SlideShare a Scribd company logo
การบริหารยุทธศาสตร์
ในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง
ธานินทร์ ผะเอม
ที่ปรึกษากรรมการส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ และ
รองประธานคณะอนุกรรมการกลยุทธ์และแผนงาน การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน
การบริหารยุทธศาสตร์
ในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลง
 สถานการณ์อุตสาหกรรมไมซ์
 การประเมินตนเอง
 Pain & Gain
 References
 Disruption & New Normal
 Adjustment & Transformation
การจัดงานไมซ์ในอเมริกา
ถูกยกเลิกกว่าร้อยละ 88
และถูกเลื่อนการจัดงาน
ออกไปอีกร้อยละ 12
สร้างความเสียหายให้กับ
อุตสาหกรรมไมซ์ถึง
1 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ
สถานการณ์อุตสาหกรรมไมซ์
USA
สมาคมผู้จัดประชุมและนิทรรศการมาเลเซีย
(MACEOS) และสภาธุรกิจอีเวนต์แห่งมาเลเซีย
(BECM) เปิดตัวโครงการ “BE-READY” เพื่อ
แสดงการดาเนินงานที่ปลอดภัยในอุตสาหกรรม
Malaysia
China
กระทรวงวัฒนธรรมและการท่องเที่ยวเซี่ยงไฮ้
สนับสนุนการจัดงาน “China Conference &
Business Travel Forum & Fair 2020”
Singapore
Marina Bay Sands ร่วมกับ สมาคมวิชาชีพการจัดประชุมนานาชาติ
(PCMA) เปิดตัวสตูดิโอถ่ายทาและแพร่ภาพออกอากาศ เพื่อรองรับ
การจัดงานแบบ Hybrid
HKTB จัดงาน Hong Kong Wine &
Dine Festival ในรูปแบบออนไลน์
Hong Kong
รัฐบาลอังกฤษชะลอ
แผนการที่จะให้แฟนๆ
กลับมาชมการแข่งขัน
กีฬาในสนาม หลังโควิด
ระบาดหนักอีกครั้ง
Austria
Austria Center Vienna
ทดสอบประสิทธิภาพของการ
ตรวจหาเชื้อโควิด ด้วยชุด
ทดสอบแบบเร็ว พร้อม
นาไปใช้กับผู้เข้าร่วมงาน
แสดงสินค้า
UK
การระบาดของโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อการจัดกิจกรรมไมซ์ในประเทศไทย
ทาให้ภาพรวมจานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมไมซ์ทุกประเภทในปีงบประมาณ 2563
ลดลงกว่าร้อยละ 60 จากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา
สถานการณ์อุตสาหกรรมไมซ์ของไทย
การสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจจากอุตสาหกรรมไมซ์ไทย
ประมาณการได้ว่าตลอดปีงบประมาณ 2563 อุตสาหกรรมไมซ์
ทั้งตลาดในและต่างประเทศ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ กล่าวคือ
• เกิดการใช้จ่ายจากการจัดกิจกรรมไมซ์ รวมมูลค่ากว่า 165,823 ล้านบาท
• ก่อให้เกิดเป็นรายได้ประชาชาติ รวมมูลค่า 162,976.01 ล้านบาท
• ภาครัฐสามารถจัดเก็บภาษีได้จากการจัดกิจกรรมไมซ์ 11,590 ล้านบาท
• ก่อให้เกิดการจ้างแรงงานไมซ์เพื่อการจัดงาน 95,314 อัตรา
การประเมินตนเอง
กรอบการประเมินผลการดาเนินงานของ สสปน. ประจาปี 2560-2562
1. ความสอดคล้อง พิจารณาว่าวัตถุประสงค์
การจัดตั้ง วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์
ได้ถ่ายทอดมาสู่การกาหนดกลยุทธ์สาหรับการ
ดาเนินงานครบถ้วนหรือไม่ อย่างไร
2. ประสิทธิผล เป็นการประเมินผล
การดาเนินงานตามเป้าหมายที่กาหนด
โดยเปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์และ
เป้าหมายในระดับต่าง ๆ ของ สสปน.
3. ประสิทธิภาพ พิจารณาถึง
การใช้จ่ายงบประมาณอย่าง
คุ้มค่า รวมถึงประสิทธิภาพใน
การดาเนินงาน
4. ผลกระทบ พิจารณาถึง
ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการ
ปฏิบัติงานของ สสปน. ทั้งมูลค่า
ทางเศรษฐกิจ และมูลค่าทางสังคม
5. ค ว า ม ยั่ ง ยื น พิ จ า ร ณ า
ความสามารถในการหารายได้ของ
สสปน. เพื่อลดภาระงบประมาณ
ภาครัฐ รวมถึงผลการดาเนินงาน
ตามโครงการ MICE Sustainability
Thailand เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า
อุตสาหกรรมไมซ์อย่างยั่งยืน
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
สสปน.
6. คุณภาพและความคุ้มค่าในการ
ดาเนินงาน พิจารณาความพึงพอใจต่อการ
ให้บริการของ สสปน. และพิจารณาจากความ
คิดเห็นเกี่ยวกับผลลัพธ์ ผลกระทบ และความ
คุ้มค่าที่เกิดขึ้นจากการดาเนินงานของ สสปน.
7. การพัฒนาองค์กร พิจารณาความสาเร็จ
ในการพัฒนาด้านการกากับดูแลกิจการและ
การดาเนินการตามแผนพัฒนาองค์กรและ
บุคลากรแบบก้าวกระโดดของ สสปน.
ผลการประเมินในภาพรวม
5.0000
4.2206 4.0100
5.0000 5.0000
3.6246
5.0000
4.5283
0.0000
1.0000
2.0000
3.0000
4.0000
5.0000
6.0000
ผลการประเมินผลการดาเนินงานของ สสปน.
ประจาปี 2560-2562
4.5283
ดีมาก
เกณฑ์การประเมินการดาเนินงาน คะแนนที่ได้ ผลลัพธ์
1. ความสอดคล้อง 5.0000 ดีมาก
2. ประสิทธิผล 4.2206 ดีมาก
3. ประสิทธิภาพ 4.0100 ดี
4. ผลกระทบ 5.0000 ดีมาก
5. ความยั่งยืน 5.0000 ดีมาก
6. คุณภาพและความคุ้มค่า
ในการดาเนินงาน
3.6246 ดี
7. การพัฒนาองค์กร 5.0000 ดีมาก
จำนวนผู้ให ้ข ้อมูลทั้งหมด 129 รำย
ผลการประเมินในแต่ละมิติ
1 2 3 4
ความสอดคล้อง
(5.0000: ดีมาก)
การกาหนดกลยุทธ์และ
แ ผ น ง า น ข อ ง ส ส ป น .
ปีงบประมาณ 2560 - 2562
มี ค ว า ม ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ
วัตถุประสงค์การจัดตั้ง
องค์กร วิสัยทัศน์ พันธกิจ
และทิศทางการดาเนินงาน
ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
ครบถ้วน
ประสิทธิผล
(4.2206: ดีมาก)
สสปน. มีการดาเนินงานตามภารกิจ
แ ล ะ แ ผ น ง า น ที่ ส า คั ญ ต า ม
ยุทธศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิผล
โดยมีโครงการที่ดาเนินการ
แล้วเสร็จและบรรลุเป้าหมายเฉลี่ย
76.62% มีจานวนนักเดินทางไมซ์
ทั้งในและต่างประเทศกว่า 100
ล้านคน และมีรายได้จากนักเดินทาง
ไมซ์ทั้งในและต่างประเทศกว่า
650,000 ล้านบาท
ประสิทธิภาพ
(4.0100: ดี)
สสปน. สามารถบริหารจัดการทรัพยากรได้
ค่อนข้างคุ้มค่าและดาเนินงานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ โดย มีผลการเบิกจ่าย
งบประมาณอยู่ในเกณฑ์ดี หรือเฉลี่ย 95.25%
สสปน.บริหารค่าใช้จ่ายได้ต่ากว่ารายได้และ
มีค่าใช้จ่ายจากการดาเนินงานต่อจานวน
พนักงานลดลง 1 จาก 3 ปีงบประมาณ
สสปน.มีผลการประเมิน ITA อยู่ที่ 93.35
คะแนน เป็นต้นแบบของหน่วยงานอื่นได้ และ
มีการพัฒนาระบบงานให้เป็นดิจิทัลได้ 3 ระบบ
ผลกระทบ
(5.0000: ดีมาก)
การดาเนินงานตามภารกิจของ
สสปน. สร้างมูลค่าผลกระทบ
ทางบวกทั้งในทางเศรษฐกิจ และ
ท า ง สั ง ค ม ใ ห้ แ ก่ ป ร ะ เ ท ศ
โดยมีมูลค่าผลกระทบทาง
เศรษฐกิจกว่า 479,000 ลบ.
แ ล ะ เ พิ่ ม ก า ร จ้ า ง ง า น ใ น
อุ ต ส า ห ก ร ร ม ไ ม ซ์ ไ ด้ ก ว่ า
900,000 งาน/ตาแหน่ง
ความยั่งยืน
(5.0000: ดีมาก)
สสปน. สามารถหารายได้เพิ่มเติม 19.96
ล้านบาท ลดการพึ่งพารายได้ของรัฐ และมี
ผลสาเร็จในการสนับสนุนให้ผู้ประกอบการ
มีความรู้และเข้าร่วมในด้านการจัดงานไมซ์
อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น ผ่ า น โ ค ร ง ก า ร MICE
Sustainability Thailand เช่น โครงการ
Food Waste Prevention ซึ่งมีผู้ประกอบการ
เข้าร่วมดาเนินการ 8 องค์กรสามารถลด
ค า ร์ บ อ น ป ร ะ ห ยั ด ค่ า ใ ช้ จ่ า ย
ลดการสิ้นเปลืองอาหารได้
5
ผลการประเมินในแต่ละมิติ
คุณภาพและความคุ้มค่า
ในการดาเนินงาน (3.6246: ดี)
6
ความคิดเห็นเกี่ยวกับ ผลลัพธ์ ผลกระทบ และ
ความคุ้มค่าที่เกิดขึ้นจากการดาเนินงานของ
สสปน. ว่าเป็นไปตามที่คาดหวัง ดีกว่าคาดหวัง
หรือต่ากว่าคาดหวัง โดยจากมุมมองของ
คณะกรรมการ ผู้บริหาร และบุคลากร มี
ระดับคะแนนความคาดหวังเท่ากับ 3.64,
3.21 และ 3.27 ตามลาดับ หรืออยู่ในระดับ
ค่อนข้างดีกว่าที่คาดหวัง ในทุกประเภท
การพัฒนาองค์กร
(5.0000: ดีมาก)
7
การกากับดูแลกิจการ มีผลการดาเนินงานสูง
กว่าเป้าหมายที่กาหนดในทุกปีงบประมาณ
การดาเนินการตามแผนพัฒนาองค์กรและ
บุคลากรแบบก้าวกระโดด สามารถบรรลุ
เป้าหมายในทุกปีงบประมาณที่ดาเนินการทั้งใน
ด้านการพัฒนากระบวนงาน การพัฒนาด้าน
บุคลากร (ระบบ Leave Online และพัฒนา
ทักษะ 4.0) ด้านธรรมาภิบาล การควบคุม
ค่าใช้จ่ายเพื่อลดการพึ่งพารายได้จากรัฐ
ความผูกพันองค์กรของบุคลากร
(Employee Engagement)
พฤติกรรมความผูกพัน
คะแนนเฉลี่ย
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
ระดับ
ความผูกพัน
การพูดถึงองค์กรในทางที่ดี (SAY) 3.91 มาก
การอยู่กับองค์กร (STAY) 4.15 มาก
การทุ่มเทเพื่อองค์กร (STRIVE) 4.42 มากที่สุด
ความผูกพันในภาพรวม 4.25 มากที่สุด
3.91
4.15
4.42
4.25
3.50
4.00
4.50
5.00
SAY STAY STRIVE รวม
