SlideShare a Scribd company logo
1
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ใบงานที่ 3
โศจิรัตน์ วงศ์จิตสุขเกษม
ม.6/1 เลขที่35
2
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ความหมายของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic commerce) หรือ อี-คอมเมิร์ช (E-Commerce)
หมายถึง การทาธุรกรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ในทุกๆ ช่องทางที่เป็นอิเล็กทรอนิกส์เช่น
การซื้อขายสินค้าและบริการ การโฆษณาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์,
โทรทัศน์, วิทยุ, หรือแม้แต่อินเทอร์เน็ต เป็นต้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดค่าใช้จ่าย และ
เพื่มประสิทธิภาพขององค์กร โดยการลดบทบาทของความสาคัญขององค์ประกอบทาง
ธุรกิจลง เช่น ทาเลที่ตั้ง อาคารประกอบการ โกดังเก็บสินค้า ห้องแสดงสินค้า รวมถึง
พนักงานขาย พนักงานแนะนาสินค้า พนักงานต้อนรับลูกค้าเป็นต้น ดังนั้นจึงลดข้อจากัด
ของระยะทางและเวลา ในการทาธุรกรรมลงได้
ตัวอย่างเช่น นายสมชายเปิดร้านขายสินค้าโอท็อป ผ่านทางอินเทอร์เน็ต ทาให้ลูกค้า
ที่อยู่ต่างประเทศ สามารถเข้ามาดูตัวอย่างสินค้า และติดต่อซื้อขายกันได้ โดยผ่านทางสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์
เทคโนโลยีสารสนเทศที่รุดหน้า ทั้งระบบโทรคมนาคม ระบบคอมพิวเตอร์ และ
อินเทอร์เน็ต ทาให้การสื่อสารกันเป็นไปได้โดยง่าย และสามารถเข้าถึงผู้ใช้บริการได้หลาย
ระดับ อีกทั้งยังสามารถโต้ตอบกันได้ทันที ทาให้สามารถเสนอธุรกรรมที่หลากหลาย เช่น
การชื้อขาย การบริการหลังการขาย การโอนเงินชาระค่าบริการสินค้า การขนส่ง เป็นต้น
โดยมีกฎหมายธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และกฎหมายลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ เข้ามา
คุ้มครองเรื่องความปลอดภัย
3
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
วิวัฒนาการของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การค้าอิเล็กทรอนิกส์นั้นเริ่มขึ้นบนโลกครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2513 ซึ่งได้มีการเริ่มใช้
ระบบโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์หรืออีเอฟที (EFT = Electronic Fund Transfer) แต่ในขณะ
นั้นมีเพียงบริษัทขนาดใหญ่และสถาบันการเงินเท่านั้นที่ใช้งานระบบโอนเงินทาง
อิเล็กทรอนิกส์ ต่อมาอีกไม่นานก็เกิดระบบการส่งเอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ อีดีไอ
(EDI = Electronic Data Interchange) ซึ่งสามารถช่วยขยายการส่งข้อมูลจากเดิมที่เป็นข้อมูล
ทางการเงินอย่างเดียวเป็นการส่งข้อมูลแบบอื่นเพิ่มขึ้น เช่น การส่งข้อมูลระหว่างสถาบัน
