแท้ ประธานชุมชนปู่ท๊อป 6. นางกาญจนา โรจนะนาค ประธานคณะกรรมการพัฒนาสตรีหมู่บ้าน 7. นายชัยวัฒน์ หมู่เย็น สมาชิกเทศบาลต้าบลบางเตย 8. นายส้าองค์ ท้าประเทศ สมาชิกเทศบาลต้าบลบางเตย 9. คณะกรรมการหมู่บ้านคลองอ้ายจาม ประกอบด้วย ฝ่ายบริหาร 1) นายสัญญา ฐานหมั่น ประธานฯ 2) นายจรูญ บุญแท้ รองประธานฯ 3) นายมงคลสถิต สกุลเดช เลขานุการ 4) นาย สังวร วันตาล ผู้ช่วยเลขานุการ 5) นางบุญเลื่อน โพธิ์นอก เหรัญญิก 6) น.ส ทิพวรรณ จันทรประเสริฐ ผู้ช่วยเหรัญญิก 7) นาย สมบูรณ์ ชาวล้อม ผู้ทรงคุณวุฒิ 8) นายสมพงศ์ จันทร์ประเสริฐ ผู้ทรงคุณวุฒิ ฝ่ายปกครอง 1) นายสายพิน ธรรมรักษา 2) นายสัมฤทธิ์ ชาวล้อม 3) นายปรีชา ศรีเจริญสุข 4) นายเพรช เนินสนิท 5) นางสาวสง่า ศรีทัศน์ ฝ่ายแผนพัฒนา 1) นางแสงหล้า จิตตรีพรจ 2) นางนงเยาว์ กุลโฮง 3) นางนิตยา เบ้าสิงสวย 4) พ.ท.สัมพันธ์ อาจหาญ 5) นางธนัญญา ฉ่้ารส
  • 4. 4 ฝ่ายอานวยการ 1) นายค้าปอย สุวรรณโชติ 2) นายสมศักดิ์ หมุดเงิน 3) นาง อุ่นใจ ลาสุกร 4) นาง วราพร แซ่อื้อ 5) นาง รันดร ศรีไสล ฝ่ายสาธารณสุข 1) นางกาญจนา โรจนะนาค 2) นางวาสนา นวลสุวรรณ 3) นางยงทรง แซ่อือ 4) นางมาลัย ผลงาม 5) นางสาวสมคิด บุญนิ่ม ฝ่ายเศรษฐกิจ 1) นางปราณี รัตนถิรวรรณ 2) นายวิรัช หมู่เย็น 3) นางวิมล เชื้อสุวรรณ 4) นางสาวรุ่งนภา รื่นกลิ่น 5) นางส้ารี อ่อนตาม ฝ่ายการศึกษา ศาสนา ประเพณี วัฒนาธรรม 1) นายสุวิทย์ ประทุม 2) นายสุภีร์ แสนบุญ 3) นางพรทิพย์ ฐานหมั่น 4) นางสุพัตรา ป้อมน้อย 5) นาย ใหญ่ แป้นแสง จานวนกลุ่มกิจกรรม/อาชีพ ๑ คณะกรรมการหมู่บ้าน ๒ คณะกรรมการชุมชนปู่ท๊อป ๓ คณะกรรมการชุมชนคันทรีพาร์ค ๑๔ ๔ คณะกรรมการพัฒนาสตรีระดับหมู่บ้าน (กพสม.) ๕ คณะกรรมการกองทุนหมู่บ้านคลองอ้ายจาม ๖ คณะกรรมการกองทุนพัฒนาต้าบทบาทสตรีต้าบลบางเตย ๗ ผู้น้าอาสาพัฒนาชุมชน (ผู้น้า อช.) ๘ อาสาสมัครสาธารณสุขประจ้าหมู่บ้าน (อสม.) ๙ อาสาสมัครสายตรวจชุมชน (อสตช.) ๑๐ อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.) ๑๑ คณะกรรมการกองทุนแม่ของแผ่นดินบ้านคลองอ้ายจาม
  • 5. 5 ๑๒ คณะกรรมการฌาปนกิจหมู่บ้าน ๑๓ ชมรมคนพิการ ๑๔ ชมรมผู้สูงอายุ ๑๕ ชมรมแอโรบิค ๑๖ ชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน (ชรบ.) ๑๐.๑๗ กลุ่มสัมมาชีพสามวัยรวมใจสามัคคี กองทุนในหมู่บ้าน ๑ กองทุนหมู่บ้านคลองอ้ายจาม ๒ ทุนฌาปนกิจสงเคราะห์ ๓ ทุนพัฒนาสวัสดิการเด็กและเยาวชน (ด้านสาธารณสุข ) ๔ ทุนพัฒนาสวัสดิการผู้สูงอายุและคนพิการ ๕ ทุนพัฒนาเครื่องมือการเกษตร (ด้านเศรษฐกิจ) ๖ ทุนพัฒนาการศึกษาและการกีฬา (ด้านการศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม ) ๗ ทุนอาสาป้องกันหมู่ที่ ๕ (ด้านปกครอง) ๘ ทุนด้านอ้านวยการ ๙ ทุนด้านแผนพัฒนา ๑๐ กองทุนแม่ของแผ่นดินบ้านคลองอ้ายจาม ศาสนา และประเพณีวัฒนธรรม ประชาชนในหมู่บ้านส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ชาวบ้านคลองอ้ายจามยังคงรักษา วัฒนธรรมของคนไทยในชนบทอยู่ แต่เนื่องจากเป็นเมืองที่อยู่ในเขตปริมณฑลใกล้กรุงเทพมหานคร ท้าให้มี ธุรกิจบ้านจัดสรร และโรงงานขยายตัวเข้ามาจ้านวนมาก แต่ประชาชนก็ยังคงมีวิถีชีวิตวัฒนธรรมประเพณี แบบไทยๆ ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น คือ ประเพณีท้าบุญตักบาตรเข้าพรรษาและออกพรรษา ประเพณีวัน สงกรานต์ ร่วมก่อพระทรายและปล่อยนกปล่อยปลา น้าน้้าหอมไปสรงน้้าพระ ขอพรจากพระ ประเพณี รดน้้า ด้าหัวผู้สูงอายุเพื่อขออวยพร ประเพณีส่งข้าวแช่ของชาวมอญ มีประเพณีโกนจุกของชาวมอญ พุทธศาสนิกชน บ้านคลองอ้ายจามไปท้าพิธีกรรมทางศาสนาวันพระหรือวันส้าคัญทางศาสนาที่วัดบางเตยใน ซึ่งตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ ๗ เนื่องจากในพื้นที่ไม่มีวัด - ผลิตภัณฑ์ชุมชนรายได้/สภาพเศรษฐกิจ ด้านเศรษฐกิจชุมชน ๑.