ระดับคะแนนความผูกพันในแต่ละปัจจัย
4.86
4.39
4.22 4.23
4.00
4.20
4.40
4.60
4.80
5.00
ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับกลาง ผู้บริหารระดับต้น บุคลากรระดับปฏิบัติการ
คะแนนเฉลี่ยระดับความผูกพัน จาแนกตามตาแหน่ง
สรุป ในภาพรวมบุคลากรของ สสปน. มีความผูกพันกับ สสปน. มากที่สุด
โดยแสดงออกผ่านพฤติกรรมการทุ่มเทเพื่อองค์กร (STRIVE) เป็นประจา
และมีความผูกพันมากซึ่งแสดงออกผ่านพฤติกรรมการอยู่กับองค์กร (STAY)
และพฤติกรรมการพูดถึงองค์กรในทางที่ดี (SAY) ด้วยการแสดงออกผ่าน
พฤติกรรมดังกล่าวบ่อยครั้งตามลาดับ
ความผูกพันองค์กรของบุคลากร (Employee Engagement)
ความผูกพันองค์กร (Engagement)
คะแนนเฉลี่ยระดับความพึงพอใจรายประเด็น
เมื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจกับความผูกพัน พบว่า
• ความผูกพันและความพึงพอใจในการทางานของบุคลากร สสปน. ในกลุ่มผู้บริหารระดับสูงและผู้บริหารระดับกลางเป็นไปในทิศทางเดียวกัน คือมีผล
คะแนนอยู่ในช่วงผูกพันมากและพึงพอใจมากทั้งคู่
• ในขณะที่ ผู้บริหารระดับต้น และบุคลากรระดับปฏิบัติการ มีความผูกพันและความพึงพอใจในการทางานที่แตกต่างกัน คือ มีความผูกพันมากที่สุดแต่มี
ความพึงพอใจมากเท่านั้น
• สะท้อนให้เห็นว่า สภาพแวดล้อมการทางานในปัจจุบันของผู้บริหารระดับต้น และบุคลากรระดับปฏิบัติ มีผลต่อความรู้สึกพึงพอใจในการทางาน
3.82
4.01
4.04
4.22
4.26
3.00 3.50 4.00 4.50 5.00
ท่านรู้สึกว่าอยากมาทางานที่ สสปน.…
ท่านรู้สึกว่างานของท่านมีความ…
ท่านรู้สึกสนุกกับการทางานนี้
ท่านรู้สึกชอบงานที่ท่านทาอยู่ในปัจจุบัน
ท่านรู้สึกกระตือรือร้นที่จะทางาน
คะแนนเฉลี่ยระดับความพึงพอใจและความผูกพัน จาแนกตามตาแหน่ง
4.70
4.31
4.13
4.07
4.86
4.39
4.22 4.23
4.00
4.20
4.40
4.60
4.80
5.00
ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับกลาง ผู้บริหารระดับต้น บุคลากรระดับปฏิบัติการ
ความพึงพอใจ
ความผูกพัน
ระดับคะแนน การแปลความหมาย
4.21 – 5.00 ผูกพันอย่างมาก (Highly Engaged)/พึงพอใจมากที่สุด
3.41 – 4.20 ผูกพัน (Engaged) /พึงพอใจมาก
2.61 – 3.40 เกือบผูกพัน (Almost Engaged)ฝพึงพอใจปานกลาง
1.81 – 2.60 ค่อนข้างไม่ผูกพัน (Not Engaged)ฝพึงพอใจน้อย
1.00 – 1.80 ไม่ผูกพัน (Disengaged)ฝพึงพอใจน้อยที่สุด
โครงการสารวจความพึงพอใจต่อการให้บริการ
สานักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ ประจาปีงบประมาณ 2563
86.71
%
86.71
%
86.86
%
84.71
%
85.43
%
83.43
%
ปี 2562
จำนวนผู้ให ้สัมภำษณ์ทั้งหมด 247 รำย
ปี พ.ศ. 2563
ปี พ.ศ. 2562
ร้อยละ
ค่าเฉลี่ย
ค่าเฉลี่ย
88.19%
6.17/7.00
ร้อยละ
ค่าเฉลี่ย
ค่าเฉลี่ย
85.64%
6.00/7.00
ความพึงพอใจใน 6 มิติ
ร้อยละค่าเฉลี่ย:
ปี 2563
89.71
%
89.00
%
88.71
%
88.00
%
87.71
%
86.00
%
สมรรถนะของบุคลากร
การพัฒนาธุรกิจไมซ์
การพัฒนาขีดความสามารถ
การเป
็ นสื่อกลางระหว่างรัฐกับเอกชน
การสนับสนุนด้านการตลาด
0%
1%
13%
40%
43%
7
6
5
4
3
2
1
ปี 2563 การทางานของ สสปน. กับ ลูกค้า และ key stakeholders ต่างๆ ทาได้สูงกว่ามาตรฐานจาก
ปีที่แล้ว โดยได้รับคะแนนความพึงพอใจโดยรวม ที่ 88.19% คะแนนสูงขึ้นจาก ปี 2562 เกือบ 3%
สมรรถนะของบุคลากร และ การพัฒนาธุรกิจไมซ์ เป็น 2 มิติที่ได้รับคะแนนสูงสุดเช่นเดียวกับปีที่แล้ว
รวมทั้งความพึงพอใจของอีก 4 มิติก็เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วอย่างมีนัยยะสาคัญด้วย
กระบวนการภายในองค์กร
โครงการสารวจความพึงพอใจต่อการให้บริการ
สานักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ ประจาปีงบประมาณ 2563
ผู้รับบริการจาก สสปน. จะให้ความสาคัญกับมิติด้านการสนับสนุนการตลาดมากตลอดมาที่มีการสารวจ โดยผู้รับบริการได้ให้ข้อเสนอแนะ
ที่น่าสนใจในการปรับปรุงมิติดังกล่าวนี้ อาทิ ปรับปรุงเงื่อนไขการสนับสนุนการตลาดให้สอดคล้องกับแต่ละอุตสาหกรรม และเพิ่มการ
ประชาสัมพันธ์กิจกรรมอย่างต่อเนื่องเพื่อให้คนรู้จัก MICE มากขึ้น เพื่อการทางานทางภาคผู้รับบริการจะง่ายและสะดวกขึ้น
การให้ความสาคัญของมิติต่าง ๆ
ของผู้รับบริการ
การสนับสนุนด้านการตลาด
1 การพัฒนาธุรกิจไมซ์
2
การพัฒนาขีดความสามารถ
3
4
กระบวนการภายในองค์กร
5
สมรรถนะของบุคลากร
6
สมรรถนะของบุคลากร
89.71%
การพัฒนาธุรกิจไมซ์
89.00%
88.71%
88.00%
การเป
็ นสื่อกลาง
ระหว่างรัฐกับเอกชน
87.71%
การสนับสนุนด้านการตลาด
86.00%
ความพึงพอใจต่อมิติต่าง ๆ
ร้อยละค่าเฉลี่ย:
กระบวนการภายในองค์กร
การเป
็ นสื่อกลาง
ระหว่างรัฐกับเอกชน
การพัฒนาขีดความสามารถ
ตัวอย่างเสียงสะท้อนความพึงพอใจจากผู้รับบริการตามภารกิจหลัก 6 มิติ
มิติที่ 1: การพัฒนาธุรกิจ MICE
“
”
REF. Q21, Q24
“
”
“
”
“
”
“
”
“
”
มิติที่ 2: การสนับสนุนด้าน
การตลาด
มิติที่ 3: การพัฒนาขีด
ความสามารถ
มิติที่ 4: การเป
็ นสื่อกลาง
ระหว่างรัฐกับเอกชน
หมำยเหตุ: เป็นกำรแสดงข ้อมูลที่มีผู ้ตอบมำกที่สุด และต ้องมีคะแนนตั้งแต่ 20% ขึ้นไป
มีกำรสนับสนุนและ
พัฒนำอุตสำหกรรม
MICE ในประเทศ
ไทย อย่ำงต่อเนื่อง
โดยเฉพำะในเชิง
นโยบำยกำรปลดล็อค
ต่ำงๆ
92%
มีกำรสนับสนุนและ
ส่งเสริมผู้จัดงำน/
ผู้ประกอบกำร อย่ำง
ต่อเนื่อง และ เข ้ำถึง
ได ้มำกขึ้น
75%
สำมำรถนำควำมรู้จำก
หลักสูตรที่จัด
ฝึกอบรม มำใช ้ในกำร
ทำงำนได ้จริง
โดยเฉพำะด ้ำน
Digital
72%
เป็นศูนย์กลำงในกำร
ประสำนงำน/อำนวย
ควำมสะดวกให ้กับ
องค์กรที่เกี่ยวข ้อง
ช่วยลดควำมยุ่งยำก
และ สร้ำงควำมเข ้ำใจ
85%
มิติที่ 5: กระบวนการภายใน
มีกำรสนับสนุนให ้เกิด
กำรทำงำนร่วมกัน
และ กำรปฏิบัติงำน
ได ้ผลจริง
72%
มิติที่ 6: สมรรถนะของบุคลากร
บุคลำกร มีควำม
กระตือรือร้น/ทุ่มเท/
มุ่งมั่น
77%
ตัวอย่างเสียงสะท้อนไม่พึงพอใจจากผู้รับบริการตามภารกิจหลัก 6 มิติ
มิติที่ 1: การพัฒนาธุรกิจ MICE
“
”
REF. Q21, Q24
“
”
“
”
“
”
“
”
“
”
มิติที่ 2: การสนับสนุนด้าน
การตลาด
มิติที่ 3: การพัฒนาขีด
ความสามารถ
มิติที่ 4: การเป
็ นสื่อกลาง
ระหว่างรัฐกับเอกชน
หมำยเหตุ: เป็นกำรแสดงข ้อมูลที่มีผู ้ตอบมำกที่สุด และต ้องมีคะแนนตั้งแต่ 20% ขึ้นไป
ขำดแคลนกำร
ปฏิบัติงำนในระดับ
พื้นที่ระดับจังหวัด
21%
ขำดควำมต่อเนื่องและ
ขำดแคลนกำร
ประชำสัมพันธ์
ภำยในประเทศให ้กับ
กลุ่มภำครัฐ และ
เอกชนในธุรกิจทั่วไป
21%
ยังขำดควำมทั่วถึงใน
กำรให ้ข ้อมูลข่ำวสำร/
กระจำยควำมรู้ที่
เกี่ยวกับอุตสำหกรรม
MICE กับกลุ่มธุรกิจ
ทั่วไป
32%
ขำดควำมทั่วถึงใน
กำรสนับสนุน
ภำคเอกชน เข ้ำไม่ถึง
ทุกธุรกิจ
24%
มิติที่ 5: กระบวนการภายใน
มีกระบวนกำร/
รำยละเอียดในกำร
ทำงำน/ข ้อปฏิบัติมำก
เกินไป
32%
มิติที่ 6: สมรรถนะของบุคลากร
ไม่มีข ้อที่ไม่พึงพอใจมำกกว่ำ 20%
สสปน. ดาเนินงานที่ยึดหลักธรรมาภิบาลมาโดยตลอด ซึ่งยืนยันได้จากผลการประเมิน
คุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA)
จากสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2563
ที่ สสปน. ได้คะแนนสูงถึง 93.75 อยู่ในระดับดีเลิศ (Excellence)
PAIN & GAIN
ดัชนีความสะดวกในการจัดกิจกรรมไมซ์ในประเทศไทย
(Ease of Organising MICE Events Index)
ค่าดัชนีคะแนนความสะดวกมากกว่า 80-100 = ระดับความสะดวกในการดาเนินการสูงมาก
ค่าดัชนีคะแนนความสะดวกมากกว่า 60-80 = ระดับความสะดวกในการดาเนินการสูง
ค่าดัชนีคะแนนความสะดวกมากกว่า 40-60 = ระดับความสะดวกในการดาเนินการปานกลาง
ค่าดัชนีคะแนนความสะดวกมากกว่า 20-40 = ระดับความสะดวกในการดาเนินการน้อย
ค่าดัชนีคะแนนความสะดวกมากกว่า 0-20 = ระดับความสะดวกในการดาเนินการน้อยมาก
ความสะดวกในแต่ละกระบวนการ การจัดกิจกรรม MICE เปรียบเทียบระหว่าง ปี 2561 และ ปี 2562
M I C E คะแนนเฉลี่ย
กระบวนการที่ 1:
การวางแผนและการ
เตรียมความพร้อม
ก่อนการจัดงาน
กระบวนการที่ 2:
การขอรับ
การตรวจลงตรา
กระบวนการที่ 3:
การเดินทางของ
ผู้ที่เกี่ยวข้อง
กระบวนการที่ 4:
กระบวนการตรวจคน
เข้าเมือง
กระบวนการที่ 5:
การขนส่งและ
โลจิสติกส์สาหรับ
ผู้ที่เกี่ยวข้อง
และสินค้า
กระบวนการที่ 6:
สถานที่จัดงาน
กระบวนการที่ 7:
สถานที่พัก
กระบวนการที่ 8:
การรักษาความ
ปลอดภัยและการ
ประกันภัย
กระบวนการที่ 9:
ภาษี
ปี 2561
69.30 80.01 66.90 66.22 63.13 66.76 74.74 73.27 72.64 60.00
ปี 2562
70.32 67.86 63.82 70.31 67.36 63.20 78.90 85.67 72.68 63.05
