SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน. โดรน
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวกรกนก สิทธ์ดิสัยรักษ์
เลขที่ 39 ชั้น 6/6 ห้อง 39
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา
2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาวกรกนก สิทธ์ดิสัยรักษ์ เลขที่ 39
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โดรนและการใช้ประโยชน์จากโดรน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Drone and Appliance
ประเภทโครงงาน โครงงานความรู้
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวกรกนก สิทธ์ดิสัยรักษ์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของ
การทาโครงงาน)
3
เนื่องจากในปัจจุบันมีการถ่ายภาพจากมุมสูงโดยการใช้โดรนมากขึ้นทาให้
ลดคาใช้จ่ายและประหยัดเวลา ได้ภาพในมุมที่แปลกให้แต่ราคาของโดรนมี
ราคาสูงจึงเป็นที่รู้จักในเฉพาะกลุ่มเท่านั้น แต่ในกลุ่มของนักเรียนยังไม่เป็นที่
รู้จัก และยากต่อการเข้าถึง และไม่ทราบวิธีการใช้โดรนที่ถูกต้อง ทางผู้จัดทา
จึงอยากทาให้โดรนเป็นที่รู้จักและเข้าถึงได้ง่ายในกลุ่มนักเรียนโดยการทาให้
ราคาของโดรนนั้นมีราคาลดลง
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาเกี่ยวกับประโยชน์และวิธีใช้ของโดรน
2.เพื่อศึกษาการทางานของโดรน
3.เพื่อนาโดรนมาใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
4.เพื่อกระจายความรู้เกี่ยวกับโดรนให้เป็นที่รู้จักมากขึ้นง
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1.ชนิดของโดรน
2.การใช้โดรนอย่างง่าย
3.ประโยชน์จากโดรน
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
โดรนเป็นพาหนะทางอากาศที่ไม่ต้องมีคนควบคุมซึ่งทางานผ่านอุปกรณ์
เซ็นเซอร์ต่างๆ ลองคิดถึงพาหนะพื้นฐานที่ใช้รีโมตควบคุม แต่มันมี
ระยะไกลกว่านั้นมาก จุดกาเนิดที่แท้จริงของโดรนนั้นยากที่จะหาเจอ แม้ว่า
ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 เราจะพบกับการใช้เครื่องบินทางการทหารเป็นครั้ง
4
แรก แต่มันก็มีการใช้บอลลูนและว่าวมาก่อนหน้านั้นหลายสิบปี ช่วงปลาย
สงครามโลกครั้งที่ 1 กองทัพสหรัฐมีโครงการที่เรียกว่า Aerial Torpedoes ซึ่ง
เป็นการใช้เครื่องบินขนาดเล็กซึ่งทางานเหมือนโดรนคามิคาเซ่ แต่สงครามก็
จบลงก่อนที่จะได้ใช้งาน
ในปี 1914 ช่วงต้นเดือนที่มีการรบกันของกองทัพอังกฤษในฝรั่งเศส กองทัพ
อังกฤษได้ใช้เครื่องบินถ่ายภาพทางอากาศกว่า 1500 ภาพเพื่อเป็นแผนที่ทาง
อากาศซึ่งแสดงให้เห็นถึงเส้นทางการขนส่งของกองทัพเยอรมัน สิ่งนี้เป็น
การเปิดศักราชใหม่ของการใช้ภาพถ่ายเพื่อการปฏิบัติการที่ซับซ้อน เป็นครั้ง
แรกที่ปืนใหญ่ภาคพื้นดินสามารถขนส่งหลบหลีกเครื่องกั้นต่างๆได้จาก
ข้อมูลที่ได้จากภาพถ่ายทางอากาศ ระบบการจัดการนี้ถูกพัฒนาขึ้นมาเรื่อยๆ
ในช่วงสงคราม
ในปี 1939 ช่วงต้นของสงครามโลกครั้งที่ 2 สหรัฐได้สร้างเครื่องบินบังคับ
เครื่องแรกเรียกว่า Radio Plane OQ2 โดย Norma Jeane หรือที่รู้จักภายหลัง
