SlideShare a Scribd company logo
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
1
Book 9AUG2014.indd 1 9/8/2557 19:09:31
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
2
Book 9AUG2014.indd 2 9/8/2557 19:09:33
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
3
ศาสตร์แห่งศิลป์...ครูช่างศิลปหัตถกรรม
งานหัตถกรรมพื้นบ้านมีคุณค่าในตัวเองสูงเพราะเป็นงานที่ผลิตขึ้นโดย
ช่างฝีมือที่มีทักษะและความชำ�นาญในการผลิต เครื่องมือและอุปกรณ์
ทางเทคโนโลยีเป็นเพียงส่วนประกอบในการผลิตงานเท่านั้นนอกจากนี้
งานหัตถกรรมยังให้คุณค่าด้านรูปทรง รูปแบบที่เป็นเอกลักษณ์ของ
แต่ละท้องถิ่น อีกทั้งได้มีการนำ�วัสดุจากธรรมชาติมาสร้างสรรค์
เป็นสิ่งของ เครื่องใช้ และสิ่งประดับตกแต่ง ประกอบกับลวดลายและ
สีสันที่ปรากฎบนงานหัตถกรรมนั้นได้เพิ่มคุณค่างานให้น่าสนใจและ
สมบูรณ์มากยิ่งขึ้นสิ่งเหล่านี้เป็นพื้นองค์ความรู้และทักษะของช่างฝีมือ
ที่ทำ�งานหัตถกรรมในท้องถิ่นนั้น ๆ ที่สั่งสมประสบการณ์และถ่ายทอด
สืบต่อกันมาเป็นวัฒนธรรมก่อเกิดเป็นภูมิปัญญางานศิลปหัตถกรรมใน
ท้องถิ่น
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน) หรือ ศ.ศ.ป.
มุ่งหวังที่จะส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนางานศิลปหัตถกรรมพื้นบ้านของ
ไทยให้เป็นที่รู้จักและเป็นที่ยอมรับทั้งในและต่างประเทศ จึงได้จัด
กิจกรรมเชิดชู “ครูช่างศิลปหัตถกรรม” โดยคัดสรรช่างฝีมือ
งานศิลปหัตถกรรมที่มีทักษะ ประสบการณ์และถ่ายทอดความรู้ให้กับ
ทายาท กลุ่มคน ชุมชน หรือผู้สนใจอย่างต่อเนื่อง จำ�นวน 40 ท่าน
เพื่อสืบสานงานหัตถกรรมให้คงอยู่และมีกระบวนการส่งต่อองค์ความรู้
จากรุ่นสู่รุ่นสืบต่อไป
Book 9AUG2014.indd 3 9/8/2557 19:09:34
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
4
Book 9AUG2014.indd 4 9/8/2557 19:09:36
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
5
Book 9AUG2014.indd 5 9/8/2557 19:09:37
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
6
Book 9AUG2014.indd 6 9/8/2557 19:09:37
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
7
วัตถุดิบที่ใช้ คือ กระจูด ซึ่งเป็นวัตถุดิบในท้องถิ่น ลวดลายเป็นลวดลายจาก
บรรพบุรุษคือ “ลายสอง” เทคนิคที่ท�ำเริ่มจากการสานเป็นเสื่อ หลังจากนั้นน�ำมา
แปรรูปเป็นกระเป๋าและน�ำวัสดุอื่นมาผสมผสานสร้างรูปแบบให้ความหลากหลาย
มากยิ่งขึ้น
นางปรีฑา แดงมา
อายุ 74 ปี
“งานจะดีได้ ต้องซื่อตรง
และพิถีพิถัน ในการสร้างงาน”
31/1 ม.6 บ.ห้วยลึก ต.ท่าสะท้อน อ.พุนพิน จ.สุราษฎร์ธานี 84130
โทร. 077 294 008, 081 892 4677, 089 996 1175
Book 9AUG2014.indd 7 9/8/2557 19:09:40
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
8
Book 9AUG2014.indd 8 9/8/2557 19:09:41
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
9
ผู้มีความรักทางช่างฝีมือมาตั้งแต่วัยเด็กสร้างความสวยงามประณีตมีเอกลักษณ์
เฉพาะตัว ใช้สอยได้หลากหลาย โดยได้คิดค้นเครื่องมือ เพื่อน�ำมาใช้ในการผลิต
ผลิตภัณฑ์จากกะลามะพร้าว ซึ่งเป็นของเหลือใช้ ส่งขายได้ทั้งในและต่างประเทศ
นายสาธิต ชูพิทักษ์ณาเวช
อายุ 73 ปี
“กะลา ไม่กะโหลกกะลา”
กลุ่มผลิตภัณฑ์จากกะลามะพร้าวและไม้ 215 ม.9 ต.ควนขนุน
อ.ควนขนุน จ.พัทลุง 93110
โทร. 086 960 7029, 074 681 217
Book 9AUG2014.indd 9 9/8/2557 19:09:41
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
10
Book 9AUG2014.indd 10 9/8/2557 19:09:42
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
11
มีความโดดเด่นโดยการนําฝ้ายมามัดหมี่และย้อมด้วยสีธรรมชาติ เกิดลวดลายที่
มีความละเอียดประณีต ผ่านกระบวนการทอมือสร้างลวดลายท้องถิ่นอันเป็น
เอกลักษณ์ จากนั้นน�ำมาแปรรูปด้วยการตัดเย็บเป็นรูปแบบได้ตามต้องการ
นางดอกแก้ว ธีระโคตร
อายุ 64 ปี
“ถ่ายทอดการย้อมสีธรรมชาติ
ปลูกฝังลวดลายผ้าไทลื้อ”
16/1 ม.7 บ.ศรีดอนชัย ต.ศรีดอนชัย อ.เชียงของ จ.เชียงราย 57140
โทร. 081 706 5350
Book 9AUG2014.indd 11 9/8/2557 19:09:43
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
12
Book 9AUG2014.indd 12 9/8/2557 19:09:44
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
13
ผ้าทอลายน�้ำไหลที่สวยงาม อีกหนึ่งความวิจิตรและเป็นเอกลักษณ์ของ
ผ้าชาวไทลื้อในจังหวัดน่าน ใช้เวลาในการทอแต่ละผืนยาวนาน ผู้ที่ทอผ้าแบบนี้ได้
เหลือน้อยลงทุกขณะครูจันทร์สมคือหนึ่งในชาวไทลื้อที่คิดอนุรักษ์ไว้ไม่ให้สูญหาย
นางจันทร์สม พรหมปัญญา
อายุ 64 ปี
“ขอแค่มาแต่ตัวและหัวใจ
ครูจะสอนให้หมดใจเช่นกัน”
68 ม.5 บ.หนองบัว ต.ป่าคา อ.ท่าวังผา จ.น่าน 55140
โทร. 054 685 222, 089 838 0536
Book 9AUG2014.indd 13 9/8/2557 19:09:44
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
14
Book 9AUG2014.indd 14 9/8/2557 19:09:45
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
15
จากความรักผลิตภัณฑ์เครื่องจักสานที่ท�ำจากไผ่ในพื้นที่คือไผ่สีสุกซึ่งมีลักษณะ
พิเศษเนื้ออ่อนปล้องยาวมีความงดงามเมื่อน�ำมาตากกลางแดดผ่านกระบวนการ
ท�ำที่พิถีพิถัน ผลิตภัณฑ์ของที่นี่จะไม่มีเสี้ยนเลย และยังคงรักษาลวดลายพื้นบ้าน