>80-100 = ระดับความสะดวกในการดาเนินการสูงมาก >60-80 = ระดับความสะดวกในการดาเนินการสูง >40-60 = ระดับความสะดวกในการดาเนินการปานกลาง
เกณฑ์การแปลผลคะแนน
ดัชนีความสะดวกในการจัดกิจกรรมไมซ์ในประเทศไทย
(Ease of Organising MICE Events Index)
สมุดปกขาว การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมไมซ์ของประเทศไทย
ผลักดันข้อจากัดต่างๆ เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมไมซ์อย่างยั่งยืน
ภาครัฐและภาคเอกชนต่างก็เป็นผู้ขับเคลื่อน
การจัดงาน
ไม่มีการจัดงานระดับโลก (World MICE
Event) ในประเทศไทย
ไมซ์เป็นเพียงเครื่องมือในการประชาสัมพันธ์
และสร้างกิจกรรมให้กับหน่วยงานของภาครัฐ
มาตรการสิทธิประโยชน์เพื่อสร้างแรงจูงใจใน
การลงทุนอุตสาหกรรมไมซ์แต่ละพื้นที่ไม่เท่ากัน
รัฐสนับสนุนการจัดงานไมซ์ในรูปแบบของ
งบประมาณในการจัดงาน
ภาคเอกชนเป็นผู้ขับเคลื่อนหลัก ส่วนภาครัฐมี
หน้าที่กากับ กาหนดนโยบาย สนับสนุนการจัดงาน
รัฐเป็นเจ้าภาพการจัดงานระดับโลกโดยสนับสนุน
ให้หน่วยงานต่างๆ จัดงานการหมุนเวียนกัน
ไมซ์เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนธุรกิจเอกชน
ควบคู่ไปกับการใช้เพื่อขับเคลื่อนนโยบายภาครัฐ
เพิ่มมาตรการสิทธิประโยชน์เพื่อสร้างแรงจูงใจให้
เกิดการลงทุนในอุตสาหกรรมไมซ์ทั่วประเทศ
รัฐเพิ่มการสนับสนุนการจัดงานไมซ์ด้วย
มาตรการสนับสนุนในรูปแบบอื่นๆ
จาก … ไปสู่ …
1
2
3
4
5
เน้นการจัดงานไมซ์ในพื้นที่ส่วนกลาง หรือ
กรุงเทพมหานคร
จัดกิจกรรมไมซ์ในช่วงระยะเวลาตามกรอบ
งบประมาณที่ได้รับ
ค่าใช้จ่ายในการประชุมเป็นไปตามระเบียบเดิม
ของหน่วยงานภาครัฐ
ปัญหาในการเดินทางเข้าประเทศ และการนา
ของเข้ามาเพื่อจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ
ขยายการจัดงานไมซ์ไปสู่ 15 เมืองเศรษฐกิจหลัก
โดยกาหนดให้เป็นภารกิจของจังหวัด
จัดกิจกรรมไมซ์อย่างต่อเนื่อง 3 ปีขึ้นเพื่อสร้าง
ให้เกิดการรับรู้
ค่าใช้จ่ายในการประชุมเป็นไปตามความ
เหมาะสมกับสภาพของตลาดเพื่อยกระดับ
คุณภาพการจัดงาน
ได้รับความสะดวกในการเดินทางเข้า และการ
นาของเข้าประเทศโดย One Stop Services
6
7
8
9
สมุดปกขาว การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมไมซ์ของประเทศไทย
ผลักดันข้อจากัดต่างๆ เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมไมซ์อย่างยั่งยืน
จาก … ไปสู่ …
References
แผนปฏิบัติราชการระยะ 3 ปี พ.ศ. 2563-2565 ของ สสปน.
องค์กรหลักในการผลักดันอุตสาหกรรมไมซ์ให้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศด้วยนวัตกรรม เพื่อสร้างความเจริญ และกระจายรายได้ไปสู่ทุกภาคส่วนอย่างยั่งยืน
วิสัยทัศน์
พันธกิจ สนับสนุนการจัดงานไมซ์
เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและกระจายรายได้
ส่งเสริมภาพลักษณ์ไมซ์ไทย
ด้วยผลิตภัณฑ์บริการชั้นเลิศและอัตลักษณ์ไทย
พัฒนาไมซ์ด้วยองค์ความรู้
มาตรฐาน พัฒนาบุคลากรและผู้ประกอบการ
ส่งเสริมแนวปฏิบัติด้านความยั่งยืน
เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน
เป้าหมาย การสร้างรายได้และพัฒนาเศรษฐกิจ พัฒนาอุตสาหกรรมไมซ์ด้วยนวัตกรรม
การกระจายรายได้และความเจริญ
ตัวชี้วัด 1. อัตราการขยายตัวของรายได้จากงานไมซ์ เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 5
2. อันดับของประเทศไทยในการจัดอันดับอุตสาหกรรมไมซ์ในระดับ
สากล (ICCA) อันดับ 1 ใน 23 ระดับโลก
1. รายได้จากงานไมซ์ในไมซ์ซิตี้
และคลัสเตอร์
เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 5
1. คะแนนของ MICE Index ภาพรวมเพิ่มเป็น 72 ในปี 2565
ยุทธศาสตร์ที่ 1
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของ
ประเทศด้วยอุตสาหกรรมไมซ์
ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 2
กระจายรายได้และกระตุ้นเศรษฐกิจ
ของภูมิภาคผ่านอุตสาหกรรมไมซ์
ยุทธศาสตร์ที่ 3
ส่งเสริมภาพลักษณ์ของไมซ์ไทย
และ สสปน.
ยุทธศาสตร์ที่ 4
เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
ของอุตสาหกรรมไมซ์และยกระดับไมซ์
ให้เป็นวาระแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ที่ 5
พัฒนาประสิทธิภาพ
การปฏิบัติงานภายในขององค์กร
กลยุทธ์ 1. รักษา และยกระดับ
กิจกรรมไมซ์เดิมให้
เติบโตอย่างมั่นคงและ
มีความยั่งยืน
2. ขับเคลื่อนกิจกรรมไมซ์
ใหม่ตามความต้องการ
ของตลาดกับศักยภาพ
และนโยบายของประเทศ
1. พัฒนาและยกระดับกิจกรรม
ไมซ์ เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจใน
ภูมิภาค เมือง พื้นที่เศรษฐกิจ
2. สร้างกิจกรรมไมซ์
เพื่อลดความเหลื่อมล้า
ในภูมิภาค เมือง พื้นที่
เศรษฐกิจ
1. ส่งเสริมการตลาด
สร้างภาพลักษณ์ของประเทศ
ไทยเพื่อให้เป็นจุดหมาย
ปลายทางไมซ์ระดับนานาชาติ
โดยเน้นจุดเด่นด้านธุรกิจ
บริการและอัตลักษณ์ความ
เป็นไทย
2. สร้างการรับรู้และปรับมุมมอง
ขององค์กรภายนอกต่อบทบาท
และภาพลักษณ์ของสสปน.
1. นาข้อมูลเชิงลึก เทคโนโลยีสารสนเทศ
และนวัตกรรมมาสร้างความได้เปรียบ
ในการแข่งขันของอุตสาหกรรมไมซ์
2. ยกระดับอุตสาหกรรมไมซ์โดยพัฒนา
บุคลากรและมาตรฐานผู้ประกอบการ
3. ผลักดันและยกระดับไมซ์ให้เป็นวาระ
แห่งชาติให้ครอบคลุมทุกมิติ
ทั้งเชิงนโยบาย มาตรการ และ
อานวยความสะดวกฯลฯ
4. ร่วมมือกับพันธมิตรทั้งในและต่างประเทศ
เพื่อผลักดันอุตสาหกรรมไมซ์ไทย
เป็นแกนกลางของอาเซียน
1. ยกระดับศักยภาพบุคลากร
ของ สสปน. ให้มีความ
พร้อมต่อการพัฒนาองค์กร
2. ใช้นวัตกรรมการจัดการ
ความรู้ และการบูรณาการ
ร่วมกันภายใน สสปน. เพื่อ
เพิ่มประสิทธิภาพการ
ทางานตามหลักธรรมาบาล
ค่านิยม Professional Result-oriented Opportunity
Seeking
Talent and Teamwork
เป็นตัวแทนของประเทศในการจัดทาข้อเสนอ
เพื่อขอรับเป็นเจ้าภาพจัดประชุมและนิทรรศการ
Customer focus Environmental and
social responsibility Be innovative
หมายเหตุ:
ไมซ์ หมายถึง
การจัดประชุมและ
นิทรรศการ
หรือการท่องเที่ยว
เชิงธุรกิจ
ม7(1) ม7(4) ม7(5) ม7(2)(3) ม7(1)
ภาพรวมแนวทางการดาเนินงานเพื่อฟื้นฟูไมซ์ไทย 2563-2565
ทบทวนแนวทาง/
จุดเน้น
เตรียมพร้อมทุกมิติเพื่อชิงความ
ได้เปรียบต่อยอดจุดแข็ง
ไมซ์ในวิถีใหม่
เติบโตอย่างยั่งยืน
ร่วมกับ Covid-19
2563
2564
2565 เป็นต้นไป
 รูปแบบไมซ์เปลี่ยน พัฒนารองรับ Virtual/Hybrid
 ตลาดเปลี่ยน แสวงหาตลาดทดแทน
 เน้นตลาดในประเทศ
 เตรียมการเพื่อดึงงานนานาชาติ
 เน้นการสื่อสาร
 ดูแลผู้ประกอบการ
 ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมไมซ์อย่างยั่งยืน ตาม
เป้าหมายระยะยาวทุกด้าน
 ส่งเสริมการเป็นศูนย์กลางการจัดประชุมและนิทรรศการ
นานาชาติของโลก ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
 ผลักดันไมซ์สู่การเป็นวาระแห่งชาติ ด้วยการเสนอปีแห่งการ
ประชุมของไทย (Meet In Thailand Year) เมื่อประเทศมี
ความพร้อม
 พัฒนาศักยภาพบุคลากร-ผู้ประกอบการ
 ส่งเสริมแนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยสุขอนามัย
 พัฒนาเครื่องมือระบบการติดตามสาหรับไมซ์
 ส่งเสริมแนวปฏิบัติ /งานไมซ์ แบบยั่งยืน
 สื่อสารอย่างต่อเนื่อง ต่อยอดจุดแข็งด้านความปลอดภัยของ
ไทย
 สร้างงาน กระตุ้นการจัดงานในประเทศ พัฒนาเตรียมความ
พร้อมของพื้นที่เป้าหมาย
 เตรียมการเพื่อดึงงานนานาชาติ ระยะยาว เน้น การประชุม
นานาชาติที่ สสปน. เป็นเจ้าภาพแผนแม่บทฯชาติ
 ขับเคลื่อนเชิงนโยบาย และยกระดับการอานวยความสะดวก
 พัฒนาองค์กร บุคลากร ตอบสนองการเปลี่ยนแปลง (Agile)
พัฒนาศักยภาพ
ผู้ประกอบการ
สื่อสาร
กระตุ้นตลาดใน
ประเทศ
ขับเคลื่อนเชิง
นโยบาย/อานวย
ความสะดวก
พัฒนาองค์กร
เน้นแนวปฏิบัติอย่างยั่งยืน
Disruption &
Hygiene and Sanitation 
Safe Distancing 
Hybridization 
Digital Platforms 
Cybersecurity & Data Protection 
Capabilities & Skills 
FUTURE FOCUSED
Adjustment &
Transformation
Resilience
การประคับประคอง
ในช่วงการระบาด
Resolve
แก้ปัญหาเฉพาะหน้า
Return
ความพยายามคืน
กลับสู่สภาวะปกติ
Reimagination
การปรับตัว
ให้อยู่กับโควิด
Reform
การปฏิรูปเพื่อสู่
ความยั่งยืน
TCEB
ทางเลือก
สาหรับ
ที่มา: กรอบทางออกของ McKinsey
5R
“Without strategy,
execution is aimless.
Without execution,
strategy is useless.”
Morris Chang
CEO of TSMC
2564_ทบทวนยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ TCEB_as of 16 Nov.pdf