การเงินกับผู้ผลิต หรือผู้ค้าส่งกับผู้ค้าปลีก เป็นต้น
หลังจากนั้นก็มีระบบสื่อสารรวมถึงโปรแกรมอื่นๆ เกิดขึ้นมากมายตั้งแต่ระบบที่ใช้ใน
การซื้อขายหุ้นจนไปถึงระบบที่ช่วยในการสารองที่พัก ซึ่งเรียกได้ว่าโลกได้ก้าวเข้าสู่ยุคของ
การสื่อสาร และเมื่อยุคของอินเตอร์เน็ตมาถึงเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2533 จานวนผู้ใช้
อินเตอร์เน็ตก็เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว การค้าอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้เกิดขึ้น เหตุผลที่ทาให้ระบบ
การค้าอิเล็กทรอนิกส์เติบโตอย่างรวดเร็วคือโปรแกรมสนับสนุนการค้าอิเล็กทรอนิกส์ที่
ได้รับการพัฒนาขึ้นมามากมาย รวมถึงระบบเครือข่ายด้วย พอมาถึงประมาณปี พ.ศ.
2537 – 2542 ก็ถือได้ว่าระบบการค้าอิเล็กทรอนิกส์หรืออีคอมเมิร์ซก็เป็นที่ยอมรับและ
ได้รับความนิยมอย่างมากและรวดเร็ว ซึ่งวัดได้จากการที่มีบริษัทต่างๆ ในอเมริกาได้ให้
ความสาคัญและเข้าร่วมในระบบอีคอมเมิร์ซอย่างมากมาย
4
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ยุคการแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์(EDI)
เป็นเทคโนโลยีที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการรับ-ส่งเอกสารจากหน่วยงานหนึ่งไปยังอีก
หน่วยงานหนึ่งโดยส่งผ่านเครือข่าย เช่น โทรศัพท์ สายเคเบิล ดาวเทียม เป็นต้น แทนการส่ง
เอกสารโดยพนักงานส่งสารหรือไปรษณีย์ระบบ EDI จะต้องใช้รูปแบบของเอกสารที่เป็น
มาตรฐานเพื่อให้หน่วยงานทางธุรกิจหรือองค์กรต่างๆ สามารถสื่อสารได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
สาหรับมาตรฐานของ EDI ในประเทศไทยถูกกาหนดโดยกรมศุลกากร ซึ่งเป็น
หน่วยงานแรกที่นาระบบนี้ มาใช้งาน คือ มาตรฐาน EDIFACT (Electronic Data
Interchange for Administration, Commerce and Transport)
ตัวอย่างของเอกสารที่นามาใช้แลกเปลี่ยนข้อมูลด้วยระบบ EDI เช่น ใบสั่งซื้อสินค้า
ใบเสนอราคา ใบกากับสินค้า ใบเสร็จรับเงิน ใบกากับภาษี เป็นต้น
บริษัทผู้ให้บริการแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange :
EDI) เป็นองค์กรที่ให้บริการ EDI ทางการค้าระหว่างประเทศแก่หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ
ซึ่งได้แก่ กรมศุลกากร บริษัทการบินไทย (มหาชน) จากัด การท่าเรือแห่งประเทศไทย และ
กรมการค้าต่าง ประเทศ ตลอดจนผู้ใช้ในภาคเอกชน
5
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ยุคพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange: EDI)
การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ EDI เป็ นเทคโนโลยีที่ใช้
คอมพิวเตอร์ในการรับ-ส่งเอกสารจากหน่วยงานหนึ่งไปยังอีกหน่วยงานหนึ่งโดยส่งผ่าน