ไว้ เช่น ลายไทย ลายขัด ลายพิกุล เป็นต้น สามารถขึ้นรูปได้มากมาย หลากหลาย
รูปแบบ
นางพะเยาว์ ศรีอำ�พร
อายุ 64 ปี
“เราจะตายไม่ได้ เพราะรักงานตรงนี้
อยากอนุรักษ์ อยากสืบสานให้คงอยู่”
41 ม.4 ต.กลางแดด อ.เมือง จ.นครสวรรค์ 60000
โทร. 086 927 7664
Book 9AUG2014.indd 15 9/8/2557 19:09:46
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
16
Book 9AUG2014.indd 16 9/8/2557 19:09:47
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
17
เริ่มท�ำจักสานตั้งแต่ยังเป็นหนุ่มจนเกิดความช�ำนาญสามารถสานลายตามที่สั่งได้
เกิดเป็นจุดเด่นของผลิตภัณฑ์โดยใช้วัตถุดิบในท้องถิ่นซึ่งผ่านการคัดเลือกมาเป็น
อย่างดี คือ ไม้ไผ่ไร่เนื้อเนียน ทนทาน ปล้องยาว และสร้างสีสันด้วยการรมควัน
นายทองสุข ปัตสาพันธ์
อายุ 64 ปี
“ส่งต่อภูมิปัญญา รักษาไว้ซึ่ง
เอกลักษณ์มิให้สูญหายไป”
52 ม.14 ต.ฝั่งแดง อ.นากลาง จ.หนองบัวลำ�ภู 39170
โทร. 098 124 0902
Book 9AUG2014.indd 17 9/8/2557 19:09:48
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
18
Book 9AUG2014.indd 18 9/8/2557 19:09:48
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
19
มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเรื่องการจักสาน การฟอก การย้อมสีหญ้าแฝกและ
กระจูดการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์น�ำความรู้ที่มีอยู่เดิมในเรื่องการจักสาน
กระจูด มาพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ
นางจินต์ เทพกำ�เหนิด
อายุ 63 ปี
“ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน พากเพียร จนเกิดผล”
42 เกาะสะวาด ม.5 ต.ไพรวัน อ.ตากใบ จ.นราธิวาส 96110
โทร. 086 968 4235
Book 9AUG2014.indd 19 9/8/2557 19:09:48
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
20
Book 9AUG2014.indd 20 9/8/2557 19:09:49
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
21
จัดท�ำแหล่งการเรียนรู้ ชุมชน สอนให้ทุกคนที่สนใจ รักษาภูมิปัญญา สู่ลูกสู่หลาน
ด้วยความพยายาม ความมานะบากบั่น ขยันอดทน ในการท�ำเครื่องทองเหลือง
คู่กับการท�ำนา สามารถสร้างงาน สร้างรายได้ให้แก่คนในชุมชน ผลิตงานได้ตาม
ความต้องการของลูกค้าได้ทุกรูปแบบ
นายสมร ประทุมวัน
อายุ 63ปี
“ส่งต่อความรู้ สูคนรุ่นหลัง
เพื่ออาชีพที่ยั่งยืน”
1 ม.13 ต.นาสะไมย์ อ.เมือง จ.ยโสธร 35000
โทร. 087 876 2466
Book 9AUG2014.indd 21 9/8/2557 19:09:50
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
22
Book 9AUG2014.indd 22 9/8/2557 19:09:50
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
23
ผ้าทอมือลายไทยลื้อถูกทอด้วยฝีมืออันประณีตลวดลายสีสันหลากหลายโดดเด่น
ด้วยวิธีทอจกดอกเป็นลวดลายต่างๆ อันสลับซับซ้อน สีสันงดงามรักษาไว้ซึ่ง
วัฒนธรรมดั้งเดิมและมีการต่อยอดสู่ชาวบ้านเพื่อให้เกิดการสืบต่ออย่างยั่งยืน
นางสุขาวดี ติยะธะ
อายุ 62 ปี
“ถ่ายทอดงานฝีมือ ด้วยใจรัก ให้ชาวบ้าน
มีรายได้ ให้ผ้าอยู่คู่เราไปนานๆ”
192 บ.หาดบ้าย ม.1 ต.ริมโขง อ.เชียงของ จ.เชียงราย 57140
โทร. 089 555 7644
Book 9AUG2014.indd 23 9/8/2557 19:09:52
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
24
Book 9AUG2014.indd 24 9/8/2557 19:09:52
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
25
ลวดลายหมี่ส�ำเภาเป็นผ้าที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของชาวไทครั่งบ้านเนินขามทอ
ขึ้นด้วยความประณีต โดยเฉพาะในขั้นตอนของการมัดหมี่ย้อม มีการแต้มสีเพิ่ม
เติมจนเกิดลวดลายและสีสันสวยงามต่างจากผ้ามัดหมี่ทั่วๆไป
นางสาวสมบูรณ์ สุดจันทร์พิพัฒน์
อายุ 60 ปี
“สร้างพื้นฐานให้แน่นก่อน
แล้วจะสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆได้”
38 ม.5 บ.หนองระกำ� ต.เนินขาม อ.เนินขาม จ.ชัยนาท 17130
โทร. 056 946 283, 080 659 3658
Book 9AUG2014.indd 25 9/8/2557 19:09:54
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
26
Book 9AUG2014.indd 26 9/8/2557 19:09:54
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
27
ตั้งใจสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นของไทยวน ทั้งงานทอจก และงานย้อมไหมสี
ธรรมชาติของชาวลับแลที่มีลวดลายที่เป็นเอกลักษณ์มากมายเช่นลายนาคลาย
หงส์ ลายอึ่ง ลายสัตว์ป่าหิมพานต์ หรือแม้แต่ลายดอกเขียง ที่หมายถึงความอุดม
สมบูรณ์
นางสีนวล หมวกทอง
อายุ 60 ปี
“ให้ความสำ�คัญ เอาใจใส่ต่อชิ้นงาน
ถ้าชิ้นผ้าไม่งาม ไม่เผยแพร่”
139/1 ม.9 บ.น�้ำใสใต้ ต.ชัยจุมพล อ.ลับแล จ. อุตรดิตถ์ 53130
โทร 081 - 3793247
Book 9AUG2014.indd 27 9/8/2557 19:09:55
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
28
Book 9AUG2014.indd 28 9/8/2557 19:09:55
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
29
เกิดจากการถ่ายทอดภูมิปัญญาสู่ลูกหลานในระบบเครือญาติ เป็นการท�ำเครื่อง
โขนที่ถูกต้องตามหลักศิลปะโบราณด้วยเทคนิคโบราณที่ถูกต้องตามบทประพันธ์
นายประทีป รอดภัย
อายุ 60 ปี
“งานศิลป์ไม่มีคำ�ว่าอยู่กับที่
ต้องต่อยอด ไปอีกทาง”
บ้านโขน ประทีปศิลป์ ชุมชนสะพานไม้ ถ.ประชาชื่น ซ.18
เขตบางซื่อ จ.กรุงเทพฯ 10800
โทร. 081 318 2084
Book 9AUG2014.indd 29 9/8/2557 19:09:57