More Related Content

Similar to 2564_ทบทวนยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ TCEB_as of 16 Nov.pdf

Strategic management
Strategic managementStrategic management
Strategic management
Tum Aditap
 
Performance management การบริหารสู่ความเป็นเลิศ
Performance management การบริหารสู่ความเป็นเลิศPerformance management การบริหารสู่ความเป็นเลิศ
Performance management การบริหารสู่ความเป็นเลิศ
maruay songtanin
 
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์jeabjeabloei
 
เล่มแผนCg ปี54
เล่มแผนCg ปี54เล่มแผนCg ปี54
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ONENESS PMK 2020
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ONENESS PMK 2020 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ONENESS PMK 2020
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ONENESS PMK 2020
maruay songtanin
 
การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ Strategy implementation
การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ Strategy implementation การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ Strategy implementation
การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ Strategy implementation
maruay songtanin
 
การทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
การทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.การทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
การทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
ประพันธ์ เวารัมย์
 
KPI และ CSF - KPI and CSF
KPI และ CSF - KPI and CSFKPI และ CSF - KPI and CSF
KPI และ CSF - KPI and CSF
maruay songtanin
 
ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI
ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI
ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI
maruay songtanin
 
บริหารเวลา
บริหารเวลาบริหารเวลา
บริหารเวลาkullasab
 

Similar to 2564_ทบทวนยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ TCEB_as of 16 Nov.pdf (20)

Po
PoPo
Po
 
No1
No1No1
No1
 
Watsubsamosorn
WatsubsamosornWatsubsamosorn
Watsubsamosorn
 
Strategic management
Strategic managementStrategic management
Strategic management
 
Performance management การบริหารสู่ความเป็นเลิศ
Performance management การบริหารสู่ความเป็นเลิศPerformance management การบริหารสู่ความเป็นเลิศ
Performance management การบริหารสู่ความเป็นเลิศ
 
Plans
PlansPlans
Plans
 
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
เล่มแผนCg ปี54
เล่มแผนCg ปี54เล่มแผนCg ปี54
เล่มแผนCg ปี54
 
01
0101
01
 
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ONENESS PMK 2020
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ONENESS PMK 2020 การจัดทำแผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ONENESS PMK 2020
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า ONENESS PMK 2020
 
Swot(sk)
Swot(sk)Swot(sk)
Swot(sk)
 
การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ Strategy implementation
การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ Strategy implementation การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ Strategy implementation
การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ Strategy implementation
 
การทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
การทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.การทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
การทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
 
KPI และ CSF - KPI and CSF
KPI และ CSF - KPI and CSFKPI และ CSF - KPI and CSF
KPI และ CSF - KPI and CSF
 
ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI
ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI
ตัวชี้วัดความสำเร็จ KPI
 
บริหารเวลา
บริหารเวลาบริหารเวลา
บริหารเวลา
 
Balancescorecard
BalancescorecardBalancescorecard
Balancescorecard
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
Ppt bsc
Ppt bscPpt bsc
Ppt bsc
 

More from Chuta Tharachai

The Future of MICE 2023
The Future of MICE 2023The Future of MICE 2023
The Future of MICE 2023
Chuta Tharachai
 
Obstacles in Implementing Zero-Based Budgeting: Recipient Agencies' Perspective
Obstacles in Implementing Zero-Based Budgeting: Recipient Agencies' PerspectiveObstacles in Implementing Zero-Based Budgeting: Recipient Agencies' Perspective
Obstacles in Implementing Zero-Based Budgeting: Recipient Agencies' Perspective
Chuta Tharachai
 
230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf
230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf
230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf
Chuta Tharachai
 
20220124 Festival Economy_Keynote_Chuta.pdf
20220124 Festival Economy_Keynote_Chuta.pdf20220124 Festival Economy_Keynote_Chuta.pdf
20220124 Festival Economy_Keynote_Chuta.pdf
Chuta Tharachai
 
230420 Festivalization of a City_case of Chiang Mai and Chiang Mai Blooms.pdf
230420 Festivalization of a City_case of Chiang Mai and Chiang Mai Blooms.pdf230420 Festivalization of a City_case of Chiang Mai and Chiang Mai Blooms.pdf
230420 Festivalization of a City_case of Chiang Mai and Chiang Mai Blooms.pdf
Chuta Tharachai
 