เครือข่าย เช่น โทรศัพท์ สายเคเบิล ดาวเทียม เป็นต้น แทนการส่งเอกสารโดยพนักงานส่ง
สารหรือไปรษณีย์ ระบบ EDI จะต้องใช้รูปแบบของเอกสารที่เป็นมาตรฐานเพื่อให้
หน่วยงานทางธุรกิจหรือองค์กรต่างๆ สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สาหรับมาตรฐานของ EDI ในประเทศไทยถูกกาหนดโดยกรมศุลกากร ซึ่งเป็น
หน่วยงานแรกที่นาระบบนี้ มาใช้งาน คือ มาตรฐาน EDIFACT (Electronic Data
Interchange for Administration, Commerce and Transport) ตัวอย่างของเอกสารที่นามาใช้
แลกเปลี่ยนข้อมูลด้วยระบบ EDI เช่น ใบสั่งซื้อสินค้า ใบเสนอราคา ใบกากับสินค้า
ใบเสร็จรับเงิน ใบกากับภาษี เป็นต้น
ประโยชน์ของการใช้ระบบ EDI
- ลดค่าใช้จ่ายด้านการจัดส่งเอกสาร
- ลดเวลาทางานในการป้ อนข้อมูล ทาให้ข้อมูลมีความถูกต้องและลด
ข้อผิดพลาดจากการป้อนข้อมูลที่ซ้าซ้อน
- เพิ่มความรวดเร็วในการติดต่อสื่อสาร
- ลดค่าใช้จ่ายและภาระงานด้านเอกสาร
- แก้ปัญหาอุปสรรคทางภูมิศาสตร์และเวลา
6
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
แบ่งกันตามความสัมพันธ์ทางการตลาดได้3 รูปแบบดังนี้
1. แบบธุรกิจกับธุรกิจ (B2B : Business to Business) เป็นธุรกรรมระหว่างผู้ดาเนิน
ธุรกิจด้วยกันเอง ส่วนใหญ่เป็นการตกลงซื้อขายสินค้าบริการปริมาณมาก
2. แบบธุรกิจกับผู้บริโภค (C2C : Consumer to Consumer) ผู้ชื่อและผู้ขายจานวน
มากจะเข้ามาเพื่อติดต่อแลกเปลี่ยนซื้อขายสินค้าและบริการ ส่วนใหญ่จะเป็นสินค้ามือสอง
หรือการประมูล
3. แบบธุรกิจกับผู้บริโภค (B2C:Business to Consumer) เป็นการทาธุรกรรมกัน
ระหว่างผู้ประกอบการกับผู้บริโภค ไม่ต้องผ่านพ่อค้าคนกลาง เช่นการจองที่พักโรงแรม
เสื้อผ้า
ขั้นตอนการค้าแบบอิเล็กทรอนิกส์
ขั้นตอนที่ 1 ออกแบบและจัดทาเว็บไซต์
• ออกแบบด้วยรูปลักษณ์ที่สวยงาม น่าสนใจ
• ออกแบบขั้นตอนวิธีที่ใช้ง่ายและสะดวก
• ออกแบบเว็บให้ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน
• ออกแบบด้วยการสร้างความแตกต่าง
7
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ขั้นตอนที่ 2 การโฆษณาออนไลน์
• ลงประกาศตามกระดานข่าว
• จัดทาป้ายโฆษณาออนไลน์
• โฆษณาผ่านอีเมล์
• เผยแพร่ผ่านสื่ออื่นๆ
• ลงทะเบียนกับผู้ให้บริการค้นหาข้อมูล
• การลงทะเบียนเพื่อโฆษณาเว็บไซต์
ขั้นตอนที่ 3 การทารายการซื้อขาย
• ต้องรักษาความลับได้
• เชื่อถือได้
• พิสูจน์ทราบตัวตนจริงๆของทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย
ขั้นตอนที่ 4 การส่งมอบสินค้า
• สินค้าที่จับต้องได้ (Hard goods)
• สินค้าที่จับต้องไม่ได้(Soft goods)
• software,รูปภาพ และเพลง ,บริการข้อมูลข่าวสาร
ขั้นตอนที่ 5 การบริการหลังการขาย