ว่า Marilyn Monroe มาริลีน มอนโร ได้ทางานที่โรงงานประกอบเครื่องบิน
OQ2ในแคลิฟอร์เนียช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ปฎิบัติการลาดตระเวนโดย
เครื่องบินไร้คนขับค่อยๆมีบทบาทสาคัญในช่วงสงครามเย็นและช่วงที่มี
ความขัดแย้งในโลก
ในปี 1973 หลังจากสงคราม Yom Kippur อิสราเอลได้พัฒนาเครื่องต้นแบบ
ของ UAV และหลังจากนั้นไม่นานก็มีเครื่อง IAI Scout โดยทั้งสองรุ่นมี
5
ภาระกิจลาดตระเวนตรวจตราน่านฟ้าที่ไม่มีคนขับ ในปี 1986 มีความร่วมมือ
ระหว่างสหรัฐและอิสราเอลในการผลิตเครื่องรุ่น RQ2 Pioneer ซึ่งเป็นเครื่อง
โดรนขนาดกลาง ในช่วงเวลาเดียวกันนั้น Abraham Karem ซึ่งเป็นวิศวกร
ผู้เชี่ยวชาญซึ่งทางานให้กับ IAI มาหลายปีได้พัฒนาเครื่องต้นแบบที่เรียกว่า
NAS7-50ในโรงรถของเขานอกเมืองลอสแองเจลลิส นายพล Thomas Bach
จาก American Defense ได้พัฒนารูปแบบอีกครั้งในปี 1990 และก่อนหน้า
สงครามบอสเนีย 2-3 ปี CIA ได้สั่งซื้อ NAS7-50 2 ลาเป็นมูลค่า 5 ล้านดอล
ล่าร์ สาหรับภารกิจตรวจตระเวนเหนือบอสเนีย
วันที่ 7 มกราคม ปี 1994 เพนทากอนได้เซ็นสัญญากับบริษัทของนายพล
Thomas เพื่อออกแบบ NAS7-50 ใหม่เพื่อทาให้มันใหญ่ขึ้น เงียบขึ้น รวมถึง
รูปทรงที่ไดนามิกมากขึ้น 6 เดือนหลังจากนั้น โดรนสังหารรุ่นแรกก็เกิดขึ้น
โดรนสังหารนี้บินไปยังอัฟกานิสถานในช่วงฤดูใบไม้ร่วงปี 2000 เมื่อ CIA
สั่งให้บินไปตามล่าสังหาร โอซามา บิน ลาเดน ในตอนนั้นมันถูกติดตั้งด้วย
กล้องเฝ้าระวังเท่านั้น ในวันที่ 21 ธันวาคมปี 2009 กองทัพอากาศสหรัฐ
ได้รับอนุมัติจากเพนทากอนให้ติดจรวดมิสไซล์ Helefire ให้กับโดรน และ
ไม่ทันครบปี ก็เกิดเหตุการณ์ก่อการร้าย 9/11 ในเมืองนิวยอร์ค
ในทันทีหลังจากเหตุการณ์ 9/11 CIA ก็ได้เริ่มโครงการ Targeted Killing
Campaign แคมเปญตั้งเป้าสังหาร โดยได้รับรายชื่อใครก็ตามที่คิดว่า
เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ 9/11 จากเพนทากอน มันถูกกฏหมายเพราะว่ามัน
ได้รับสิทธิ์ภายใต้การใช้กาลังทางทหารซึ่งสภาอนุมัติให้ทาได้หลังจาก
6
เหตุการณ์ 9/11 และเมื่อผู้นากลุ่มอัลเคดาห์บินออกจากอัฟกานิสถานมายัง
ปากีสถานและเยเมนซึ่งเป็นดินแดนที่สหรัฐไม่มีอานาจอธิปไตยเหนือ
ประเทศเหล่านี้ โดรนก็ถูกส่งให้บินมาอย่างเงียบๆและนี่ก็คือจุดที่เรื่องยุ่ง
เหยิงต่างๆเริ่มขึ้น
บทความ 2-4 ของ UN ให้สิทธิ์คุ้มครองประเทศที่มีรายชื่ออยู่ในสมาชิก
สันติภาพ นั่นแปลว่าประเทศเหล่านี้ควรจะปราศจากจากการใช้กาลังทาง
การทหารในระหว่างการสร้างสันติภาพ อย่างไรก็ดีทีมงานบริหารของโอ
บามากล่าวว่าการล่าหัวนี้สามารถทาได้เพราะคนเหล่านี้มีความสัมพันธ์
ใกล้ชิดกับอัลเคดาหรือมีความเสี่ยงที่จะเป็นภัยคุกคามต่อการโจมตีสหรัฐ
หรือทรัพย์สินของสหรัฐที่อยู่ประเทศอื่นๆ ในขณะที่ CIA และเพนทากอน
ไม่ได้ให้ความเห็นใดๆว่าได้สังหารใครและที่ไหนไปบ้าง แต่สานักข่าว
สืบสวนสอบสวนรายงานว่า CIA ได้ทาการส่งโดรนไปโจมตีในปากีสถาน