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
30
Book 9AUG2014.indd 30 9/8/2557 19:09:57
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
31
เป็นภูมิปัญญาตั้งแต่บรรพบุรุษท�ำมา เริ่มหัดทอผ้าตั้งแต่อายุ 18 ปี ถูกถ่ายทอด
ผ่านบิดามารดาให้ทอผ้าเพื่อน�ำมาเป็นเครื่องนุ่งหุ่มของตนเองและครอบครัว ใน
พ.ศ. 2537 เริ่มตั้งกลุ่มเป็นฝ้ายเข็นมือที่ปลูกเองเรียกว่าฝ้ายตุ่ย เพราะหมู่บ้านอยู่
ใกล้เขา และย้อมด้วยครามเป็นหลัก ต่อมาได้พัฒนาการย้อมสีธรรมชาติ ให้ได้
สีสันที่หลากหลายและน�ำมาผสมผสานกับการคิดค้นลายทอที่เป็นเอกลักษณ์ของ
ตนเองคือ “ลายสร้อยระย้า”
นางพิระ ประเสริฐก้านตง
อายุ 60 ปี
“ท้องฟ้าใส เมื่อสวมใส่ผ้าคราม”
20 ม.4 ซ.บ้านคำ�ข่า ต.ไร่ อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร 47130
โทร. 086 231 0518
Book 9AUG2014.indd 31 9/8/2557 19:09:58
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
32
Book 9AUG2014.indd 32 9/8/2557 19:09:58
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
33
สร้างสรรค์รูปแบบการแกะสลักช้างที่ดูมีชีวิตชีวา มีท่าทางท่วงท�ำนองที่เหมือน
ช้างจริงๆ เป็นแห่งแรก ใช้วัสดุธรรมชาติที่หาได้ในท้องถิ่น และมีการทดลองน�ำ
วัสดุใหม่ๆ ที่หาได้ในท้องถิ่นมาทดแทนวัสดุเดิมที่หายากมากขึ้น
นายเพชร วิริยะ
อายุ 59 ปี
“เสกสรรงานศิลป์ถิ่นล้านนา สืบสาน
คุณค่า จิตวิญญาณช้างไทย”
56/1 ม.2 ต.บวกค้าง อ.สันกำ�แพง จ.เชียงใหม่ 50130
โทร. 081 472 5051
Book 9AUG2014.indd 33 9/8/2557 19:09:59
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
34
Book 9AUG2014.indd 34 9/8/2557 19:09:59
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
35
เริ่มท�ำเครื่องทองเหลืองตั้งแต่ อายุ 14 ปี จนถึงปัจจุบัน “ตัวผมเองก็ไม่อยากให้
สูญหายจึงเลือกที่จะสอนคนใกล้ตัวให้ได้มากที่สุด” จุดเด่น คือ ท�ำด้วยมือทุกขั้น
ตอน โดยท�ำจากทองเหลืองทั้งหมดรวมถึงไส้กระดิ่งที่อยู่ด้านใน จึงท�ำให้เสียงดัง
กังวาน เป็นเสน่ห์ที่ว่าแต่ละชิ้นจะมีเสียงที่แตกต่างกันออกไปไม่เหมือนกับกระดิ่ง
โรงงานการหล่อกระดิ่งแบบขี้ผึ้งหายซึ่งเป็นเทคนิคพิเศษเฉพาะที่นี่และลวดลาย
ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะท้องถิ่น คือ ลายดอกบัวที่เป็นสัญลักษณ์ประจ�ำจังหวัด
อุบลราชธานี
นายทองคำ� ประทุมมาศ
อายุ 58 ปี
“วิถีชีวิตคนรุ่นก่อน สืบทอดชั่วลูกหลาน
อย่างไม่มีวันสิ้นสุด”
136 ม.5 บ.ปะอาว ต.ปะอาว อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000
โทร. 087 922 7489
Book 9AUG2014.indd 35 9/8/2557 19:10:00
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
36
Book 9AUG2014.indd 36 9/8/2557 19:10:01
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
37
สืบทอดมารุ่นที่ 5 ของครอบครัว ท�ำการสอนแบบทั้ง เชิงอนุรักษ์และเชิงพาณิชย์
ท�ำด้วยความเพียรและสร้างเป็นรายได้ให้ชุมชนมีงานท�ำ จุดเด่นเขินนันทาราเป็น
เขินที่ท�ำจากยางรัก ไม้ไผ่ ใช้วิธีโบราณในการท�ำและใช้เวลานาน
นางพัชรา ศิริจันทร์ชื่น
อายุ 58 ปี
“ชุบชีวิตเครื่องเขินไทยโบราณ
เพื่อตอบโจทย์สังคมยุคใหม่”
86 ถ.นันทาราม ต.หายยา อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50100
โทร. 086 916 1424
Book 9AUG2014.indd 37 9/8/2557 19:10:01
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
38
Book 9AUG2014.indd 38 9/8/2557 19:10:01
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
39
ประธานกลุ่มเครื่องเคลือบเวียงกาหลงแบบโบราน ผู้ช�ำนาญด้านเครื่องเคลือบ
โดยมีลักษณะเด่นคือ น�้ำหนักเบาเนื้อบาง เป็นดินลาวา ทนไฟได้สูง ปัจจุบันยังคง
ใช้เทคนิคแบบโบราณ แม้กระทั่งขี้เถ้าก็ยังใช้ท�ำน�้ำเคลือบเช่นในอดีต ซึ่งจะมีทั้งสี
ฟ้าอ่อน เขียวอ่อน และมักมีรอยแตกราน ลวดลายที่เป็นที่รู้จักกันมากคือ
“รูปตัวกา” บินมารวมกันเป็นรูปดอกไม้บ่งบอกถึงความอุดมสมบูรณ์ของท้องถิ่น
นายทัน ธิจิตตัง
อายุ 57 ปี
“ให้เข้าใจความเป็นจริง ของธรรมชาติ
ความละเอียดเข้าถึงความจริง”
97 บ.ทุ่งม่าน ม.3 ต.เวียงกาหลง อ.เวียงป่าเป้า จ.เชียงราย 57260
โทร. 089 838 5874
Book 9AUG2014.indd 39 9/8/2557 19:10:02
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
40
Book 9AUG2014.indd 40 9/8/2557 19:10:02
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
41
พัฒนาผลิตภัณฑ์เส้นใยกัญชงโดยใช้เทคนิคงานถักโครเชร์มาถ่ายทอดเป็นชิ้นงาน
ที่ผสานรูปแบบที่ทันสมัย สร้างมิติใหม่ให้กับเส้นใยธรรมชาติที่สามารถสวมใส่ได้
จริงและรูปแบบสวยงาม
นางนวลศรี พร้อมใจ
อายุ 57 ปี
“พัฒนามุมมอง พัฒนาฝีมือ
สร้างความแตกต่าง สร้างรายได้”
46/1 ม.3 บ้านห้วยทราย ต.ห้วยทราย อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 50180
โทร. 081 289 4744
Book 9AUG2014.indd 41 9/8/2557 19:10:05
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
42
Book 9AUG2014.indd 42 9/8/2557 19:10:05
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
43
ผู้มีทักษะและความเชี่ยวชาญ คือ หัวใจส�ำคัญของงานผ้า ผู้ทอจะต้องค่อยๆ
ออกแบบถักทอเสมือนเป็นการเก็บวางลวดลายไว้บนผืนผ้าที่สวยงาม มีความ