More Related Content

What's hot

การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdf
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdfการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdf
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdf
cilcil777
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)Kosamphee Wittaya School
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)Kosamphee Wittaya School
 
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์School
 

What's hot (6)

การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdf
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdfการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdf
การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.pdf
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
 
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
อีคอมเมิร์ซ (E commerce)
 
E-Commerce
E-CommerceE-Commerce
E-Commerce
 
E commerce
E  commerceE  commerce
E commerce
 
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่1 ความหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 

Similar to work3 35

Chapter3 E Commerce
Chapter3 E CommerceChapter3 E Commerce
Chapter3 E Commerce
thanapat yeekhaday
 
Work3-03
Work3-03Work3-03
นาย ศิวกร ประทุมพิทักษ์ 15
นาย ศิวกร ประทุมพิทักษ์ 15นาย ศิวกร ประทุมพิทักษ์ 15
นาย ศิวกร ประทุมพิทักษ์ 15
Sivakorn Pratoomphithak
 
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
Prapaporn Boonplord
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)runjaun
 
onet-Work4-04
onet-Work4-04onet-Work4-04
onet-Work4-04
Mind Morimin
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการSiriwan Udomtragulwong
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตWirot Chantharoek
 

Similar to work3 35 (20)

Chapter3 E Commerce
Chapter3 E CommerceChapter3 E Commerce
Chapter3 E Commerce
 
Work3-03
Work3-03Work3-03
Work3-03
 
นาย ศิวกร ประทุมพิทักษ์ 15
นาย ศิวกร ประทุมพิทักษ์ 15นาย ศิวกร ประทุมพิทักษ์ 15
นาย ศิวกร ประทุมพิทักษ์ 15
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
 
onet-Work4-04
onet-Work4-04onet-Work4-04
onet-Work4-04
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 