ถึง 400 ครั้งนับตั้งแต่ปี 2004 ในขณะที่เพทากอนส่งไปโจมตี 66 - 184 ครั้ง
ในเยเมน และอีก 20 ครั้งในโซมาเลีย
แต่มันเป็นเรื่องจริงหรือ ว่ามีเพียง 20 กว่าครั้งในโซมาเลีย แต่เนื่องจากข้อมูล
เหล่านี้ค่อนข้างน้อยจึงทาให้ไม่สามารถคาดเดาตัวเลขที่แท้จริงได้
ทำไมถึงใช้โดรนเพื่อกำรสังหำร และทำไมต้องเป็นตอนนี้
ลองคิดดูว่า ในสมัยก่อน ในการทาสงครามนั้น มันง่ายที่จะระบุตัวตนของ
7
ศัตรูจากเครื่องแบบหรือกิจกรรมที่ทา หลังจากเหตุการณ์ 9/11 เป็นต้นมา
กลุ่มก่อการร้ายอย่าง อัลเคดา หรือกลุ่มที่มีความเกี่ยวข้องอื่นๆ ซึ่งซ่อนตัวไป
ในหมู่คนปกติ อาศัยอยู่ในชุมชนร่วมกับคนอื่นๆและใช้บ้านเป็นหน่วย
บัญชาการ การใช้โดรนแอบส่องดูทาให้บางคนที่อยู่ที่ลาสเวกัสสามารถ
ควบคุมโดรนและเฝ้าดูพื้นที่ต้องสงสัยอย่างเช่น ปากีสถาน เป็นเวลาหลาย
เดือนได้ซึ่งเหมือนการงมเข็มในมหาสมุทร
แต่นั่นก็ทาให้สิ่งต่างๆยุ่งยากขึ้นไปอีก เหมือนการโจมตีแบบอื่นๆซึ่งพล
เรือนอาจจะถูกโจมตีและโดนลูกหลงได้มีรายงานว่าพลเมืองผู้บริสุทธิ์ใน
ปากีสถานถูกฆ่าโดยโดรนไปถึง 957 คนนับตั้งแต่ปี 2004 และ 200 คนใน
นั้นเป็นเด็ก แต่อีกครั้งที่ตัวเลขที่แน่นอนนั้นยากที่จะระบุเจาะจงลงไป
ในวันที่ 30 กันยายนปี 2011 CIA ได้สังหารอันวัร อัลเอาละกีย์ซึ่งเป็นคน
สัญชาติสหรัฐในเยเมนซึ่งคาดว่าทางานให้กับกลุ่มหัวรุนแรงทางทหาร
ของอัลเคดา ในคาบสมุทรอาหรับโดยโจมตีผ่านโดรน นักกฏหมายและสื่อ
ต่างโจมตีหน่วยงานบริหารของโอบามาว่าเป็นการโจมตีประชาชนชาว
อเมริกัน แต่กระทรวงยุติธรรมของสหรัฐแย้งว่าอัลเอาละกีย์ได้ทางานให้กับ
กลุ่มก่อการร้ายซึ่งโจมตีสหรัฐมาหลายปี ช่วงคาบเกี่ยวระหว่างความยุติธรรม
และศีลธรรมยังคงเป็นปัญหาที่มีการโต้แย้งกัน
ในปี 2014 Amazon อะเมซอนได้เสนอที่จะใช้โดรนซึ่งมีขนาดเล็กและไม่
สลับซับซ้อนเท่ารูปแบบที่ใช้ทางการทหารเพื่อขนส่งสินค้าให้กับลูกค้า
8
หน่วยงานเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ก็ได้เริ่มใช้โดรนในการทาวิดีโอส่งเสริม
การขาย และมันก็เกิดกลุ่มที่ผลิตโดรนใช้เองมากมายโดยเป็นเครื่องขนาดเล็ก
เพื่อความบันเทิง มีหลายๆกลุ่มที่ใช้โดรนเพื่อภารกิจป้องกันการลุกล้าสัตว์ป่า
ในแอฟริกา การใช้โดรนเพื่อขนส่งยาก็กาลังอยู่ในขั้นการทดสอบ หรือแม้แต่
เฟสบุ๊คก็ใช้โดรนที่ได้รับการติดตั้งแผงรับพลังงานแสงอาทิตย์และลอยอยู่
เหนือพื้นดิน 5 หมื่นฟุตในการส่งสัญญาณอินเตอร์เน็ตไปยังพื้นที่ห่างไกลใน
โลก
Federal Aviation Administration รำยงำนว่ำมีหน่วยงำนภำครัฐของสหรัฐ
กว่ำ 934 หน่วยนับตั้งแต่ FBI ศุลกำกรและหน่วยงำนรักษำดินแดน ไปจนถึง
สถำนีตำรวจเล็กๆในรัฐมินิโซตำได้รับกำรอนุมัติให้ใช้โดรนได้ในพื้นที่
ภำยในประเทศ
คริส แอนเดอร์สัน อดีตบก.นิตยสาร Wire ซึ่งลาออกจากนิตยสารและมาตั้ง
บริษัท 3DR บริษัทโดรนของตัวเองกล่าวว่า
เรากาลังเข้าสู่ยุคของโดรน
มันขยายตัวอย่างมาก ในเดือนพฤษภาคม ปี 2014 35 รัฐในสหรัฐได้เริ่มต้น
ร่างกฎควบคุมจานวนการใช้โดรนโดยภาครัฐ จนถึงทุกวันนี้มี 12 รัฐที่ได้