211122 ไมซ์ม่วนใจ๋ intro to MICE.pdf
211122 ไมซ์ม่วนใจ๋ intro to MICE.pdf211122 ไมซ์ม่วนใจ๋ intro to MICE.pdf
211122 ไมซ์ม่วนใจ๋ intro to MICE.pdf
Chuta Tharachai
 
170214 workshop young professional organizer ct for bu 19 feb 2017
170214 workshop young professional organizer ct for bu 19 feb 2017170214 workshop young professional organizer ct for bu 19 feb 2017
170214 workshop young professional organizer ct for bu 19 feb 2017
Chuta Tharachai
 
Phitsanulok MICE city profle (Thai)
Phitsanulok MICE city profle (Thai)Phitsanulok MICE city profle (Thai)
Phitsanulok MICE city profle (Thai)
Chuta Tharachai
 
Phitsanulok MICE city profile
Phitsanulok MICE city profilePhitsanulok MICE city profile
Phitsanulok MICE city profile
Chuta Tharachai
 
Chiang Mai MICE City Profile (Thai)
Chiang Mai MICE City Profile (Thai)Chiang Mai MICE City Profile (Thai)
Chiang Mai MICE City Profile (Thai)
Chuta Tharachai
 
Chiang Mai MICE City Profile
Chiang Mai MICE City ProfileChiang Mai MICE City Profile
Chiang Mai MICE City Profile
Chuta Tharachai
 
Bangkok MICE City Profile (Thai)
Bangkok MICE City Profile (Thai)Bangkok MICE City Profile (Thai)
Bangkok MICE City Profile (Thai)
Chuta Tharachai
 
Bangkok MICE City Profile
Bangkok MICE City ProfileBangkok MICE City Profile
Bangkok MICE City Profile
Chuta Tharachai
 
MICE city presentation for public ไมซ์ซิตี้
MICE city presentation for public ไมซ์ซิตี้ MICE city presentation for public ไมซ์ซิตี้
MICE city presentation for public ไมซ์ซิตี้
Chuta Tharachai
 
meeting organizer manual คู่มือบริษัทรับจัดการไมซ์ในประเทศ
meeting organizer manual คู่มือบริษัทรับจัดการไมซ์ในประเทศmeeting organizer manual คู่มือบริษัทรับจัดการไมซ์ในประเทศ
meeting organizer manual คู่มือบริษัทรับจัดการไมซ์ในประเทศ
Chuta Tharachai
 
141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8
Chuta Tharachai
 
Destination Selection Criteria
Destination Selection CriteriaDestination Selection Criteria
Destination Selection Criteria
Chuta Tharachai
 
Exhibition
ExhibitionExhibition
Exhibition
Chuta Tharachai
 
Convention
ConventionConvention
Convention
Chuta Tharachai
 

More from Chuta Tharachai (20)

The Future of MICE 2023
The Future of MICE 2023The Future of MICE 2023
The Future of MICE 2023
 
Obstacles in Implementing Zero-Based Budgeting: Recipient Agencies' Perspective
Obstacles in Implementing Zero-Based Budgeting: Recipient Agencies' PerspectiveObstacles in Implementing Zero-Based Budgeting: Recipient Agencies' Perspective
Obstacles in Implementing Zero-Based Budgeting: Recipient Agencies' Perspective
 
230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf
230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf
230616_Final_กลยุทธ์การใช้งานเทศกาลเพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจของเมือง_BMA.pdf
 
20220124 Festival Economy_Keynote_Chuta.pdf
20220124 Festival Economy_Keynote_Chuta.pdf20220124 Festival Economy_Keynote_Chuta.pdf
20220124 Festival Economy_Keynote_Chuta.pdf
 
230420 Festivalization of a City_case of Chiang Mai and Chiang Mai Blooms.pdf
230420 Festivalization of a City_case of Chiang Mai and Chiang Mai Blooms.pdf230420 Festivalization of a City_case of Chiang Mai and Chiang Mai Blooms.pdf
230420 Festivalization of a City_case of Chiang Mai and Chiang Mai Blooms.pdf
 
211122 ไมซ์ม่วนใจ๋ intro to MICE.pdf
211122 ไมซ์ม่วนใจ๋ intro to MICE.pdf211122 ไมซ์ม่วนใจ๋ intro to MICE.pdf
211122 ไมซ์ม่วนใจ๋ intro to MICE.pdf
 
170214 workshop young professional organizer ct for bu 19 feb 2017
170214 workshop young professional organizer ct for bu 19 feb 2017170214 workshop young professional organizer ct for bu 19 feb 2017
170214 workshop young professional organizer ct for bu 19 feb 2017
 
Phitsanulok MICE city profle (Thai)
Phitsanulok MICE city profle (Thai)Phitsanulok MICE city profle (Thai)
Phitsanulok MICE city profle (Thai)
 
Phitsanulok MICE city profile
Phitsanulok MICE city profilePhitsanulok MICE city profile
Phitsanulok MICE city profile
 
Chiang Mai MICE City Profile (Thai)
Chiang Mai MICE City Profile (Thai)Chiang Mai MICE City Profile (Thai)
Chiang Mai MICE City Profile (Thai)
 
Chiang Mai MICE City Profile
Chiang Mai MICE City ProfileChiang Mai MICE City Profile
Chiang Mai MICE City Profile
 
Bangkok MICE City Profile (Thai)
Bangkok MICE City Profile (Thai)Bangkok MICE City Profile (Thai)
Bangkok MICE City Profile (Thai)
 
Bangkok MICE City Profile
Bangkok MICE City ProfileBangkok MICE City Profile
Bangkok MICE City Profile
 
MICE city presentation for public ไมซ์ซิตี้
MICE city presentation for public ไมซ์ซิตี้ MICE city presentation for public ไมซ์ซิตี้
MICE city presentation for public ไมซ์ซิตี้
 
meeting organizer manual คู่มือบริษัทรับจัดการไมซ์ในประเทศ
meeting organizer manual คู่มือบริษัทรับจัดการไมซ์ในประเทศmeeting organizer manual คู่มือบริษัทรับจัดการไมซ์ในประเทศ
meeting organizer manual คู่มือบริษัทรับจัดการไมซ์ในประเทศ
 
Upgrade Events
Upgrade EventsUpgrade Events
Upgrade Events
 
141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8
 
Destination Selection Criteria
Destination Selection CriteriaDestination Selection Criteria
Destination Selection Criteria
 
Exhibition
ExhibitionExhibition
Exhibition
 
Convention
ConventionConvention
Convention
 

2564_ทบทวนยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ TCEB_as of 16 Nov.pdf