work3 35

  • 1. 1 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ใบงานที่ 3 โศจิรัตน์ วงศ์จิตสุขเกษม ม.6/1 เลขที่35
  • 2. 2 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ความหมายของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic commerce) หรือ อี-คอมเมิร์ช (E-Commerce) หมายถึง การทาธุรกรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ในทุกๆ ช่องทางที่เป็นอิเล็กทรอนิกส์เช่น การซื้อขายสินค้าและบริการ การโฆษณาผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์, โทรทัศน์, วิทยุ, หรือแม้แต่อินเทอร์เน็ต เป็นต้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดค่าใช้จ่าย และ เพื่มประสิทธิภาพขององค์กร โดยการลดบทบาทของความสาคัญขององค์ประกอบทาง ธุรกิจลง เช่น ทาเลที่ตั้ง อาคารประกอบการ โกดังเก็บสินค้า ห้องแสดงสินค้า รวมถึง พนักงานขาย พนักงานแนะนาสินค้า พนักงานต้อนรับลูกค้าเป็นต้น ดังนั้นจึงลดข้อจากัด ของระยะทางและเวลา ในการทาธุรกรรมลงได้ ตัวอย่างเช่น นายสมชายเปิดร้านขายสินค้าโอท็อป ผ่านทางอินเทอร์เน็ต ทาให้ลูกค้า ที่อยู่ต่างประเทศ สามารถเข้ามาดูตัวอย่างสินค้า และติดต่อซื้อขายกันได้ โดยผ่านทางสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีสารสนเทศที่รุดหน้า ทั้งระบบโทรคมนาคม ระบบคอมพิวเตอร์ และ อินเทอร์เน็ต ทาให้การสื่อสารกันเป็นไปได้โดยง่าย และสามารถเข้าถึงผู้ใช้บริการได้หลาย ระดับ อีกทั้งยังสามารถโต้ตอบกันได้ทันที ทาให้สามารถเสนอธุรกรรมที่หลากหลาย เช่น การชื้อขาย การบริการหลังการขาย การโอนเงินชาระค่าบริการสินค้า การขนส่ง เป็นต้น โดยมีกฎหมายธุรกรรมพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และกฎหมายลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ เข้ามา คุ้มครองเรื่องความปลอดภัย
  • 3. 3 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved วิวัฒนาการของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การค้าอิเล็กทรอนิกส์นั้นเริ่มขึ้นบนโลกครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2513 ซึ่งได้มีการเริ่มใช้ ระบบโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์หรืออีเอฟที (EFT = Electronic Fund Transfer) แต่ในขณะ นั้นมีเพียงบริษัทขนาดใหญ่และสถาบันการเงินเท่านั้นที่ใช้งานระบบโอนเงินทาง อิเล็กทรอนิกส์ ต่อมาอีกไม่นานก็เกิดระบบการส่งเอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ อีดีไอ (EDI = Electronic Data Interchange) ซึ่งสามารถช่วยขยายการส่งข้อมูลจากเดิมที่เป็นข้อมูล ทางการเงินอย่างเดียวเป็นการส่งข้อมูลแบบอื่นเพิ่มขึ้น เช่น การส่งข้อมูลระหว่างสถาบัน การเงินกับผู้ผลิต หรือผู้ค้าส่งกับผู้ค้าปลีก เป็นต้น หลังจากนั้นก็มีระบบสื่อสารรวมถึงโปรแกรมอื่นๆ เกิดขึ้นมากมายตั้งแต่ระบบที่ใช้ใน การซื้อขายหุ้นจนไปถึงระบบที่ช่วยในการสารองที่พัก ซึ่งเรียกได้ว่าโลกได้ก้าวเข้าสู่ยุคของ การสื่อสาร และเมื่อยุคของอินเตอร์เน็ตมาถึงเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2533 จานวนผู้ใช้ อินเตอร์เน็ตก็เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว การค้าอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้เกิดขึ้น เหตุผลที่ทาให้ระบบ การค้าอิเล็กทรอนิกส์เติบโตอย่างรวดเร็วคือโปรแกรมสนับสนุนการค้าอิเล็กทรอนิกส์ที่ ได้รับการพัฒนาขึ้นมามากมาย รวมถึงระบบเครือข่ายด้วย พอมาถึงประมาณปี พ.ศ. 2537 – 2542 ก็ถือได้ว่าระบบการค้าอิเล็กทรอนิกส์หรืออีคอมเมิร์ซก็เป็นที่ยอมรับและ ได้รับความนิยมอย่างมากและรวดเร็ว ซึ่งวัดได้จากการที่มีบริษัทต่างๆ ในอเมริกาได้ให้ ความสาคัญและเข้าร่วมในระบบอีคอมเมิร์ซอย่างมากมาย