ออกกฎควบคุมแล้ว ที่น่าตลกคือมีโพลล์ไม่นานมานี้ที่แสดงให้เห็นว่า มี
มากกว่า ครึ่งของประชากรสหรัฐที่รับได้กับการใช้โดรนภายในประเทศ
ในขณะที่ในต่างประเทศนั้นเข้าใจได้ว่ามันได้รับการยอมรับน้อยกว่ามาก
9
หากเราถึงยุคของโดรนแล้วจริงๆ เราคาดหวังว่าจะพบอะไรใน 1 ปีข้างหน้า
หรือ 2 ปี หรือใน 5 ปี หากแนวโน้มในตอนนี้เป็นตัวชี้วัด เราอาจจะเห็นมัน
ทั่วไปได้ และพวกมันก็จะเห็นเราเช่นกัน
ประโยชน์ของโดรน
1. ใช้โดรนเพื่อคุ้มกันสัตว์ป่า
2. ใช้ในการรับมือเชิงมนุษยธรรม
3. ใช้กับงานด้าน "รักษาสันติภาพ"
4. ใช้เพื่อขนส่งพัสดุ
5. ใช้เพื่อทาแผนที่วิกฤตการณ์
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.คัดเลือกหัวข้อของโครงงานที่สนใจศึกษา
2.ศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่สนใจและวางแผนการทางาน
3.จัดทาโครงาน
4.ปรับปรุงทดสอบความผิดพลาดของโครงงาน
5.ประเมินโครงงานที่ปรับปรุงแล้ว
6.นาเสนอโครงงาน
10
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.คอมพิวเตอร์
2.อินเตอร์เน็ต
3.หนังสือความรู้เรื่องโดรน
งบประมาณ
ไม่เสียงบประมาณในการทาโครงงานและศึกษาหาข้อมูล
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน กรกนก
2 ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
กรกนก
3 จัดทาโครงร่างงาน กรกนก
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
กรกนก
5 ปรับปรุงทดสอบ กรกนก
6 การทาเอกสารรายงาน กรกนก
7 ประเมินผลงาน กรกนก
8 นาเสนอโครงงาน กรกนก
11
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.ความรู้ที่เพิ่มมากขึ้นในเรื่องโดรน
2.ความรู้เพิ่มเติมนอกเหนือจากการเรียน
3.ความสามารถในการนาโดรนไปใช้ในชีวิตประจาวัน
4.ความสามารถในการนาดดรนมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
5.เป็นประโยชน์ต่อการทางานทางด้านสื่อ
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี
แหล่งอ้างอิง
https://sites.google.com/site/preamjitimtrap/prawati-khxng-do-rn
https://prachatai.com/journal/2014/10/56299

More Related Content

Similar to ใบงานที่5 1

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Polly Rockheels
 
ที่มาและความสำคัญ
ที่มาและความสำคัญที่มาและความสำคัญ
ที่มาและความสำคัญ
Nayapaporn Jirajanjarus
 
โครงร่างโครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงาน คอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงาน คอมพิวเตอร์
Surirat Onnoi
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
Nutjira Kabmala
 

Similar to ใบงานที่5 1 (20)

โครงงานคอม2
โครงงานคอม2โครงงานคอม2
โครงงานคอม2
 
ใหม่
ใหม่ใหม่
ใหม่
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2559 project 602-29
2559 project 602-292559 project 602-29
2559 project 602-29
 
2562 final-project 612-09
2562 final-project 612-092562 final-project 612-09
2562 final-project 612-09