หมาย มีคุณค่า มุมมองที่ดี และเป็นศิริมงคลแก่ผู้ใช้ ลวดลายที่เป็นเอกลักษณ์ คือ
ลายหงส์เชียงแสน ลายกมถม ลายหงส์ใหญ่ ลายดอกจันทร์ และมีสีเฉพาะท้อง
ถิ่น คือ สีเขียวและเหลือง
นางยุพา สุริยา
อายุ 55 ปี
“กลางวันทำ�ผ้า กลางคืนทำ�ผ้าเพื่อ
ผ้าที่งดงามที่สุด ถูกใจผู้คน”
28 ม.9 ต.น�้ำฮ่าง อ.ตรอน จ.อุตรดิตถ์ 53140
โทร. 081 036 4263
Book 9AUG2014.indd 43 9/8/2557 19:10:07
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
44
Book 9AUG2014.indd 44 9/8/2557 19:10:07
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
45
ครูทิวาพร มีความช�ำนาญเฉพาะด้านในการท�ำตุงไจยและโคมไฟ ซึ่งสืบทอดมา
จากบิดามารดา โคมล้านนาของจังหวัดล�ำปาง พัฒนาจากโคมพม่าโบราณ รูป
ทรงโคมมีความโดดเด่นจากโคมล้านนาทั่วๆ ไป
นางทิวาพร ปินตาสี
อายุ 54 ปี
“สานต่อประเพณีดั้งเดิมของชาวพุทธ
เพื่อสัมผัสความเป็นล้านนาอย่างแท้จริง”
284 หมู่บ้านถาดกองต้าใต้ ต.สวนดอก อ.เมือง จ.ลำ�ปาง 52000
โทร. 086 657 2728
Book 9AUG2014.indd 45 9/8/2557 19:10:09
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
46
Book 9AUG2014.indd 46 9/8/2557 19:10:09
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
47
สร้างสรรค์ลวดลายไทยโบราณบนผืนผ้า จากแรงบันดาลใจในการอนุรักษ์ลาย
ไทยโบราณตามจิตรกรรมฝาผนังสถาปัตยกรรมวัดไทยเกิดผลงานละเมียดละไม
ในงานทอผ่านช่างฝีมือพื้นบ้าน โดยเทคนิคการทอแบบโบราณ สร้างคุณค่าควร
แก่การรักษาอนุรักษ์ และสืบสานต่อคนรุ่นหลัง
นางสาวจินตนา จงใจ
อายุ 53 ปี
“สืบค้น เสาะหา มุ่งไปข้างหน้า
รักษาภูมิปัญญา”
307/103 ม.2 ต.บ้านคลอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000
โทร. 080 509 9722
Book 9AUG2014.indd 47 9/8/2557 19:10:10
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
48
Book 9AUG2014.indd 48 9/8/2557 19:10:10
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
49
จากการต่อยอดงาน จัดดอกไม้แบบโบราณที่ใช้ในพิธีต่างๆ โดยน�ำงานผ้าเข้ามา
ประดิษฐ์งานดอกไม้ที่มีความประณีต ละเอียดลออ อ่อนช้อยสวยงามเสมือน
ดอกไม้สด แต่สามารถคงทนอยู่ได้นานไร้กาลเวลา
นายสุชาติ สาดอ�่ำ
อายุ 33 ปี
“สร้างสมาธิ สร้างสุนทรีย์
สร้างความอดทนให้เด็กๆ ผ่านงานฝีมือ”
159/1 ม.1 ต.บ้านกร่าง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000
โทร. 087 200 3990
Book 9AUG2014.indd 49 9/8/2557 19:10:11
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
50
Book 9AUG2014.indd 50 9/8/2557 19:10:11
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
51
สายใยความผูกพันแห่งชีวิตและเส้นใยฝ้าย ซึ่งเป็นเส้นใยเก่าแก่ชนิดหนึ่งที่ใช้ใน
การทอผ้ามาแต่สมัยโบราณผสมผสานกับทักษะฝีมือและภูมิปัญญาของกลุ่มสตรี
ในท้องถิ่น
นางฐิติพร สีพรม
อายุ 52 ปี
“สอนเพื่อช่วย สอนเพื่อส่งต่อ
ความรู้สู่ชุมชน”
59 ม.3 บ.วังทอง ต.พระพุทธบาท อ.เชียงกลาง จ.น่าน 55160
โทร. 087 173 8675
Book 9AUG2014.indd 51 9/8/2557 19:10:11
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
52
Book 9AUG2014.indd 52 9/8/2557 19:10:12
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
53
สร้างผลงานจากวัสดุในท้องถิ่น รักษาเอกลักษณ์งานพื้นบ้านไทยโดยใช้ไม้ไผ่และ
เชือกกล้วยมาสอดสานให้เกิดเรื่องราว ลวดลายที่สร้างความเป็นตัวตนจากงาน
จักสาน ผลงานโดดเด่นได้แรงบันดาลใจจากปลีกล้วย
นางวันทนา เชื้อวีระชน
อายุ 52 ปี
“ในการทำ�งานต้องมีความตั้งใจมุ่งมั่น
อดทนเพื่องานคุณภาพ”
202 ม.2 ต.ปากโทก อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000
โทร. 086 676 0086
Book 9AUG2014.indd 53 9/8/2557 19:10:12
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
54
Book 9AUG2014.indd 54 9/8/2557 19:10:13
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
55
สร้างสรรค์การแกะสลักไม้ภาพกินรีในป่าหิมพานต์โดยน�ำลายพื้นเมืองมาประยุกต์
จนมีความสวยงามวิจิตรบรรจง มีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง และเชี่ยวชาญการ
แกะสลักหน้าบันโบสถ์วิหารต่างๆ สร้างผลงานด้านพุทธศิลป์
นายวิบูลย์ มาเรือน
อายุ 50 ปี
“การเรียนรู้ไม่ขึ้นอยู่ที่เพศและวัย
ขอแค่มีใจรักและความมุ่งมั่น”
146 ม.12 ต.ยุหว่า อ.สันป่าตอง จ.เชียงใหม่ 50120
โทร. 087 182 8193
Book 9AUG2014.indd 55 9/8/2557 19:10:15
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
56
Book 9AUG2014.indd 56 9/8/2557 19:10:15
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
57
การท�ำเส้นใยฝ้ายที่เห็นกันเฉพาะชนชาติไทลื้อนับวันจะเหลือน้อยเต็มที เพราะ
ผู้ทรงภูมิปัญญาที่มีความช�ำนาญเริ่มหายหน้าจากไปประกอบกับลูกหลานที่สนใจ
เรียนรู้และสืบทอดหาได้ยาก
นายไชยมงคล จันทร์ตา
อายุ 49 ปี
“ออกแบบสร้างแพทเทิร์น ตัดเย็บตามแบบ
ด้วยความตั้งใจ ตรวจสอบคุณภาพสินค้า”
74/2 ม.5 ซ.4 ถ.หารแก้ว-หนองตอง ต.หารแก้วอ.หางดง จ.เชียงใหม่ 50230
โทร. 086 732 7103
Book 9AUG2014.indd 57 9/8/2557 19:10:16
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
58
Book 9AUG2014.indd 58 9/8/2557 19:10:16
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