๑ ครัวเรือนในหมู่บ้านมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการด้ารงชีวิตตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง ๑.๒ ครัวเรือนมีการจัดท้าบัญชีรับ – จ่ายครัวเรือน ๑.๓ ครัวเรือนมีการลดรายจ่ายในครัวเรือน เช่น การปลูกพืชผักสวนครัวไว้รับประทาน ใช้ปุ๋ยหมักจากขยะอินทรีย์และเศษวัชพืช/ปุ๋ยหมักจากมูลไส้เดือนแทนการใช้สารเคมี และยาปราบศัตรูพืช สมาชิกในครัวเรือนมีการออมเงิน เช่น ส่งเสริมให้เป็นสมาชิกกองทุนหมู่บ้าน
  • 6. 6 ผลิตภัณฑ์ชุมชน อาทิ น้้ายาอเนกประสงค์ พรมเช็ดเท้า การท้ากล่องอเนกประสงค์ การท้ากระเป๋าผ้า ฯลฯ - แหล่งท่องเที่ยวและการบริการ - ได้รับการคัดเลือกเป็นหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบเฉลิมพระเกียรติ ปี ๒๕๕๘ - หมู่บ้านมีศูนย์เรียนรู้กองทุนแม่ของแผ่นดิน ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด - ผ่านการประเมินผลการท้างานด้านสาธารณสุขสิ่งแวดล้อม ได้รับเกียรติบัตรชุมชนเข้มแข็งด้าน การจัดการสิ่งแวดล้อมภายในหมู่บ้าน ตามโครงการบ้านสะอาดอนามัยดีชีวีสมบูรณ์
  • 7. 7 ครัวเรือนสัมมาชีพตัวอย่าง ส่วนที่ 2 การดาเนินงานสัมมาชีพชุมชน ปี 2561 ชื่อ นายสมบูรณ์ ชาวล้อม ที่อยู่ 66/306 หมู่ที่ 5 ต.บางเตย อ.สามโคก จ.ปทุมธานี วัน เดือน ปีเกิด 29 มิถุนายน 2480 ศาสนา พุทธ จบการศึกษาขั้นสูงสุด ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 นายสมบูรณ์ ชาวล้อม เดิมเป็นชาวอุตรดิตถ์ และได้ย้ายมาอยู่จังหวัดปทุมธานี เมื่อปี พ.ศ. 2536มีสมาชิกในครัวเรือน จ้านวน 2 คน (นายสมบูรณ์ ชาวล้อม และภรรยา) มีอาชีพหลัก คือ ท้าขนมไทย ขาย เช่น ขนมถั่วแปบ ขนมตะโก้ มีรายได้สุทธิของครัวเรือน จ้านวน 9,000 บาท มีอาชีพเสริม คือ การ เลี้ยงไก่ และปลูกผัก อาชีพที่ครัวเรือนได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้จากวิทยากรสัมมาชีพชุมชน คือ การเลี้ยงไก่ ไข่ และไก่บ้าน โดยมีวิทยากรสัมมาชีพชุมชน ที่ท้าหน้าที่เป็นผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านอาชีพให้กับครัวเรือน คือ นายสัญญา ฐานหมั่น ผู้ใหญ่บ้านบ้านคลองอ้ายจาม และทีมวิทยากรสัมมาชีพ โดยใช้รูปแบบรวมกลุ่มฝัก ปฏิบัติอาชีพ ส้าหรับการศึกษาดูงาน ครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนบ้านคลองอ้ายจาม ได้ไปศึกษาดูงานการ เลี้ยงไก่ไข่ ณ ศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านท่าลาน หมู่ที่ 2 ต้าบลกระแชง อ้าเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี โดยมี นายสมาน สวัสดิ์เฉลิม ประธานศูนย์เรียนรู้ฯ เป็นวิทยากรบรรยายวิธีการเลี้ยงไก่ไข่ของศูนย์เรียนรู้บ้านท่าลาน โดยเน้นการเลี้ยงแบบใช้สมุนไพร
  • 8. 8 ร่วมกิจกรรมการศึกษาดูงานของหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน ที่เข้ามาศึกษาดูงาน ณ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจ พอเพียง และเกษตรทฤษฎีใหม่ หมู่ที่ 5 บ้านคลองอ้ายจาม อ้าเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี
  • 9. 9 ส่วนที่ 3 รายงาน - ภูมิสารสนเทศครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนหมู่บ้าน - รายงานศูนย์ข้อมูลกลางครัวเรือนสัมมาชีพระดับหมู่บ้าน - องค์ความรู้ ปราชญ์สัมมาชีพ - กลุ่มอาชีพ (ถ้ามี)