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
น.ส.นนทรพร งานโครงงาน
น.ส.นนทรพร งานโครงงานน.ส.นนทรพร งานโครงงาน
น.ส.นนทรพร งานโครงงาน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
คนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษ
คนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษคนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษ
คนไทยกับการใช้ภาษาอังกฤษ
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
ที่มาและความสำคัญ
ที่มาและความสำคัญที่มาและความสำคัญ
ที่มาและความสำคัญ
 
โครงร่างโครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงาน คอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงาน คอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงาน คอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 

ใบงานที่5 1

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน. โดรน ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวกรกนก สิทธ์ดิสัยรักษ์ เลขที่ 39 ชั้น 6/6 ห้อง 39 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาวกรกนก สิทธ์ดิสัยรักษ์ เลขที่ 39 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โดรนและการใช้ประโยชน์จากโดรน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Drone and Appliance ประเภทโครงงาน โครงงานความรู้ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวกรกนก สิทธ์ดิสัยรักษ์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของ การทาโครงงาน)
  • 3. 3 เนื่องจากในปัจจุบันมีการถ่ายภาพจากมุมสูงโดยการใช้โดรนมากขึ้นทาให้ ลดคาใช้จ่ายและประหยัดเวลา ได้ภาพในมุมที่แปลกให้แต่ราคาของโดรนมี ราคาสูงจึงเป็นที่รู้จักในเฉพาะกลุ่มเท่านั้น แต่ในกลุ่มของนักเรียนยังไม่เป็นที่ รู้จัก และยากต่อการเข้าถึง และไม่ทราบวิธีการใช้โดรนที่ถูกต้อง ทางผู้จัดทา จึงอยากทาให้โดรนเป็นที่รู้จักและเข้าถึงได้ง่ายในกลุ่มนักเรียนโดยการทาให้ ราคาของโดรนนั้นมีราคาลดลง วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาเกี่ยวกับประโยชน์และวิธีใช้ของโดรน 2.เพื่อศึกษาการทางานของโดรน 3.เพื่อนาโดรนมาใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด 4.เพื่อกระจายความรู้เกี่ยวกับโดรนให้เป็นที่รู้จักมากขึ้นง ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1.ชนิดของโดรน 2.การใช้โดรนอย่างง่าย 3.ประโยชน์จากโดรน หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) โดรนเป็นพาหนะทางอากาศที่ไม่ต้องมีคนควบคุมซึ่งทางานผ่านอุปกรณ์ เซ็นเซอร์ต่างๆ ลองคิดถึงพาหนะพื้นฐานที่ใช้รีโมตควบคุม แต่มันมี ระยะไกลกว่านั้นมาก จุดกาเนิดที่แท้จริงของโดรนนั้นยากที่จะหาเจอ แม้ว่า ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 1 เราจะพบกับการใช้เครื่องบินทางการทหารเป็นครั้ง