  • 4. 4 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ยุคการแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์(EDI) เป็นเทคโนโลยีที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการรับ-ส่งเอกสารจากหน่วยงานหนึ่งไปยังอีก หน่วยงานหนึ่งโดยส่งผ่านเครือข่าย เช่น โทรศัพท์ สายเคเบิล ดาวเทียม เป็นต้น แทนการส่ง เอกสารโดยพนักงานส่งสารหรือไปรษณีย์ระบบ EDI จะต้องใช้รูปแบบของเอกสารที่เป็น มาตรฐานเพื่อให้หน่วยงานทางธุรกิจหรือองค์กรต่างๆ สามารถสื่อสารได้อย่างมี ประสิทธิภาพ สาหรับมาตรฐานของ EDI ในประเทศไทยถูกกาหนดโดยกรมศุลกากร ซึ่งเป็น หน่วยงานแรกที่นาระบบนี้ มาใช้งาน คือ มาตรฐาน EDIFACT (Electronic Data Interchange for Administration, Commerce and Transport) ตัวอย่างของเอกสารที่นามาใช้แลกเปลี่ยนข้อมูลด้วยระบบ EDI เช่น ใบสั่งซื้อสินค้า ใบเสนอราคา ใบกากับสินค้า ใบเสร็จรับเงิน ใบกากับภาษี เป็นต้น บริษัทผู้ให้บริการแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange : EDI) เป็นองค์กรที่ให้บริการ EDI ทางการค้าระหว่างประเทศแก่หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ซึ่งได้แก่ กรมศุลกากร บริษัทการบินไทย (มหาชน) จากัด การท่าเรือแห่งประเทศไทย และ กรมการค้าต่าง ประเทศ ตลอดจนผู้ใช้ในภาคเอกชน
  • 5. 5 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ยุคพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange: EDI) การแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ EDI เป็ นเทคโนโลยีที่ใช้ คอมพิวเตอร์ในการรับ-ส่งเอกสารจากหน่วยงานหนึ่งไปยังอีกหน่วยงานหนึ่งโดยส่งผ่าน เครือข่าย เช่น โทรศัพท์ สายเคเบิล ดาวเทียม เป็นต้น แทนการส่งเอกสารโดยพนักงานส่ง สารหรือไปรษณีย์ ระบบ EDI จะต้องใช้รูปแบบของเอกสารที่เป็นมาตรฐานเพื่อให้ หน่วยงานทางธุรกิจหรือองค์กรต่างๆ สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ สาหรับมาตรฐานของ EDI ในประเทศไทยถูกกาหนดโดยกรมศุลกากร ซึ่งเป็น หน่วยงานแรกที่นาระบบนี้ มาใช้งาน คือ มาตรฐาน EDIFACT (Electronic Data Interchange for Administration, Commerce and Transport) ตัวอย่างของเอกสารที่นามาใช้ แลกเปลี่ยนข้อมูลด้วยระบบ EDI เช่น ใบสั่งซื้อสินค้า ใบเสนอราคา ใบกากับสินค้า ใบเสร็จรับเงิน ใบกากับภาษี เป็นต้น ประโยชน์ของการใช้ระบบ EDI - ลดค่าใช้จ่ายด้านการจัดส่งเอกสาร - ลดเวลาทางานในการป้ อนข้อมูล ทาให้ข้อมูลมีความถูกต้องและลด ข้อผิดพลาดจากการป้อนข้อมูลที่ซ้าซ้อน - เพิ่มความรวดเร็วในการติดต่อสื่อสาร - ลดค่าใช้จ่ายและภาระงานด้านเอกสาร - แก้ปัญหาอุปสรรคทางภูมิศาสตร์และเวลา
  • 6. 6 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ แบ่งกันตามความสัมพันธ์ทางการตลาดได้3 รูปแบบดังนี้ 1. แบบธุรกิจกับธุรกิจ (B2B : Business to Business) เป็นธุรกรรมระหว่างผู้ดาเนิน ธุรกิจด้วยกันเอง ส่วนใหญ่เป็นการตกลงซื้อขายสินค้าบริการปริมาณมาก 2. แบบธุรกิจกับผู้บริโภค (C2C : Consumer to Consumer) ผู้ชื่อและผู้ขายจานวน มากจะเข้ามาเพื่อติดต่อแลกเปลี่ยนซื้อขายสินค้าและบริการ ส่วนใหญ่จะเป็นสินค้ามือสอง หรือการประมูล 3. แบบธุรกิจกับผู้บริโภค (B2C:Business to Consumer) เป็นการทาธุรกรรมกัน ระหว่างผู้ประกอบการกับผู้บริโภค ไม่ต้องผ่านพ่อค้าคนกลาง เช่นการจองที่พักโรงแรม เสื้อผ้า ขั้นตอนการค้าแบบอิเล็กทรอนิกส์ ขั้นตอนที่ 1 ออกแบบและจัดทาเว็บไซต์ • ออกแบบด้วยรูปลักษณ์ที่สวยงาม น่าสนใจ • ออกแบบขั้นตอนวิธีที่ใช้ง่ายและสะดวก • ออกแบบเว็บให้ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน • ออกแบบด้วยการสร้างความแตกต่าง
  • 7. 7 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ขั้นตอนที่ 2 การโฆษณาออนไลน์ • ลงประกาศตามกระดานข่าว • จัดทาป้ายโฆษณาออนไลน์ • โฆษณาผ่านอีเมล์ • เผยแพร่ผ่านสื่ออื่นๆ • ลงทะเบียนกับผู้ให้บริการค้นหาข้อมูล • การลงทะเบียนเพื่อโฆษณาเว็บไซต์ ขั้นตอนที่ 3 การทารายการซื้อขาย • ต้องรักษาความลับได้ • เชื่อถือได้ • พิสูจน์ทราบตัวตนจริงๆของทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย ขั้นตอนที่ 4 การส่งมอบสินค้า • สินค้าที่จับต้องได้ (Hard goods) • สินค้าที่จับต้องไม่ได้(Soft goods) • software,รูปภาพ และเพลง ,บริการข้อมูลข่าวสาร ขั้นตอนที่ 5 การบริการหลังการขาย