59
หัวโขนเป็นงานศิลปะชั้นสูง เป็นศิลปวัตถุประเภทประณีตศิลป์ ที่มีความวิจิตร
ตระการตา สร้างสรรค์ขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของตัวละครตามบทประพันธ์ตามแบบ
ช่างไทยโบราณ
นางสาวิตรี คล่องสารา
อายุ 48 ปี
“สนับสนุน สืบสาน งานโขน
ปรับเปลี่ยนตามยุคสมัย”
169/31 ม.1 ซ.เทศบาล ถ.บ้านกล้วย-ไทรน้อย
ต.พิมลราช อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี 11110
โทร. 089 522 1191
Book 9AUG2014.indd 59 9/8/2557 19:10:18
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
60
Book 9AUG2014.indd 60 9/8/2557 19:10:18
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
61
เริ่มทอผ้าตั้งแต่อายุ 15 ปี จนถึงปัจจุบัน ตอนนี้อายุ 48 ปีแล้วทอผ้าเป็นอาชีพ
เลี้ยงไหมและสาวไหมเอง งานที่ท�ำก็หวังว่าคนรุ่นลูกจะเข้ามาสืบทอดไม่ให้มัน
สูญหาย ด้วยความที่มีเทคนิคเฉพาะ ตัวในการทอผ้า คือเทคนิค ลายลูกแก้ว 5
ตะกอซึ่งจะท�ำให้ลายที่ออกมามีความนูนโดดเด่นลวดลายของผ้าที่เป็นเอกลักษณ์
อีกลายหนึ่ง คือ ลาย ขอทบเชือก ซึ่งเป็นลายประจ�ำอ�ำเภอ
นางจริยา สมอเผื่อน
อายุ 48 ปี
“ทอสม�่ำเสมอ เนื้อแน่น สีสวย”
107 ม.3 บ.แฝก ต.สามเมือง อ.กิ่งสีดา จ.นครราชสีมา 30430
โทร. 087 950 1958
Book 9AUG2014.indd 61 9/8/2557 19:10:19
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
62
Book 9AUG2014.indd 62 9/8/2557 19:10:19
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
63
ด้วยวัย 47 ปี ช่างเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนัง ผู้มากด้วยฝีมือได้ใช้ความรู้และ
ประสบการณ์สร้างสรรและพัฒนางานเครื่องเบญจรงค์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2544 จนมี
ความสวยงามโดดเด่น และประณีต ด้วยเทคนิคการเขียนสีใต้เคลือบแล้วมาเขียน
สีบนเคลือบอีกครั้ง
นายศิลากร ทับทิมไสย
อายุ 49 ปี
“สืบสานงานศิลป์อีสาน
สร้างจุดเด่นเบญจรงค์”
55 หมู่ 6 หมู่บ้านโนนสวรรค์ ต.แดงใหญ่ อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40000
โทร. 081 574 2098
Book 9AUG2014.indd 63 9/8/2557 19:10:20
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
64
Book 9AUG2014.indd 64 9/8/2557 19:10:21
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
65
เริ่มตั้งกลุ่ม พ.ศ. 2542 ผ้ามัดหมี่ทอมือ ลวดลายท้องถิ่น พิถีพิถันในการทอ ด้วย
ช่างฝีมือรุ่นเก่า สร้างสรรค์เป็นผลิตภัณฑ์คุณภาพ เช่น ผ้าพันคอ ผ้าซิ่น ผ้าคลุม
ไหล่ เนื้อผ้าละเอียดประณีต มีการน�ำสีธรรมชาติเข้ามาเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์ที่มี
คุณภาพมากยิ่งขึ้น
นางสมคิด มาลัยทิพย์
อายุ 46 ปี
“ยายสอนให้แม่ แม่สอนให้ลูก
ส่งต่อรุ่นต่อรุ่น”
69/2 ม.7 บ.ทรายมูล ต.ทรายทอง อ.ศรีบุญเรือง จ.หนองบัวลำ�ภู 39180
โทร. 087 230 8240
Book 9AUG2014.indd 65 9/8/2557 19:10:22
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
66
Book 9AUG2014.indd 66 9/8/2557 19:10:22
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
67
จากปรัชญาและภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่นถ่ายทอดเรื่องราววัฒนธรรมท้องถิ่นผ่าน
การทอ ที่มีความละเอียดของลวดลายบนผืนผ้าและตุง ที่เป็นสัญลักษณ์แห่ง
ศิริมงคล ในศิลปะล้านนา ที่พบเห็นได้ในภาคเหนือของไทย
นางแจ่มใส ต๊ะแก้ว
อายุ 49 ปี
“ภูมิปัญญารุ่นสู่รุ่น
อยากให้เยาวชนเข้ามาสืบทอด”
144 ม.3 บ.ดอนไชย ต.ศิลาแลง อ.ปัว จ.น่าน 55120
โทร. 089 998 7517
Book 9AUG2014.indd 67 9/8/2557 19:10:23
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
68
Book 9AUG2014.indd 68 9/8/2557 19:10:23
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
69
มีความช�ำนาญในการทอผ้าไหมมัดหมี่ จุดเด่น คือ เลี้ยงไหมและสาวไหมเอง
ซึ่งเป็นไหมไทยพื้นบ้าน ใช้การสาวลงตะกร้าด้วยมือจนได้รับพระราชทาน
ตรานกยูงทองจากกรมหม่อนไหมลายที่โดนเด่นคือลายนกยูงทองใช้เทคนิคใหม่
การทอผสมผสานกับการเขียนทองสร้างมิติของลวดลายได้อย่างน่าสนใจ
นางรุจาภา เนียนไธสง
อายุ 49 ปี
“วิถีชีวิตคนรุ่นก่อน สืบทอดชั่วลูกหลาน
อย่างไม่มีวันสิ้นสุด”
95 ม.14 ต.บ้านยาง อ.พุทไธสง จ.บุรีรัมย์31120
โทร. 087 961 1261
Book 9AUG2014.indd 69 9/8/2557 19:10:24
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
70
Book 9AUG2014.indd 70 9/8/2557 19:10:24
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
71
ประธานกลุ่มจักสานไม้ไผ่บ้านแก่งนางเริ่มจัดตั้งกลุ่มตั้งแต่พ.ศ.2546ด้วยการน�ำ
ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ชาวบ้านได้ท�ำงานจักสานไม้ไผ่อยู่แล้วมาดัดแปลงจากกระติบ
ข้าวเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ซึ่งใช้ไม้ไผ่ไร่จากบนเขา ที่มีความเหนียว สร้างจุดเด่น
ในงานสานที่มีความละเอียดในการสานจนเหมือนการทอผ้า
นางอัญชลี อุณวงศ์
อายุ 44 ปี
“ภูมิปัญญา เทคโนโลยี ผสานเกิด
เอกลักษณ์ใหม่ กลิ่นอายท้องถิ่น”
9 ม.7 ต.กกตูม อ.ดงหลวง จ.มุกดาหาร 49140
โทร. 082 109 9232
Book 9AUG2014.indd 71 9/8/2557 19:10:25
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
72