  • 4. 4 แรก แต่มันก็มีการใช้บอลลูนและว่าวมาก่อนหน้านั้นหลายสิบปี ช่วงปลาย สงครามโลกครั้งที่ 1 กองทัพสหรัฐมีโครงการที่เรียกว่า Aerial Torpedoes ซึ่ง เป็นการใช้เครื่องบินขนาดเล็กซึ่งทางานเหมือนโดรนคามิคาเซ่ แต่สงครามก็ จบลงก่อนที่จะได้ใช้งาน ในปี 1914 ช่วงต้นเดือนที่มีการรบกันของกองทัพอังกฤษในฝรั่งเศส กองทัพ อังกฤษได้ใช้เครื่องบินถ่ายภาพทางอากาศกว่า 1500 ภาพเพื่อเป็นแผนที่ทาง อากาศซึ่งแสดงให้เห็นถึงเส้นทางการขนส่งของกองทัพเยอรมัน สิ่งนี้เป็น การเปิดศักราชใหม่ของการใช้ภาพถ่ายเพื่อการปฏิบัติการที่ซับซ้อน เป็นครั้ง แรกที่ปืนใหญ่ภาคพื้นดินสามารถขนส่งหลบหลีกเครื่องกั้นต่างๆได้จาก ข้อมูลที่ได้จากภาพถ่ายทางอากาศ ระบบการจัดการนี้ถูกพัฒนาขึ้นมาเรื่อยๆ ในช่วงสงคราม ในปี 1939 ช่วงต้นของสงครามโลกครั้งที่ 2 สหรัฐได้สร้างเครื่องบินบังคับ เครื่องแรกเรียกว่า Radio Plane OQ2 โดย Norma Jeane หรือที่รู้จักภายหลัง ว่า Marilyn Monroe มาริลีน มอนโร ได้ทางานที่โรงงานประกอบเครื่องบิน OQ2ในแคลิฟอร์เนียช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ปฎิบัติการลาดตระเวนโดย เครื่องบินไร้คนขับค่อยๆมีบทบาทสาคัญในช่วงสงครามเย็นและช่วงที่มี ความขัดแย้งในโลก ในปี 1973 หลังจากสงคราม Yom Kippur อิสราเอลได้พัฒนาเครื่องต้นแบบ ของ UAV และหลังจากนั้นไม่นานก็มีเครื่อง IAI Scout โดยทั้งสองรุ่นมี
  • 5. 5 ภาระกิจลาดตระเวนตรวจตราน่านฟ้าที่ไม่มีคนขับ ในปี 1986 มีความร่วมมือ ระหว่างสหรัฐและอิสราเอลในการผลิตเครื่องรุ่น RQ2 Pioneer ซึ่งเป็นเครื่อง โดรนขนาดกลาง ในช่วงเวลาเดียวกันนั้น Abraham Karem ซึ่งเป็นวิศวกร ผู้เชี่ยวชาญซึ่งทางานให้กับ IAI มาหลายปีได้พัฒนาเครื่องต้นแบบที่เรียกว่า NAS7-50ในโรงรถของเขานอกเมืองลอสแองเจลลิส นายพล Thomas Bach จาก American Defense ได้พัฒนารูปแบบอีกครั้งในปี 1990 และก่อนหน้า สงครามบอสเนีย 2-3 ปี CIA ได้สั่งซื้อ NAS7-50 2 ลาเป็นมูลค่า 5 ล้านดอล ล่าร์ สาหรับภารกิจตรวจตระเวนเหนือบอสเนีย วันที่ 7 มกราคม ปี 1994 เพนทากอนได้เซ็นสัญญากับบริษัทของนายพล Thomas เพื่อออกแบบ NAS7-50 ใหม่เพื่อทาให้มันใหญ่ขึ้น เงียบขึ้น รวมถึง รูปทรงที่ไดนามิกมากขึ้น 6 เดือนหลังจากนั้น โดรนสังหารรุ่นแรกก็เกิดขึ้น โดรนสังหารนี้บินไปยังอัฟกานิสถานในช่วงฤดูใบไม้ร่วงปี 2000 เมื่อ CIA สั่งให้บินไปตามล่าสังหาร โอซามา บิน ลาเดน ในตอนนั้นมันถูกติดตั้งด้วย กล้องเฝ้าระวังเท่านั้น ในวันที่ 21 ธันวาคมปี 2009 กองทัพอากาศสหรัฐ ได้รับอนุมัติจากเพนทากอนให้ติดจรวดมิสไซล์ Helefire ให้กับโดรน และ ไม่ทันครบปี ก็เกิดเหตุการณ์ก่อการร้าย 9/11 ในเมืองนิวยอร์ค ในทันทีหลังจากเหตุการณ์ 9/11 CIA ก็ได้เริ่มโครงการ Targeted Killing Campaign แคมเปญตั้งเป้าสังหาร โดยได้รับรายชื่อใครก็ตามที่คิดว่า เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ 9/11 จากเพนทากอน มันถูกกฏหมายเพราะว่ามัน ได้รับสิทธิ์ภายใต้การใช้กาลังทางทหารซึ่งสภาอนุมัติให้ทาได้หลังจาก