  • 3.
  • 4. การจัดงานไมซ์ในอเมริกา ถูกยกเลิกกว่าร้อยละ 88 และถูกเลื่อนการจัดงาน ออกไปอีกร้อยละ 12 สร้างความเสียหายให้กับ อุตสาหกรรมไมซ์ถึง 1 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ สถานการณ์อุตสาหกรรมไมซ์ USA สมาคมผู้จัดประชุมและนิทรรศการมาเลเซีย (MACEOS) และสภาธุรกิจอีเวนต์แห่งมาเลเซีย (BECM) เปิดตัวโครงการ “BE-READY” เพื่อ แสดงการดาเนินงานที่ปลอดภัยในอุตสาหกรรม Malaysia China กระทรวงวัฒนธรรมและการท่องเที่ยวเซี่ยงไฮ้ สนับสนุนการจัดงาน “China Conference & Business Travel Forum & Fair 2020” Singapore Marina Bay Sands ร่วมกับ สมาคมวิชาชีพการจัดประชุมนานาชาติ (PCMA) เปิดตัวสตูดิโอถ่ายทาและแพร่ภาพออกอากาศ เพื่อรองรับ การจัดงานแบบ Hybrid HKTB จัดงาน Hong Kong Wine & Dine Festival ในรูปแบบออนไลน์ Hong Kong รัฐบาลอังกฤษชะลอ แผนการที่จะให้แฟนๆ กลับมาชมการแข่งขัน กีฬาในสนาม หลังโควิด ระบาดหนักอีกครั้ง Austria Austria Center Vienna ทดสอบประสิทธิภาพของการ ตรวจหาเชื้อโควิด ด้วยชุด ทดสอบแบบเร็ว พร้อม นาไปใช้กับผู้เข้าร่วมงาน แสดงสินค้า UK
  • 6.
  • 7. การสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจจากอุตสาหกรรมไมซ์ไทย ประมาณการได้ว่าตลอดปีงบประมาณ 2563 อุตสาหกรรมไมซ์ ทั้งตลาดในและต่างประเทศ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ กล่าวคือ • เกิดการใช้จ่ายจากการจัดกิจกรรมไมซ์ รวมมูลค่ากว่า 165,823 ล้านบาท • ก่อให้เกิดเป็นรายได้ประชาชาติ รวมมูลค่า 162,976.01 ล้านบาท • ภาครัฐสามารถจัดเก็บภาษีได้จากการจัดกิจกรรมไมซ์ 11,590 ล้านบาท • ก่อให้เกิดการจ้างแรงงานไมซ์เพื่อการจัดงาน 95,314 อัตรา
  • 9. กรอบการประเมินผลการดาเนินงานของ สสปน. ประจาปี 2560-2562 1. ความสอดคล้อง พิจารณาว่าวัตถุประสงค์ การจัดตั้ง วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ ได้ถ่ายทอดมาสู่การกาหนดกลยุทธ์สาหรับการ ดาเนินงานครบถ้วนหรือไม่ อย่างไร 2. ประสิทธิผล เป็นการประเมินผล การดาเนินงานตามเป้าหมายที่กาหนด โดยเปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์และ เป้าหมายในระดับต่าง ๆ ของ สสปน. 3. ประสิทธิภาพ พิจารณาถึง การใช้จ่ายงบประมาณอย่าง คุ้มค่า รวมถึงประสิทธิภาพใน การดาเนินงาน 4. ผลกระทบ พิจารณาถึง ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการ ปฏิบัติงานของ สสปน. ทั้งมูลค่า ทางเศรษฐกิจ และมูลค่าทางสังคม 5. ค ว า ม ยั่ ง ยื น พิ จ า ร ณ า ความสามารถในการหารายได้ของ สสปน. เพื่อลดภาระงบประมาณ ภาครัฐ รวมถึงผลการดาเนินงาน ตามโครงการ MICE Sustainability Thailand เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า อุตสาหกรรมไมซ์อย่างยั่งยืน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สสปน. 6. คุณภาพและความคุ้มค่าในการ ดาเนินงาน พิจารณาความพึงพอใจต่อการ ให้บริการของ สสปน. และพิจารณาจากความ คิดเห็นเกี่ยวกับผลลัพธ์ ผลกระทบ และความ คุ้มค่าที่เกิดขึ้นจากการดาเนินงานของ สสปน. 7. การพัฒนาองค์กร พิจารณาความสาเร็จ ในการพัฒนาด้านการกากับดูแลกิจการและ การดาเนินการตามแผนพัฒนาองค์กรและ บุคลากรแบบก้าวกระโดดของ สสปน.
  • 10. ผลการประเมินในภาพรวม 5.0000 4.2206 4.0100 5.0000 5.0000 3.6246 5.0000 4.5283 0.0000 1.0000 2.0000 3.0000 4.0000 5.0000 6.0000 ผลการประเมินผลการดาเนินงานของ สสปน. ประจาปี 2560-2562 4.5283 ดีมาก เกณฑ์การประเมินการดาเนินงาน คะแนนที่ได้ ผลลัพธ์ 1. ความสอดคล้อง 5.0000 ดีมาก 2. ประสิทธิผล 4.2206 ดีมาก 3. ประสิทธิภาพ 4.0100 ดี 4. ผลกระทบ 5.0000 ดีมาก 5. ความยั่งยืน 5.0000 ดีมาก 6. คุณภาพและความคุ้มค่า ในการดาเนินงาน 3.6246 ดี 7. การพัฒนาองค์กร 5.0000 ดีมาก จำนวนผู้ให ้ข ้อมูลทั้งหมด 129 รำย
  • 11. ผลการประเมินในแต่ละมิติ 1 2 3 4 ความสอดคล้อง (5.0000: ดีมาก) การกาหนดกลยุทธ์และ แ ผ น ง า น ข อ ง ส ส ป น . ปีงบประมาณ 2560 - 2562 มี ค ว า ม ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ วัตถุประสงค์การจัดตั้ง องค์กร วิสัยทัศน์ พันธกิจ และทิศทางการดาเนินงาน ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ครบถ้วน ประสิทธิผล (4.2206: ดีมาก) สสปน. มีการดาเนินงานตามภารกิจ แ ล ะ แ ผ น ง า น ที่ ส า คั ญ ต า ม ยุทธศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิผล โดยมีโครงการที่ดาเนินการ แล้วเสร็จและบรรลุเป้าหมายเฉลี่ย 76.62% มีจานวนนักเดินทางไมซ์ ทั้งในและต่างประเทศกว่า 100 ล้านคน และมีรายได้จากนักเดินทาง ไมซ์ทั้งในและต่างประเทศกว่า 650,000 ล้านบาท ประสิทธิภาพ (4.0100: ดี) สสปน. สามารถบริหารจัดการทรัพยากรได้ ค่อนข้างคุ้มค่าและดาเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โดย มีผลการเบิกจ่าย งบประมาณอยู่ในเกณฑ์ดี หรือเฉลี่ย 95.25% สสปน.บริหารค่าใช้จ่ายได้ต่ากว่ารายได้และ มีค่าใช้จ่ายจากการดาเนินงานต่อจานวน พนักงานลดลง 1 จาก 3 ปีงบประมาณ สสปน.มีผลการประเมิน ITA อยู่ที่ 93.35 คะแนน เป็นต้นแบบของหน่วยงานอื่นได้ และ มีการพัฒนาระบบงานให้เป็นดิจิทัลได้ 3 ระบบ ผลกระทบ (5.0000: ดีมาก) การดาเนินงานตามภารกิจของ สสปน. สร้างมูลค่าผลกระทบ ทางบวกทั้งในทางเศรษฐกิจ และ ท า ง สั ง ค ม ใ ห้ แ ก่ ป ร ะ เ ท ศ โดยมีมูลค่าผลกระทบทาง เศรษฐกิจกว่า 479,000 ลบ. แ ล ะ เ พิ่ ม ก า ร จ้ า ง ง า น ใ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ไ ม ซ์ ไ ด้ ก ว่ า 900,000 งาน/ตาแหน่ง
  • 12. ความยั่งยืน (5.0000: ดีมาก) สสปน. สามารถหารายได้เพิ่มเติม 19.96 ล้านบาท ลดการพึ่งพารายได้ของรัฐ และมี ผลสาเร็จในการสนับสนุนให้ผู้ประกอบการ มีความรู้และเข้าร่วมในด้านการจัดงานไมซ์ อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น ผ่ า น โ ค ร ง ก า ร MICE Sustainability Thailand เช่น โครงการ Food Waste Prevention ซึ่งมีผู้ประกอบการ เข้าร่วมดาเนินการ 8 องค์กรสามารถลด ค า ร์ บ อ น ป ร ะ ห ยั ด ค่ า ใ ช้ จ่ า ย ลดการสิ้นเปลืองอาหารได้ 5 ผลการประเมินในแต่ละมิติ คุณภาพและความคุ้มค่า ในการดาเนินงาน (3.6246: ดี) 6 ความคิดเห็นเกี่ยวกับ ผลลัพธ์ ผลกระทบ และ ความคุ้มค่าที่เกิดขึ้นจากการดาเนินงานของ สสปน. ว่าเป็นไปตามที่คาดหวัง ดีกว่าคาดหวัง หรือต่ากว่าคาดหวัง โดยจากมุมมองของ คณะกรรมการ ผู้บริหาร และบุคลากร มี ระดับคะแนนความคาดหวังเท่ากับ 3.64, 3.21 และ 3.27 ตามลาดับ หรืออยู่ในระดับ ค่อนข้างดีกว่าที่คาดหวัง ในทุกประเภท การพัฒนาองค์กร (5.0000: ดีมาก) 7 การกากับดูแลกิจการ มีผลการดาเนินงานสูง กว่าเป้าหมายที่กาหนดในทุกปีงบประมาณ การดาเนินการตามแผนพัฒนาองค์กรและ บุคลากรแบบก้าวกระโดด สามารถบรรลุ เป้าหมายในทุกปีงบประมาณที่ดาเนินการทั้งใน ด้านการพัฒนากระบวนงาน การพัฒนาด้าน บุคลากร (ระบบ Leave Online และพัฒนา ทักษะ 4.0) ด้านธรรมาภิบาล การควบคุม ค่าใช้จ่ายเพื่อลดการพึ่งพารายได้จากรัฐ
  • 14. พฤติกรรมความผูกพัน คะแนนเฉลี่ย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ระดับ ความผูกพัน การพูดถึงองค์กรในทางที่ดี (SAY) 3.91 มาก การอยู่กับองค์กร (STAY) 4.15 มาก การทุ่มเทเพื่อองค์กร (STRIVE) 4.42 มากที่สุด ความผูกพันในภาพรวม 4.25 มากที่สุด 3.91 4.15 4.42 4.25 3.50 4.00 4.50 5.00 SAY STAY STRIVE รวม ระดับคะแนนความผูกพันในแต่ละปัจจัย 4.86 4.39 4.22 4.23 4.00 4.20 4.40 4.60 4.80 5.00 ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับกลาง ผู้บริหารระดับต้น บุคลากรระดับปฏิบัติการ คะแนนเฉลี่ยระดับความผูกพัน จาแนกตามตาแหน่ง สรุป ในภาพรวมบุคลากรของ สสปน. มีความผูกพันกับ สสปน. มากที่สุด โดยแสดงออกผ่านพฤติกรรมการทุ่มเทเพื่อองค์กร (STRIVE) เป็นประจา และมีความผูกพันมากซึ่งแสดงออกผ่านพฤติกรรมการอยู่กับองค์กร (STAY) และพฤติกรรมการพูดถึงองค์กรในทางที่ดี (SAY) ด้วยการแสดงออกผ่าน พฤติกรรมดังกล่าวบ่อยครั้งตามลาดับ ความผูกพันองค์กรของบุคลากร (Employee Engagement)