Book 9AUG2014.indd 72 9/8/2557 19:10:25
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
73
รวมกลุ่มขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2545 เน้นลวดลายที่เป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด
นครศรีธรรมราช มีลายที่เป็นเอกลักษณ์ คือ “ลายพิมทอง” เป็นลายผ้าโบราณ
โดยจะผ่านการตรวจสอบของกลุ่มตามสโลแกนที่ว่า “ดอกเด่น เนื้อดี สีไม่ตก”
นางวิไล จิตรเวช
อายุ 44 ปี
“ถักทอเส้นใยร้อยใจหนึ่งเดียว
กลมเกลียวยาวนาน สืบสานภูมิปัญญา”
31 ม.4 ต.ขอนหาด อ.ชะอวด จ.นครศรีธรรมราช 80180
โทร. 087 383 7639
Book 9AUG2014.indd 73 9/8/2557 19:10:26
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
74
Book 9AUG2014.indd 74 9/8/2557 19:10:27
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
75
เริ่มท�ำเครื่องเบญจรงค์ตั้งแต่ พ.ศ. 2547 ตั้งใจส่งต่อให้คนรุ่นหลัง จุดเด่นคือ
ลวดลายจะเป็นแบบเมืองใต้ทั้งลวดลายและสีสันมาจากผ้าปาเต๊ะในหนึ่งใบมีสอง
ลายท�ำให้ดูผสมผสานกัน เป็นเครื่องเบญจรงค์ที่มีกลิ่นอายแดนใต้
นางพนิดา แต้มจันทร์
อายุ 40 ปี
“ทำ�งานด้วยใจ ใส่ใจในงาน
ทำ�งานได้ตลอด”
312 ม.4 ต.วังตะกอ อ.หลังสวน จ.ชุมพร 86110
โทร. 089 122 3884
Book 9AUG2014.indd 75 9/8/2557 19:10:28
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
76
Book 9AUG2014.indd 76 9/8/2557 19:10:29
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
77
เริ่มท�ำอาชีพช่างโลหะเงินตั้งแต่อายุ 26 ปี จากการที่เป็นคนชอบงานศิลปะ จึงได้
สรรสร้างงานจากแนวความคิด ดัดแปลงงานเก่าให้ร่วมสมัย แต่ยังคงรักษา
เอกลักษณ์งานโบราณ จุดเด่นคือลวดลายที่เกี่ยวกับพญานาคซึ่งเป็นสัญลักษณ์
ของจังหวัดนครพนม
นางสาวนฤมล ทอนใจ
อายุ 36 ปี
“กล้า แล้ว ก้าว”
309 ธาตุพนมใต้ ม.11 ถ.พนมพนารักษ์ ต.ธาตุพนม
อ.ธาตุพนม จ.นครพนม 48110
โทร. 089 122 3884
Book 9AUG2014.indd 77 9/8/2557 19:10:30
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
78
Book 9AUG2014.indd 78 9/8/2557 19:10:30
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
79
เครื่องจักสานถือได้ว่าเป็นแขนงหนึ่งในงานหัตถกรรมและหัตถกรรมศิลป์ที่ได้ท�ำ
หน้าที่รับใช้มนุษย์มานานนับพันปีเช่นเดียวกัน จนปัจจุบันเครื่องจักสานยังคงท�ำ
หน้าที่ไม่น้อยกว่ายุคสมัยที่ผ่านมาพร้อมกับการพัฒนาวิธี การผลิต รูปแบบและ
การตลาด จนสามารถกระจายแพร่หลายอย่างทั่วถึงทั้งในและต่างประเทศ
นายพูลทวี ศิริสวัสดิ์
อายุ 35 ปี
“ทำ�งานเพื่ออนุรักษ์
ไม่อยากให้สูญหายไป”
5/1 ม.10 บ.เหนือ ต.ไร่หลักทอง อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี 20140
โทร. 086 838 9176
Book 9AUG2014.indd 79 9/8/2557 19:10:31
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
80
Book 9AUG2014.indd 80 9/8/2557 19:10:31
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
81
เริ่มท�ำงานตั้งแต่ พ.ศ. 2552 ปัจจุบัน อายุ 34 ปี มีความโดดเด่นในการย้อมจาก
สีธรรมชาติทั้งหมดโดยเฉพาะผ้าที่ย้อมจากมูลควายที่ได้สีแตกต่างกันตามฤดูกาล
จากความเขียวของหญ้าที่เป็นอาหารของควาย ถูกแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความ
งดงามร่วมสมัย
นางสายสุณี ไชยหงษา
อายุ 34 ปี
“เน้นหลักพอเพียง ทำ�แต่พอมี
ทำ�ให้มีคุณภาพ ทำ�ด้วยใจรัก”
4 ม.9 ต.แร่ อ.พังโคน จ.สกลนคร 47160
โทร. 087 222 5256
Book 9AUG2014.indd 81 9/8/2557 19:10:32
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
82
Book 9AUG2014.indd 82 9/8/2557 19:10:33
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
83
น�ำภูมิปัญญาพื้นบ้านมาสร้างรูปทรงศิลปะโดยใช้เทคนิคการจักสานเป็นเครื่อง
สะท้อนวิถีชีวิตและผสมผสานความรู้ทางศิลปะในการขึ้นรูปทรงเพื่อให้ได้ผลงาน
ที่พิเศษคงไว้ซึ่งความงามและศรัทธา
นายปัญพาญา หมื่นชำ�นาญ
อายุ 34 ปี
“นำ�เอาภูมิปัญญาพื้นบ้านผสาน
ความเชื่อ ศรัทธาและศิลปะ”
63/6 ม.4 บ.ดวงกมล ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200
โทร. 083 574 9048
Book 9AUG2014.indd 83 9/8/2557 19:10:33
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
84
Book 9AUG2014.indd 84 9/8/2557 19:10:33
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
85
สืบทอดทางภูมิปัญญาอีสาน การย้อมผ้าจากวัตถุดิบธรรมชาติ จากพ่อแม่ ตั้งแต่
พ.ศ.2540 รวมไปถึงเทคนิคการทอสอดเส้นสีพิเศษเพื่อให้ผลงานแตกต่าง เป็น
เอกลักษณ์โดดเด่นในด้านมิติแห่งสีสัน
นางสาวธัญลักษณ์ ทวีกิตติพันธ์
อายุ 31 ปี
“เจอคนเก่งให้ศึกษาจากเขา
เจอคนโง่เง่าให้เตือนใจตัวเอง”
164 ม.1 บ.บ้านถํ้าเต่า ต.สามัคคีพัฒนา อ.อากาศอํานวย จ.สกลนคร 47170
โทร. 087 858 8823
Book 9AUG2014.indd 85 9/8/2557 19:10:35
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
86
Book 9AUG2014.indd 86 9/8/2557 19:10:35
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
87
Book 9AUG2014.indd 87 9/8/2557 19:10:36
โครงการ “เชิดชูครูช่างศิลปหัตถกรรม”
88
Book 9AUG2014.indd 88 9/8/2557 19:10:38
ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน)
89
Book 9AUG2014.indd 89 9/8/2557 19:10:39