  • 6. 6 เหตุการณ์ 9/11 และเมื่อผู้นากลุ่มอัลเคดาห์บินออกจากอัฟกานิสถานมายัง ปากีสถานและเยเมนซึ่งเป็นดินแดนที่สหรัฐไม่มีอานาจอธิปไตยเหนือ ประเทศเหล่านี้ โดรนก็ถูกส่งให้บินมาอย่างเงียบๆและนี่ก็คือจุดที่เรื่องยุ่ง เหยิงต่างๆเริ่มขึ้น บทความ 2-4 ของ UN ให้สิทธิ์คุ้มครองประเทศที่มีรายชื่ออยู่ในสมาชิก สันติภาพ นั่นแปลว่าประเทศเหล่านี้ควรจะปราศจากจากการใช้กาลังทาง การทหารในระหว่างการสร้างสันติภาพ อย่างไรก็ดีทีมงานบริหารของโอ บามากล่าวว่าการล่าหัวนี้สามารถทาได้เพราะคนเหล่านี้มีความสัมพันธ์ ใกล้ชิดกับอัลเคดาหรือมีความเสี่ยงที่จะเป็นภัยคุกคามต่อการโจมตีสหรัฐ หรือทรัพย์สินของสหรัฐที่อยู่ประเทศอื่นๆ ในขณะที่ CIA และเพนทากอน ไม่ได้ให้ความเห็นใดๆว่าได้สังหารใครและที่ไหนไปบ้าง แต่สานักข่าว สืบสวนสอบสวนรายงานว่า CIA ได้ทาการส่งโดรนไปโจมตีในปากีสถาน ถึง 400 ครั้งนับตั้งแต่ปี 2004 ในขณะที่เพทากอนส่งไปโจมตี 66 - 184 ครั้ง ในเยเมน และอีก 20 ครั้งในโซมาเลีย แต่มันเป็นเรื่องจริงหรือ ว่ามีเพียง 20 กว่าครั้งในโซมาเลีย แต่เนื่องจากข้อมูล เหล่านี้ค่อนข้างน้อยจึงทาให้ไม่สามารถคาดเดาตัวเลขที่แท้จริงได้ ทำไมถึงใช้โดรนเพื่อกำรสังหำร และทำไมต้องเป็นตอนนี้ ลองคิดดูว่า ในสมัยก่อน ในการทาสงครามนั้น มันง่ายที่จะระบุตัวตนของ
  • 7. 7 ศัตรูจากเครื่องแบบหรือกิจกรรมที่ทา หลังจากเหตุการณ์ 9/11 เป็นต้นมา กลุ่มก่อการร้ายอย่าง อัลเคดา หรือกลุ่มที่มีความเกี่ยวข้องอื่นๆ ซึ่งซ่อนตัวไป ในหมู่คนปกติ อาศัยอยู่ในชุมชนร่วมกับคนอื่นๆและใช้บ้านเป็นหน่วย บัญชาการ การใช้โดรนแอบส่องดูทาให้บางคนที่อยู่ที่ลาสเวกัสสามารถ ควบคุมโดรนและเฝ้าดูพื้นที่ต้องสงสัยอย่างเช่น ปากีสถาน เป็นเวลาหลาย เดือนได้ซึ่งเหมือนการงมเข็มในมหาสมุทร แต่นั่นก็ทาให้สิ่งต่างๆยุ่งยากขึ้นไปอีก เหมือนการโจมตีแบบอื่นๆซึ่งพล เรือนอาจจะถูกโจมตีและโดนลูกหลงได้มีรายงานว่าพลเมืองผู้บริสุทธิ์ใน ปากีสถานถูกฆ่าโดยโดรนไปถึง 957 คนนับตั้งแต่ปี 2004 และ 200 คนใน นั้นเป็นเด็ก แต่อีกครั้งที่ตัวเลขที่แน่นอนนั้นยากที่จะระบุเจาะจงลงไป ในวันที่ 30 กันยายนปี 2011 CIA ได้สังหารอันวัร อัลเอาละกีย์ซึ่งเป็นคน สัญชาติสหรัฐในเยเมนซึ่งคาดว่าทางานให้กับกลุ่มหัวรุนแรงทางทหาร ของอัลเคดา ในคาบสมุทรอาหรับโดยโจมตีผ่านโดรน นักกฏหมายและสื่อ ต่างโจมตีหน่วยงานบริหารของโอบามาว่าเป็นการโจมตีประชาชนชาว อเมริกัน แต่กระทรวงยุติธรรมของสหรัฐแย้งว่าอัลเอาละกีย์ได้ทางานให้กับ กลุ่มก่อการร้ายซึ่งโจมตีสหรัฐมาหลายปี ช่วงคาบเกี่ยวระหว่างความยุติธรรม และศีลธรรมยังคงเป็นปัญหาที่มีการโต้แย้งกัน ในปี 2014 Amazon อะเมซอนได้เสนอที่จะใช้โดรนซึ่งมีขนาดเล็กและไม่ สลับซับซ้อนเท่ารูปแบบที่ใช้ทางการทหารเพื่อขนส่งสินค้าให้กับลูกค้า