  • 15. ความผูกพันองค์กร (Engagement) คะแนนเฉลี่ยระดับความพึงพอใจรายประเด็น เมื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจกับความผูกพัน พบว่า • ความผูกพันและความพึงพอใจในการทางานของบุคลากร สสปน. ในกลุ่มผู้บริหารระดับสูงและผู้บริหารระดับกลางเป็นไปในทิศทางเดียวกัน คือมีผล คะแนนอยู่ในช่วงผูกพันมากและพึงพอใจมากทั้งคู่ • ในขณะที่ ผู้บริหารระดับต้น และบุคลากรระดับปฏิบัติการ มีความผูกพันและความพึงพอใจในการทางานที่แตกต่างกัน คือ มีความผูกพันมากที่สุดแต่มี ความพึงพอใจมากเท่านั้น • สะท้อนให้เห็นว่า สภาพแวดล้อมการทางานในปัจจุบันของผู้บริหารระดับต้น และบุคลากรระดับปฏิบัติ มีผลต่อความรู้สึกพึงพอใจในการทางาน 3.82 4.01 4.04 4.22 4.26 3.00 3.50 4.00 4.50 5.00 ท่านรู้สึกว่าอยากมาทางานที่ สสปน.… ท่านรู้สึกว่างานของท่านมีความ… ท่านรู้สึกสนุกกับการทางานนี้ ท่านรู้สึกชอบงานที่ท่านทาอยู่ในปัจจุบัน ท่านรู้สึกกระตือรือร้นที่จะทางาน คะแนนเฉลี่ยระดับความพึงพอใจและความผูกพัน จาแนกตามตาแหน่ง 4.70 4.31 4.13 4.07 4.86 4.39 4.22 4.23 4.00 4.20 4.40 4.60 4.80 5.00 ผู้บริหารระดับสูง ผู้บริหารระดับกลาง ผู้บริหารระดับต้น บุคลากรระดับปฏิบัติการ ความพึงพอใจ ความผูกพัน ระดับคะแนน การแปลความหมาย 4.21 – 5.00 ผูกพันอย่างมาก (Highly Engaged)/พึงพอใจมากที่สุด 3.41 – 4.20 ผูกพัน (Engaged) /พึงพอใจมาก 2.61 – 3.40 เกือบผูกพัน (Almost Engaged)ฝพึงพอใจปานกลาง 1.81 – 2.60 ค่อนข้างไม่ผูกพัน (Not Engaged)ฝพึงพอใจน้อย 1.00 – 1.80 ไม่ผูกพัน (Disengaged)ฝพึงพอใจน้อยที่สุด
  • 17. 86.71 % 86.71 % 86.86 % 84.71 % 85.43 % 83.43 % ปี 2562 จำนวนผู้ให ้สัมภำษณ์ทั้งหมด 247 รำย ปี พ.ศ. 2563 ปี พ.ศ. 2562 ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย 88.19% 6.17/7.00 ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย 85.64% 6.00/7.00 ความพึงพอใจใน 6 มิติ ร้อยละค่าเฉลี่ย: ปี 2563 89.71 % 89.00 % 88.71 % 88.00 % 87.71 % 86.00 % สมรรถนะของบุคลากร การพัฒนาธุรกิจไมซ์ การพัฒนาขีดความสามารถ การเป ็ นสื่อกลางระหว่างรัฐกับเอกชน การสนับสนุนด้านการตลาด 0% 1% 13% 40% 43% 7 6 5 4 3 2 1 ปี 2563 การทางานของ สสปน. กับ ลูกค้า และ key stakeholders ต่างๆ ทาได้สูงกว่ามาตรฐานจาก ปีที่แล้ว โดยได้รับคะแนนความพึงพอใจโดยรวม ที่ 88.19% คะแนนสูงขึ้นจาก ปี 2562 เกือบ 3% สมรรถนะของบุคลากร และ การพัฒนาธุรกิจไมซ์ เป็น 2 มิติที่ได้รับคะแนนสูงสุดเช่นเดียวกับปีที่แล้ว รวมทั้งความพึงพอใจของอีก 4 มิติก็เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้วอย่างมีนัยยะสาคัญด้วย กระบวนการภายในองค์กร โครงการสารวจความพึงพอใจต่อการให้บริการ สานักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ ประจาปีงบประมาณ 2563
  • 18. ผู้รับบริการจาก สสปน. จะให้ความสาคัญกับมิติด้านการสนับสนุนการตลาดมากตลอดมาที่มีการสารวจ โดยผู้รับบริการได้ให้ข้อเสนอแนะ ที่น่าสนใจในการปรับปรุงมิติดังกล่าวนี้ อาทิ ปรับปรุงเงื่อนไขการสนับสนุนการตลาดให้สอดคล้องกับแต่ละอุตสาหกรรม และเพิ่มการ ประชาสัมพันธ์กิจกรรมอย่างต่อเนื่องเพื่อให้คนรู้จัก MICE มากขึ้น เพื่อการทางานทางภาคผู้รับบริการจะง่ายและสะดวกขึ้น การให้ความสาคัญของมิติต่าง ๆ ของผู้รับบริการ การสนับสนุนด้านการตลาด 1 การพัฒนาธุรกิจไมซ์ 2 การพัฒนาขีดความสามารถ 3 4 กระบวนการภายในองค์กร 5 สมรรถนะของบุคลากร 6 สมรรถนะของบุคลากร 89.71% การพัฒนาธุรกิจไมซ์ 89.00% 88.71% 88.00% การเป ็ นสื่อกลาง ระหว่างรัฐกับเอกชน 87.71% การสนับสนุนด้านการตลาด 86.00% ความพึงพอใจต่อมิติต่าง ๆ ร้อยละค่าเฉลี่ย: กระบวนการภายในองค์กร การเป ็ นสื่อกลาง ระหว่างรัฐกับเอกชน การพัฒนาขีดความสามารถ
  • 19. ตัวอย่างเสียงสะท้อนความพึงพอใจจากผู้รับบริการตามภารกิจหลัก 6 มิติ มิติที่ 1: การพัฒนาธุรกิจ MICE “ ” REF. Q21, Q24 “ ” “ ” “ ” “ ” “ ” มิติที่ 2: การสนับสนุนด้าน การตลาด มิติที่ 3: การพัฒนาขีด ความสามารถ มิติที่ 4: การเป ็ นสื่อกลาง ระหว่างรัฐกับเอกชน หมำยเหตุ: เป็นกำรแสดงข ้อมูลที่มีผู ้ตอบมำกที่สุด และต ้องมีคะแนนตั้งแต่ 20% ขึ้นไป มีกำรสนับสนุนและ พัฒนำอุตสำหกรรม MICE ในประเทศ ไทย อย่ำงต่อเนื่อง โดยเฉพำะในเชิง นโยบำยกำรปลดล็อค ต่ำงๆ 92% มีกำรสนับสนุนและ ส่งเสริมผู้จัดงำน/ ผู้ประกอบกำร อย่ำง ต่อเนื่อง และ เข ้ำถึง ได ้มำกขึ้น 75% สำมำรถนำควำมรู้จำก หลักสูตรที่จัด ฝึกอบรม มำใช ้ในกำร ทำงำนได ้จริง โดยเฉพำะด ้ำน Digital 72% เป็นศูนย์กลำงในกำร ประสำนงำน/อำนวย ควำมสะดวกให ้กับ องค์กรที่เกี่ยวข ้อง ช่วยลดควำมยุ่งยำก และ สร้ำงควำมเข ้ำใจ 85% มิติที่ 5: กระบวนการภายใน มีกำรสนับสนุนให ้เกิด กำรทำงำนร่วมกัน และ กำรปฏิบัติงำน ได ้ผลจริง 72% มิติที่ 6: สมรรถนะของบุคลากร บุคลำกร มีควำม กระตือรือร้น/ทุ่มเท/ มุ่งมั่น 77%
  • 20. ตัวอย่างเสียงสะท้อนไม่พึงพอใจจากผู้รับบริการตามภารกิจหลัก 6 มิติ มิติที่ 1: การพัฒนาธุรกิจ MICE “ ” REF. Q21, Q24 “ ” “ ” “ ” “ ” “ ” มิติที่ 2: การสนับสนุนด้าน การตลาด มิติที่ 3: การพัฒนาขีด ความสามารถ มิติที่ 4: การเป ็ นสื่อกลาง ระหว่างรัฐกับเอกชน หมำยเหตุ: เป็นกำรแสดงข ้อมูลที่มีผู ้ตอบมำกที่สุด และต ้องมีคะแนนตั้งแต่ 20% ขึ้นไป ขำดแคลนกำร ปฏิบัติงำนในระดับ พื้นที่ระดับจังหวัด 21% ขำดควำมต่อเนื่องและ ขำดแคลนกำร ประชำสัมพันธ์ ภำยในประเทศให ้กับ กลุ่มภำครัฐ และ เอกชนในธุรกิจทั่วไป 21% ยังขำดควำมทั่วถึงใน กำรให ้ข ้อมูลข่ำวสำร/ กระจำยควำมรู้ที่ เกี่ยวกับอุตสำหกรรม MICE กับกลุ่มธุรกิจ ทั่วไป 32% ขำดควำมทั่วถึงใน กำรสนับสนุน ภำคเอกชน เข ้ำไม่ถึง ทุกธุรกิจ 24% มิติที่ 5: กระบวนการภายใน มีกระบวนกำร/ รำยละเอียดในกำร ทำงำน/ข ้อปฏิบัติมำก เกินไป 32% มิติที่ 6: สมรรถนะของบุคลากร ไม่มีข ้อที่ไม่พึงพอใจมำกกว่ำ 20%
  • 21. สสปน. ดาเนินงานที่ยึดหลักธรรมาภิบาลมาโดยตลอด ซึ่งยืนยันได้จากผลการประเมิน คุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) จากสานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ในปี พ.ศ. 2563 ที่ สสปน. ได้คะแนนสูงถึง 93.75 อยู่ในระดับดีเลิศ (Excellence)
  • 23. ดัชนีความสะดวกในการจัดกิจกรรมไมซ์ในประเทศไทย (Ease of Organising MICE Events Index) ค่าดัชนีคะแนนความสะดวกมากกว่า 80-100 = ระดับความสะดวกในการดาเนินการสูงมาก ค่าดัชนีคะแนนความสะดวกมากกว่า 60-80 = ระดับความสะดวกในการดาเนินการสูง ค่าดัชนีคะแนนความสะดวกมากกว่า 40-60 = ระดับความสะดวกในการดาเนินการปานกลาง ค่าดัชนีคะแนนความสะดวกมากกว่า 20-40 = ระดับความสะดวกในการดาเนินการน้อย ค่าดัชนีคะแนนความสะดวกมากกว่า 0-20 = ระดับความสะดวกในการดาเนินการน้อยมาก
  • 24. ความสะดวกในแต่ละกระบวนการ การจัดกิจกรรม MICE เปรียบเทียบระหว่าง ปี 2561 และ ปี 2562 M I C E คะแนนเฉลี่ย กระบวนการที่ 1: การวางแผนและการ เตรียมความพร้อม ก่อนการจัดงาน กระบวนการที่ 2: การขอรับ การตรวจลงตรา กระบวนการที่ 3: การเดินทางของ ผู้ที่เกี่ยวข้อง กระบวนการที่ 4: กระบวนการตรวจคน เข้าเมือง กระบวนการที่ 5: การขนส่งและ โลจิสติกส์สาหรับ ผู้ที่เกี่ยวข้อง และสินค้า กระบวนการที่ 6: สถานที่จัดงาน กระบวนการที่ 7: สถานที่พัก กระบวนการที่ 8: การรักษาความ ปลอดภัยและการ ประกันภัย กระบวนการที่ 9: ภาษี ปี 2561 69.30 80.01 66.90 66.22 63.13 66.76 74.74 73.27 72.64 60.00 ปี 2562 70.32 67.86 63.82 70.31 67.36 63.20 78.90 85.67 72.68 63.05 >80-100 = ระดับความสะดวกในการดาเนินการสูงมาก >60-80 = ระดับความสะดวกในการดาเนินการสูง >40-60 = ระดับความสะดวกในการดาเนินการปานกลาง เกณฑ์การแปลผลคะแนน ดัชนีความสะดวกในการจัดกิจกรรมไมซ์ในประเทศไทย (Ease of Organising MICE Events Index)