More Related Content

Similar to 40 ครูช่างศิลปหัตถกรรม ประจำปี 2557

โครงงานกลุ่มที่ 1
โครงงานกลุ่มที่ 1โครงงานกลุ่มที่ 1
โครงงานกลุ่มที่ 1
0892827602
 
Portfolio
Portfolio Portfolio
Portfolio
Baiteuy
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
Boonlert Aroonpiboon
 
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมบทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
Sittisak Rungcharoensuksri
 
Presentation "คุรุสดุดี ประจำปี 2557"
Presentation "คุรุสดุดี ประจำปี 2557" Presentation "คุรุสดุดี ประจำปี 2557"
Presentation "คุรุสดุดี ประจำปี 2557"
Pinmanas Kotcha
 

Similar to 40 ครูช่างศิลปหัตถกรรม ประจำปี 2557 (7)

โครงงานกลุ่มที่ 1
โครงงานกลุ่มที่ 1โครงงานกลุ่มที่ 1
โครงงานกลุ่มที่ 1
 
โครงงานกลุ่มที่ 1.doc
โครงงานกลุ่มที่ 1.docโครงงานกลุ่มที่ 1.doc
โครงงานกลุ่มที่ 1.doc
 
Portfolio
Portfolio Portfolio
Portfolio
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรมบทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
บทบาทและความท้าทายของ “ศมส.” กับการจัดการและดูแลสารสนเทศมรดกวัฒนธรรม
 
Presentation "คุรุสดุดี ประจำปี 2557"
Presentation "คุรุสดุดี ประจำปี 2557" Presentation "คุรุสดุดี ประจำปี 2557"
Presentation "คุรุสดุดี ประจำปี 2557"
 
V 303
V 303V 303
V 303
 

More from Saran Yuwanna

How to Utilize LINE@ for Food Business #2
How to Utilize LINE@ for Food Business #2How to Utilize LINE@ for Food Business #2
How to Utilize LINE@ for Food Business #2
Saran Yuwanna
 
รวยสบายสไตล์ Line@
รวยสบายสไตล์ Line@รวยสบายสไตล์ Line@
รวยสบายสไตล์ Line@
Saran Yuwanna
 
การแปลง Facebook profile เป็น page
การแปลง Facebook profile เป็น pageการแปลง Facebook profile เป็น page
การแปลง Facebook profile เป็น page
Saran Yuwanna
 
Mobile apps for work @nuisaran
Mobile apps for work @nuisaranMobile apps for work @nuisaran
Mobile apps for work @nuisaran
Saran Yuwanna
 
เทคนิคขายของออนไลน์ให้ปัง ให้รวย : lnwshop
เทคนิคขายของออนไลน์ให้ปัง ให้รวย : lnwshopเทคนิคขายของออนไลน์ให้ปัง ให้รวย : lnwshop
เทคนิคขายของออนไลน์ให้ปัง ให้รวย : lnwshop
Saran Yuwanna
 
การทิ้งขยะของเมืองคาวาโกเอะ
การทิ้งขยะของเมืองคาวาโกเอะการทิ้งขยะของเมืองคาวาโกเอะ
การทิ้งขยะของเมืองคาวาโกเอะ
Saran Yuwanna
 
Mobile apps for secretary @nuisaran
Mobile apps for secretary @nuisaranMobile apps for secretary @nuisaran
Mobile apps for secretary @nuisaran
Saran Yuwanna
 
การสร้าง Line@ และการใช้งาน
การสร้าง Line@ และการใช้งานการสร้าง Line@ และการใช้งาน
การสร้าง Line@ และการใช้งาน
Saran Yuwanna
 
การใช้งาน Twitter และโปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
การใช้งาน Twitter และโปรแกรมตัดต่อวีดีโอการใช้งาน Twitter และโปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
การใช้งาน Twitter และโปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
Saran Yuwanna
 
กำหนดการจัดงานมหกรรมเปิดตัวโครงการ “สินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก”
กำหนดการจัดงานมหกรรมเปิดตัวโครงการ “สินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก”กำหนดการจัดงานมหกรรมเปิดตัวโครงการ “สินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก”
กำหนดการจัดงานมหกรรมเปิดตัวโครงการ “สินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก”
Saran Yuwanna
 
กำหนดการสัมมนาห้องย่อย Village E-Commerce มหกรรมสินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจ...
กำหนดการสัมมนาห้องย่อย Village E-Commerce มหกรรมสินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจ...กำหนดการสัมมนาห้องย่อย Village E-Commerce มหกรรมสินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจ...
กำหนดการสัมมนาห้องย่อย Village E-Commerce มหกรรมสินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจ...
Saran Yuwanna
 
ใบสมัคร ประเภท 1.1 ประเภทศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น
ใบสมัคร ประเภท 1.1 ประเภทศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่นใบสมัคร ประเภท 1.1 ประเภทศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น
ใบสมัคร ประเภท 1.1 ประเภทศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น
Saran Yuwanna
 