  • 8. 8 หน่วยงานเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ก็ได้เริ่มใช้โดรนในการทาวิดีโอส่งเสริม การขาย และมันก็เกิดกลุ่มที่ผลิตโดรนใช้เองมากมายโดยเป็นเครื่องขนาดเล็ก เพื่อความบันเทิง มีหลายๆกลุ่มที่ใช้โดรนเพื่อภารกิจป้องกันการลุกล้าสัตว์ป่า ในแอฟริกา การใช้โดรนเพื่อขนส่งยาก็กาลังอยู่ในขั้นการทดสอบ หรือแม้แต่ เฟสบุ๊คก็ใช้โดรนที่ได้รับการติดตั้งแผงรับพลังงานแสงอาทิตย์และลอยอยู่ เหนือพื้นดิน 5 หมื่นฟุตในการส่งสัญญาณอินเตอร์เน็ตไปยังพื้นที่ห่างไกลใน โลก Federal Aviation Administration รำยงำนว่ำมีหน่วยงำนภำครัฐของสหรัฐ กว่ำ 934 หน่วยนับตั้งแต่ FBI ศุลกำกรและหน่วยงำนรักษำดินแดน ไปจนถึง สถำนีตำรวจเล็กๆในรัฐมินิโซตำได้รับกำรอนุมัติให้ใช้โดรนได้ในพื้นที่ ภำยในประเทศ คริส แอนเดอร์สัน อดีตบก.นิตยสาร Wire ซึ่งลาออกจากนิตยสารและมาตั้ง บริษัท 3DR บริษัทโดรนของตัวเองกล่าวว่า เรากาลังเข้าสู่ยุคของโดรน มันขยายตัวอย่างมาก ในเดือนพฤษภาคม ปี 2014 35 รัฐในสหรัฐได้เริ่มต้น ร่างกฎควบคุมจานวนการใช้โดรนโดยภาครัฐ จนถึงทุกวันนี้มี 12 รัฐที่ได้ ออกกฎควบคุมแล้ว ที่น่าตลกคือมีโพลล์ไม่นานมานี้ที่แสดงให้เห็นว่า มี มากกว่า ครึ่งของประชากรสหรัฐที่รับได้กับการใช้โดรนภายในประเทศ ในขณะที่ในต่างประเทศนั้นเข้าใจได้ว่ามันได้รับการยอมรับน้อยกว่ามาก
  • 9. 9 หากเราถึงยุคของโดรนแล้วจริงๆ เราคาดหวังว่าจะพบอะไรใน 1 ปีข้างหน้า หรือ 2 ปี หรือใน 5 ปี หากแนวโน้มในตอนนี้เป็นตัวชี้วัด เราอาจจะเห็นมัน ทั่วไปได้ และพวกมันก็จะเห็นเราเช่นกัน ประโยชน์ของโดรน 1. ใช้โดรนเพื่อคุ้มกันสัตว์ป่า 2. ใช้ในการรับมือเชิงมนุษยธรรม 3. ใช้กับงานด้าน "รักษาสันติภาพ" 4. ใช้เพื่อขนส่งพัสดุ 5. ใช้เพื่อทาแผนที่วิกฤตการณ์ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.คัดเลือกหัวข้อของโครงงานที่สนใจศึกษา 2.ศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่สนใจและวางแผนการทางาน 3.จัดทาโครงาน 4.ปรับปรุงทดสอบความผิดพลาดของโครงงาน 5.ประเมินโครงงานที่ปรับปรุงแล้ว 6.นาเสนอโครงงาน
  • 10. 10 เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.คอมพิวเตอร์ 2.อินเตอร์เน็ต 3.หนังสือความรู้เรื่องโดรน งบประมาณ ไม่เสียงบประมาณในการทาโครงงานและศึกษาหาข้อมูล ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน กรกนก 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล กรกนก 3 จัดทาโครงร่างงาน กรกนก 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน กรกนก 5 ปรับปรุงทดสอบ กรกนก 6 การทาเอกสารรายงาน กรกนก 7 ประเมินผลงาน กรกนก 8 นาเสนอโครงงาน กรกนก
  • 11. 11 ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.ความรู้ที่เพิ่มมากขึ้นในเรื่องโดรน 2.ความรู้เพิ่มเติมนอกเหนือจากการเรียน 3.ความสามารถในการนาโดรนไปใช้ในชีวิตประจาวัน 4.ความสามารถในการนาดดรนมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 5.เป็นประโยชน์ต่อการทางานทางด้านสื่อ สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี แหล่งอ้างอิง https://sites.google.com/site/preamjitimtrap/prawati-khxng-do-rn https://prachatai.com/journal/2014/10/56299