  • 25. สมุดปกขาว การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมไมซ์ของประเทศไทย ผลักดันข้อจากัดต่างๆ เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมไมซ์อย่างยั่งยืน ภาครัฐและภาคเอกชนต่างก็เป็นผู้ขับเคลื่อน การจัดงาน ไม่มีการจัดงานระดับโลก (World MICE Event) ในประเทศไทย ไมซ์เป็นเพียงเครื่องมือในการประชาสัมพันธ์ และสร้างกิจกรรมให้กับหน่วยงานของภาครัฐ มาตรการสิทธิประโยชน์เพื่อสร้างแรงจูงใจใน การลงทุนอุตสาหกรรมไมซ์แต่ละพื้นที่ไม่เท่ากัน รัฐสนับสนุนการจัดงานไมซ์ในรูปแบบของ งบประมาณในการจัดงาน ภาคเอกชนเป็นผู้ขับเคลื่อนหลัก ส่วนภาครัฐมี หน้าที่กากับ กาหนดนโยบาย สนับสนุนการจัดงาน รัฐเป็นเจ้าภาพการจัดงานระดับโลกโดยสนับสนุน ให้หน่วยงานต่างๆ จัดงานการหมุนเวียนกัน ไมซ์เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนธุรกิจเอกชน ควบคู่ไปกับการใช้เพื่อขับเคลื่อนนโยบายภาครัฐ เพิ่มมาตรการสิทธิประโยชน์เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ เกิดการลงทุนในอุตสาหกรรมไมซ์ทั่วประเทศ รัฐเพิ่มการสนับสนุนการจัดงานไมซ์ด้วย มาตรการสนับสนุนในรูปแบบอื่นๆ จาก … ไปสู่ … 1 2 3 4 5
  • 26. เน้นการจัดงานไมซ์ในพื้นที่ส่วนกลาง หรือ กรุงเทพมหานคร จัดกิจกรรมไมซ์ในช่วงระยะเวลาตามกรอบ งบประมาณที่ได้รับ ค่าใช้จ่ายในการประชุมเป็นไปตามระเบียบเดิม ของหน่วยงานภาครัฐ ปัญหาในการเดินทางเข้าประเทศ และการนา ของเข้ามาเพื่อจัดแสดงสินค้าและนิทรรศการ ขยายการจัดงานไมซ์ไปสู่ 15 เมืองเศรษฐกิจหลัก โดยกาหนดให้เป็นภารกิจของจังหวัด จัดกิจกรรมไมซ์อย่างต่อเนื่อง 3 ปีขึ้นเพื่อสร้าง ให้เกิดการรับรู้ ค่าใช้จ่ายในการประชุมเป็นไปตามความ เหมาะสมกับสภาพของตลาดเพื่อยกระดับ คุณภาพการจัดงาน ได้รับความสะดวกในการเดินทางเข้า และการ นาของเข้าประเทศโดย One Stop Services 6 7 8 9 สมุดปกขาว การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมไมซ์ของประเทศไทย ผลักดันข้อจากัดต่างๆ เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมไมซ์อย่างยั่งยืน จาก … ไปสู่ …
  • 28.
  • 29.
  • 30. แผนปฏิบัติราชการระยะ 3 ปี พ.ศ. 2563-2565 ของ สสปน. องค์กรหลักในการผลักดันอุตสาหกรรมไมซ์ให้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศด้วยนวัตกรรม เพื่อสร้างความเจริญ และกระจายรายได้ไปสู่ทุกภาคส่วนอย่างยั่งยืน วิสัยทัศน์ พันธกิจ สนับสนุนการจัดงานไมซ์ เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและกระจายรายได้ ส่งเสริมภาพลักษณ์ไมซ์ไทย ด้วยผลิตภัณฑ์บริการชั้นเลิศและอัตลักษณ์ไทย พัฒนาไมซ์ด้วยองค์ความรู้ มาตรฐาน พัฒนาบุคลากรและผู้ประกอบการ ส่งเสริมแนวปฏิบัติด้านความยั่งยืน เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน เป้าหมาย การสร้างรายได้และพัฒนาเศรษฐกิจ พัฒนาอุตสาหกรรมไมซ์ด้วยนวัตกรรม การกระจายรายได้และความเจริญ ตัวชี้วัด 1. อัตราการขยายตัวของรายได้จากงานไมซ์ เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 5 2. อันดับของประเทศไทยในการจัดอันดับอุตสาหกรรมไมซ์ในระดับ สากล (ICCA) อันดับ 1 ใน 23 ระดับโลก 1. รายได้จากงานไมซ์ในไมซ์ซิตี้ และคลัสเตอร์ เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 5 1. คะแนนของ MICE Index ภาพรวมเพิ่มเป็น 72 ในปี 2565 ยุทธศาสตร์ที่ 1 ขับเคลื่อนเศรษฐกิจของ ประเทศด้วยอุตสาหกรรมไมซ์ ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 กระจายรายได้และกระตุ้นเศรษฐกิจ ของภูมิภาคผ่านอุตสาหกรรมไมซ์ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมภาพลักษณ์ของไมซ์ไทย และ สสปน. ยุทธศาสตร์ที่ 4 เสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ของอุตสาหกรรมไมซ์และยกระดับไมซ์ ให้เป็นวาระแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาประสิทธิภาพ การปฏิบัติงานภายในขององค์กร กลยุทธ์ 1. รักษา และยกระดับ กิจกรรมไมซ์เดิมให้ เติบโตอย่างมั่นคงและ มีความยั่งยืน 2. ขับเคลื่อนกิจกรรมไมซ์ ใหม่ตามความต้องการ ของตลาดกับศักยภาพ และนโยบายของประเทศ 1. พัฒนาและยกระดับกิจกรรม ไมซ์ เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจใน ภูมิภาค เมือง พื้นที่เศรษฐกิจ 2. สร้างกิจกรรมไมซ์ เพื่อลดความเหลื่อมล้า ในภูมิภาค เมือง พื้นที่ เศรษฐกิจ 1. ส่งเสริมการตลาด สร้างภาพลักษณ์ของประเทศ ไทยเพื่อให้เป็นจุดหมาย ปลายทางไมซ์ระดับนานาชาติ โดยเน้นจุดเด่นด้านธุรกิจ บริการและอัตลักษณ์ความ เป็นไทย 2. สร้างการรับรู้และปรับมุมมอง ขององค์กรภายนอกต่อบทบาท และภาพลักษณ์ของสสปน. 1. นาข้อมูลเชิงลึก เทคโนโลยีสารสนเทศ และนวัตกรรมมาสร้างความได้เปรียบ ในการแข่งขันของอุตสาหกรรมไมซ์ 2. ยกระดับอุตสาหกรรมไมซ์โดยพัฒนา บุคลากรและมาตรฐานผู้ประกอบการ 3. ผลักดันและยกระดับไมซ์ให้เป็นวาระ แห่งชาติให้ครอบคลุมทุกมิติ ทั้งเชิงนโยบาย มาตรการ และ อานวยความสะดวกฯลฯ 4. ร่วมมือกับพันธมิตรทั้งในและต่างประเทศ เพื่อผลักดันอุตสาหกรรมไมซ์ไทย เป็นแกนกลางของอาเซียน 1. ยกระดับศักยภาพบุคลากร ของ สสปน. ให้มีความ พร้อมต่อการพัฒนาองค์กร 2. ใช้นวัตกรรมการจัดการ ความรู้ และการบูรณาการ ร่วมกันภายใน สสปน. เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการ ทางานตามหลักธรรมาบาล ค่านิยม Professional Result-oriented Opportunity Seeking Talent and Teamwork เป็นตัวแทนของประเทศในการจัดทาข้อเสนอ เพื่อขอรับเป็นเจ้าภาพจัดประชุมและนิทรรศการ Customer focus Environmental and social responsibility Be innovative หมายเหตุ: ไมซ์ หมายถึง การจัดประชุมและ นิทรรศการ หรือการท่องเที่ยว เชิงธุรกิจ ม7(1) ม7(4) ม7(5) ม7(2)(3) ม7(1)
  • 31.
  • 32. ภาพรวมแนวทางการดาเนินงานเพื่อฟื้นฟูไมซ์ไทย 2563-2565 ทบทวนแนวทาง/ จุดเน้น เตรียมพร้อมทุกมิติเพื่อชิงความ ได้เปรียบต่อยอดจุดแข็ง ไมซ์ในวิถีใหม่ เติบโตอย่างยั่งยืน ร่วมกับ Covid-19 2563 2564 2565 เป็นต้นไป  รูปแบบไมซ์เปลี่ยน พัฒนารองรับ Virtual/Hybrid  ตลาดเปลี่ยน แสวงหาตลาดทดแทน  เน้นตลาดในประเทศ  เตรียมการเพื่อดึงงานนานาชาติ  เน้นการสื่อสาร  ดูแลผู้ประกอบการ  ส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมไมซ์อย่างยั่งยืน ตาม เป้าหมายระยะยาวทุกด้าน  ส่งเสริมการเป็นศูนย์กลางการจัดประชุมและนิทรรศการ นานาชาติของโลก ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี  ผลักดันไมซ์สู่การเป็นวาระแห่งชาติ ด้วยการเสนอปีแห่งการ ประชุมของไทย (Meet In Thailand Year) เมื่อประเทศมี ความพร้อม  พัฒนาศักยภาพบุคลากร-ผู้ประกอบการ  ส่งเสริมแนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยสุขอนามัย  พัฒนาเครื่องมือระบบการติดตามสาหรับไมซ์  ส่งเสริมแนวปฏิบัติ /งานไมซ์ แบบยั่งยืน  สื่อสารอย่างต่อเนื่อง ต่อยอดจุดแข็งด้านความปลอดภัยของ ไทย  สร้างงาน กระตุ้นการจัดงานในประเทศ พัฒนาเตรียมความ พร้อมของพื้นที่เป้าหมาย  เตรียมการเพื่อดึงงานนานาชาติ ระยะยาว เน้น การประชุม นานาชาติที่ สสปน. เป็นเจ้าภาพแผนแม่บทฯชาติ  ขับเคลื่อนเชิงนโยบาย และยกระดับการอานวยความสะดวก  พัฒนาองค์กร บุคลากร ตอบสนองการเปลี่ยนแปลง (Agile) พัฒนาศักยภาพ ผู้ประกอบการ สื่อสาร กระตุ้นตลาดใน ประเทศ ขับเคลื่อนเชิง นโยบาย/อานวย ความสะดวก พัฒนาองค์กร เน้นแนวปฏิบัติอย่างยั่งยืน
  • 34. Hygiene and Sanitation  Safe Distancing  Hybridization  Digital Platforms  Cybersecurity & Data Protection  Capabilities & Skills 
  • 37. “Without strategy, execution is aimless. Without execution, strategy is useless.” Morris Chang CEO of TSMC