ใบสมัคร ประเภท 1.2 ประเภทวิทยากรศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุม...
ใบสมัคร ประเภท 1.2 ประเภทวิทยากรศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุม...ใบสมัคร ประเภท 1.2 ประเภทวิทยากรศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุม...
ใบสมัคร ประเภท 1.2 ประเภทวิทยากรศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุม...
Saran Yuwanna
 
ใบสมัคร ประเภท 1.3 ประเภทผู้ประกอบการร้านค้าออนไลน์ดีเด่น
ใบสมัคร ประเภท 1.3 ประเภทผู้ประกอบการร้านค้าออนไลน์ดีเด่นใบสมัคร ประเภท 1.3 ประเภทผู้ประกอบการร้านค้าออนไลน์ดีเด่น
ใบสมัคร ประเภท 1.3 ประเภทผู้ประกอบการร้านค้าออนไลน์ดีเด่น
Saran Yuwanna
 
การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...
การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...
การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...
Saran Yuwanna
 
หวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ
หวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะหวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ
หวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ
Saran Yuwanna
 
Ecommerce โอกาสทองของคนยุคใหม่
Ecommerce โอกาสทองของคนยุคใหม่Ecommerce โอกาสทองของคนยุคใหม่
Ecommerce โอกาสทองของคนยุคใหม่
Saran Yuwanna
 
Social media for pr กรมส่งเสริมการเกษตร
Social media for pr กรมส่งเสริมการเกษตร Social media for pr กรมส่งเสริมการเกษตร
Social media for pr กรมส่งเสริมการเกษตร
Saran Yuwanna
 
Social media for pr สปสช
Social media for pr สปสชSocial media for pr สปสช
Social media for pr สปสช
Saran Yuwanna
 
123 อาชีพเกษตรกรรมทางเลือก
123 อาชีพเกษตรกรรมทางเลือก123 อาชีพเกษตรกรรมทางเลือก
123 อาชีพเกษตรกรรมทางเลือก
Saran Yuwanna
 

More from Saran Yuwanna (20)

How to Utilize LINE@ for Food Business #2
How to Utilize LINE@ for Food Business #2How to Utilize LINE@ for Food Business #2
How to Utilize LINE@ for Food Business #2
 
รวยสบายสไตล์ Line@
รวยสบายสไตล์ Line@รวยสบายสไตล์ Line@
รวยสบายสไตล์ Line@
 
การแปลง Facebook profile เป็น page
การแปลง Facebook profile เป็น pageการแปลง Facebook profile เป็น page
การแปลง Facebook profile เป็น page
 
Mobile apps for work @nuisaran
Mobile apps for work @nuisaranMobile apps for work @nuisaran
Mobile apps for work @nuisaran
 
เทคนิคขายของออนไลน์ให้ปัง ให้รวย : lnwshop
เทคนิคขายของออนไลน์ให้ปัง ให้รวย : lnwshopเทคนิคขายของออนไลน์ให้ปัง ให้รวย : lnwshop
เทคนิคขายของออนไลน์ให้ปัง ให้รวย : lnwshop
 
การทิ้งขยะของเมืองคาวาโกเอะ
การทิ้งขยะของเมืองคาวาโกเอะการทิ้งขยะของเมืองคาวาโกเอะ
การทิ้งขยะของเมืองคาวาโกเอะ
 
Mobile apps for secretary @nuisaran
Mobile apps for secretary @nuisaranMobile apps for secretary @nuisaran
Mobile apps for secretary @nuisaran
 
การสร้าง Line@ และการใช้งาน
การสร้าง Line@ และการใช้งานการสร้าง Line@ และการใช้งาน
การสร้าง Line@ และการใช้งาน
 
การใช้งาน Twitter และโปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
การใช้งาน Twitter และโปรแกรมตัดต่อวีดีโอการใช้งาน Twitter และโปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
การใช้งาน Twitter และโปรแกรมตัดต่อวีดีโอ
 
กำหนดการจัดงานมหกรรมเปิดตัวโครงการ “สินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก”
กำหนดการจัดงานมหกรรมเปิดตัวโครงการ “สินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก”กำหนดการจัดงานมหกรรมเปิดตัวโครงการ “สินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก”
กำหนดการจัดงานมหกรรมเปิดตัวโครงการ “สินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก”
 
กำหนดการสัมมนาห้องย่อย Village E-Commerce มหกรรมสินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจ...
กำหนดการสัมมนาห้องย่อย Village E-Commerce มหกรรมสินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจ...กำหนดการสัมมนาห้องย่อย Village E-Commerce มหกรรมสินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจ...
กำหนดการสัมมนาห้องย่อย Village E-Commerce มหกรรมสินค้าชุมชนขับเคลื่อนเศรษฐกิจ...
 
ใบสมัคร ประเภท 1.1 ประเภทศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น
ใบสมัคร ประเภท 1.1 ประเภทศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่นใบสมัคร ประเภท 1.1 ประเภทศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น
ใบสมัคร ประเภท 1.1 ประเภทศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น
 
ใบสมัคร ประเภท 1.2 ประเภทวิทยากรศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุม...
ใบสมัคร ประเภท 1.2 ประเภทวิทยากรศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุม...ใบสมัคร ประเภท 1.2 ประเภทวิทยากรศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุม...
ใบสมัคร ประเภท 1.2 ประเภทวิทยากรศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุม...
 
ใบสมัคร ประเภท 1.3 ประเภทผู้ประกอบการร้านค้าออนไลน์ดีเด่น
ใบสมัคร ประเภท 1.3 ประเภทผู้ประกอบการร้านค้าออนไลน์ดีเด่นใบสมัคร ประเภท 1.3 ประเภทผู้ประกอบการร้านค้าออนไลน์ดีเด่น
ใบสมัคร ประเภท 1.3 ประเภทผู้ประกอบการร้านค้าออนไลน์ดีเด่น
 
การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...
การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...
การประกวดศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหรือศูนย์ดิจิทัลชุมชนดีเด่น และบุคคลดีเด่น...
 
หวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ
หวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะหวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ
หวัดเจ็บคอหายได้ ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ
 
Ecommerce โอกาสทองของคนยุคใหม่
Ecommerce โอกาสทองของคนยุคใหม่Ecommerce โอกาสทองของคนยุคใหม่
Ecommerce โอกาสทองของคนยุคใหม่
 
Social media for pr กรมส่งเสริมการเกษตร
Social media for pr กรมส่งเสริมการเกษตร Social media for pr กรมส่งเสริมการเกษตร
Social media for pr กรมส่งเสริมการเกษตร
 
Social media for pr สปสช
Social media for pr สปสชSocial media for pr สปสช
Social media for pr สปสช
 
123 อาชีพเกษตรกรรมทางเลือก
123 อาชีพเกษตรกรรมทางเลือก123 อาชีพเกษตรกรรมทางเลือก
123 อาชีพเกษตรกรรมทางเลือก
 

40 ครูช่างศิลปหัตถกรรม ประจำปี 2557